You are on page 1of 5

เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม

เรื่อง ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 1

เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า

แกลแวนอมิ เ ตอร์ (Galvanometer) เป็ น เครื่ อ งมื อ วั