You are on page 1of 10

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม

เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 1

ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า

ตัวเก็บประจุ (Capacitor)
ตัวเก็บประจุเป็นวัตถุตัวนาที่ใช้ในการเก็บประจุ (Charge) และสามารถคายประจุ (Discharge) ได้
1. ความจุไฟฟ้า (Capacitance)
ความจุไฟฟ้าหมายถึง ความสามารถในการเก็บประจุของตัวเก็บประจุ มีหน่วย ฟารัด (F) ใน
ระบบเอสไอ
ตัวเก็บประจุที่นามาใช้ในวงจรไฟฟ้าอาจออกแบบให้มีรูปทรงต่างๆ กัน เพื่อประโยชน์ในการใช้
งาน แต่สัญลักษณ์ที่ใช้แทนตัวเก็บประจุจะใช้แบบเดียวกันคือ รูปขีดยาวเท่ากันสองขีดขนานกัน

สัญลักษณ์ของตัวเก็บประจุ

โครงสร้างของตัวเก็บประจุ
ตัวเก็บประจุแบบต่างๆ

การคานวณความจุไฟฟ้าของตัวเก็บประจุ
Q
C =
V
เมื่อ C คือ ความจุไฟฟ้า หน่วย ฟารัด (F)
Q คือ ประจุไฟฟ้า หน่วย คูลอมบ์ (C)
V คือ ความต่างศักย์ไฟฟ้า หน่วย โวลต์ (V)

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 2

 ตัวอย่างการคานวณความจุไฟฟ้าของตัวเก็บประจุ

ตัวอย่าง 1 ตัวนาทรงกลมมีประจุไฟฟ้าบนผิวนอก 2 ไมโครคูลอมบ์ ทาให้เกิดศักย์ไ ฟฟ้าบนผิวนอก 10


โวลต์ จงหาความจุไฟฟ้าของตัวนาทรงกลมนี้

ตัวอย่าง 2 ตัวนาทรงกลมอันหนึ่งมีรัศมี 9 เซนติเมตร จงหาความจุไฟฟ้าของตัวนาทรงกลมนี้

ตัวอย่าง 3 ตัวนาแผ่นขนานต่ออยู่กับความต่างศักย์ 10 โวลต์ และเก็บประจุ 5 ไมโครคูลอมบ์ จงหาความจุ


ไฟฟ้าของตัวนาแผ่นขนานนี้

ตัวอย่าง 4 แผ่นตัวนาขนานมีขนาดความจุไฟฟ้า 2 ไมโครฟารัด ต่ออยู่กับความต่างศักย์ไฟฟ้า 10 โวลต์ จง


หาประจุไฟฟ้าที่เก็บไว้

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 3

ตัวอย่าง 5 แผ่นตัวนาขนานมีความจุไฟฟ้า 2 ไมโครฟารัด เก็บประจุไว้ 5 ไมโครคูลอมบ์ จงหาความต่าง


ศักย์ไฟฟ้าของแผ่นตัวนาขนานนี้

ตัวอย่าง 6 ตัวเก็บประจุแผ่นขนานมีอักษรเขียนกากับ 0.05 µF, 400 V จะสามารถเก็บประจุไว้ไ ด้ สูง สุด


เท่าใด (ตอบในหน่วยไมโครคูลอมบ์)

ตัวอย่าง 7 ตัวเก็บประจุแผ่นขนานมีอักษรเขียนกากับ 0.05 µF, 400 V ถ้าเอาไปใช้งานโดยต้องการให้เก็บ


ประจุ 15 ไมโครคูลอมบ์ ต้องต่อกับความต่างศักย์เท่าใด

2. พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ หมายถึง พลังงานที่ถูกสะสมไว้ในรูปของสนามไฟฟ้าที่ตาแหน่ง
ระหว่างแผ่นตัวนาขนานของตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ หาได้ดังนี้
1
U = QV
2
เมื่อ U คือ พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ หน่วย จูล (J)
Q คือ ประจุไฟฟ้า หน่วย คูลอมบ์ (C)
V คือ ความต่างศักย์ไฟฟ้า หน่วย โวลต์ (V)

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 4

 ตัวอย่างการคานวณพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ

ตัวอย่าง 1 ตัวเก็บประจุมีความจุไฟฟ้า 5 ไมโครคูลอมบ์ ต่ออยู่กับความต่างศักย์ไ ฟฟ้า 20 โวลต์ จงหา


พลังงานที่สะสมอยู่ในตัวเก็บประจุนี้

ตัวอย่าง 2 ตัวเก็บประจุมีความจุไฟฟ้า 2 ไมโครฟารัด ต่ออยู่กับความต่างศักย์ไฟฟ้า 10 โวลต์ จงหาพลังงาน


เก็บสะสมในตัวเก็บประจุนี้

ตัวอย่าง 3 ตัวเก็บประไฟฟ้า 10 ไมโครฟารัด เก็บประจุไฟฟ้า 2 ไมโครคูลอมบ์ จงหาพลังงานเก็บสะสมใน


ตัวเก็บประจุนี้

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 5

3. การต่อตัวเก็บประจุแบบอนุกรม
การต่อตัวเก็บประจุแบบอนุกรม หมายถึง นาตัวเก็บประจุหลายอันที่ยังไม่มีการประจุไฟฟ้ามา
ต่อเรียงกัน แล้วนาทั้งหมดต่อกับความต่างศักย์ไฟฟ้า (เซลล์ไฟฟ้า) เพื่อให้เก็บสะสมประจุไฟฟ้า ดังรูป
C1 C2 C3

V1 V2 V3

ผลที่ได้จากการต่อตัวเก็บประจุแบบอนุกรม
1) ตัวเก็บประจุแต่ละอันสะสมประจุไฟฟ้าปริมาณเท่ากัน
Q = Q1 = Q2 = Q3
2) ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวม เท่ากับผลรวมของความต่างศักย์ของตัวเก็บประจุแต่ละอัน
V = V1 + V2 + V3
3) ส่วนกลับความจุไฟฟ้ารวมเท่ากับผลบวกส่วนกลับความจุไฟฟ้าย่อย
1 1 1 1
= + +
C C1 C2 C3

 ตัวอย่างการคานวณการต่อตัวเก็บประจุแบบอนุกรม

ตัวอย่าง 1 ตัวเก็บประจุสามอันมีค่าความจุเท่ากับ 4, 6 และ 12 ไมโครฟารัด ต่ออนุกรมจงหาความจุไฟฟ้า


รวม

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 6

ตัวอย่าง 2 ตัวเก็บประจุสามอันมีค่าความจุเท่ากับ 2, 3 และ 6 ไมโครฟารัด ต่ออนุกรมและทั้งหมดต่ออยู่


กับความต่างศักย์ไฟฟ้า 10 โวลต์ จงหาปริมาณประจุไฟฟ้าบนตัวเก็บประจุแต่ละอัน

ตัวอย่าง 3 ตัวเก็บประจุสามอันมีค่าความจุเท่ากับ 4, 6 และ 12 ไมโครฟารัด ต่ออนุกรมและทั้งหมดต่ออยู่


กับความต่างศักย์ 10 โวลต์ จงหาความต่างศักย์ไฟฟ้าคร่อมตัวเก็บประจุแต่ละอัน

ตัวอย่าง 4 ตัวเก็บประจุสามอันมีค่าความจุเท่ากับ 4, 6 และ 12 ไมโครฟารัด ต่ออนุกรมและทั้งหมดต่ออยู่


กับความต่างศักย์ 10 โวลต์ จงหาพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุแต่ละตัวและพลังงานสะสมรวม

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 7

4. การต่อตัวเก็บประจุแบบขนาน
การต่อตัวเก็บประจุแบบขนาน หมายถึง การนาตัวเก็บประจุหลายอันที่ยังไม่มีประจุไฟฟ้ามาต่อ
คร่อมกันแล้วนาทั้งหมดต่อกับความต่างศักย์ไฟฟ้า (เซลล์ไฟฟ้า) เพื่อให้เก็บสะสมประจุไฟฟ้า ดังรูป
C1 Q1

C2 Q2

C3 Q3

ผลที่ได้จากการต่อตัวเก็บประจุแบบขนาน
1) ตัวเก็บประจุแต่ละอันมีความต่างศักย์ไฟฟ้าเท่ากัน
V = V1 = V2 = V3
2) ปริมาณประจุไฟฟ้ารวม เท่ากับผลบวกปริมาณประจุไฟฟ้าย่อย
Q = Q1 + Q2 + Q3
3) ความจุไฟฟ้ารวมเท่ากับผลบวกความจุไฟฟ้าย่อย
C = C1 + C2 + C3

 ตัวอย่างการคานวณการต่อตัวเก็บประจุแบบขนาน

ตัวอย่าง 1 ตัวเก็บประจุสามอันมีค่าความจุเท่ากับ 2, 3 และ 5 ไมโครฟารัด ต่อขนานและทั้งหมดต่ออยู่กับ


ความต่างศักย์ฟ้า 10 โวลต์ จงหาปริมาณประจุไฟฟ้าและพลังงานสะสมบนตัวเก็บประจุแต่ละตัว
และรวม

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 8

5. การต่อตัวเก็บประจุแบบผสม
การต่อตัวเก็บประจุแบบผสม หมายถึง นาตัวเก็บประจุหลายอันที่ยังไม่มีประจุไฟฟ้ามาต่อแบบ
อนุกรมและแบบขนานรวมกัน แล้วนาทั้งหมดต่อกับความต่างศักย์ไฟฟ้า (เซลล์ไฟฟ้า) เพื่อให้เก็บสะสมประจุ
ไฟฟ้า ดังรูป
C1
C3

C2

 ตัวอย่างการคานวณปรากฏการณ์ดอพเพลอร์

ตัวอย่าง 1 จากรูป จงหาความจุไฟฟ้ารวม


C 2 = 3 F
C 1 = 4 F

C 3 = 1 F

ตัวอย่าง 2 จากรูป จงหาปริมาณประจุไฟฟ้าและพลังงานสะสมรวมในตัวเก็บประจุทั้งหมด


1 F
4 F

3 F

10 V

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 9

ตัวอย่าง 3 ตัวเก็บประจุ C1, C2 และ C3 มีขนาดความจุ 1, 3 และ 6 ไมโครฟารัดตามลาดับ ก่อนนามาต่อ


กับแบตเตอรี่ขนาด 2 โวลต์ ดังวงจร ตัวเก็บประจุทั้งสามยังไม่มีประจุอยู่ภายในเลย เมื่อเปิดส
วิชต์ S เป็นเวลานานพอที่จะทาให้อยู่ในสภาวะสมดุล พลังงานไฟฟ้าที่สะสมอยู่ในตัวเก็บประจุ
แต่ละตัวมีขนาดเท่าใด
C1

C2 C3

2 V

6. การต่อตัวเก็บประจุแบบวง (Loop)
การต่อตัวเก็บประจุแบบวง หมายถึง การต่อตัวเก็บประจุเป็นวงจรแบบขนานโดยไม่ต้องใช้
เซลล์ไ ฟฟ้า ตัวเก็บประจุที่นามาต่อกันบางอันหรือทั้งหมดจะต้องมีประจุอยู่ก่อนแล้วเพื่อให้เกิดการีถ่ายเท
ประจุในวงจรขณะต่อกัน
พิจารณาตัวเก็บประจุสองอันต่อกันเป็นวงจรแบบวง (ต่อขนาน) โดยใช้ขั้วบวกต่อกับขั้วบวกและ
ขั้วลบต่อกหับขั้วลบ ดังรูป

C1 C2
C1 C2
Q1 Q2
V V
V1 V2

S S

เมื่อเปิดสวิตช์ S จะมีการถ่ายเทประจุในวงจรและประจุหยุดถ่ายเทเมื่อตัวเก็บประจุทั้ง สองมี


ความต่างศักย์ V เท่ากัน (เกิดสมดุลทางไฟฟ้า) เรียกความต่างศักย์ที่เท่ากันนี้ว่า “ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวม”
ความต่างศักย์ไฟฟ้ารวมต่อแบบวง (ต่อแบบขนาน) หาได้ดังนี้
Q1 + Q 2
V =
C1 + C2

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต (Static Electricity) 10

 ตัวอย่างการคานวณการต่อตัวเก็บประจุแบบวง (ต่อขนาน)

ตัวอย่าง 1 ตัวเก็บประจุอันหนึ่งมีค่าความจุ 1 ไมโครฟารัด มีประจุ 2 ไมโครคูลอมบ์ และตัวเก็บประจุอันที่


สองมีค่าความจุ 3 ไมโครฟารัด มีประจุ 4 ไมโครคูลอมบ์ ถ้านาตัวเก็บประจุสองอันมาต่อกันแบบ
ขนาน จนกระทั่งเกิดสมดุลทางไฟฟ้า จงหาความต่างศักย์ไฟฟ้ารวม

ตัวอย่าง 2 ตัวเก็บประจุขนาด 50 ไมโครฟารัด มีความต่างศักย์ 40 โวลต์ เมื่อนามาต่อกับตัวเก็บประจุ


ขนาด 30 ไมโครฟารัด ซึ่งเดิมไม่มีประจุอยู่เลย จงหาความต่างศักย์ของตัวเก็บประจุตัวนี้

ตัวอย่าง 3 จากวงจรตามรูป ขณะยังไม่เปิดสวิตช์ S มีประจุสะสมอยู่ในตัวเก็บประจุ C1 เท่ากับ 20 ไมโครคู


ลอมบ์ ส่วนตัวเก็บประจุอื่นๆ ไม่มีประจุสะสมอยู่เลย จงหาว่าหลังจากเปิดสวิตช์ S ความต่าง
ศักย์ไฟฟ้าที่คร่อม C1 มีค่าเป็นเท่าใด
S

C 2 = 1 F C 3 = 3 F
C 1 = 8 F
C 4 = 4 F

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล

You might also like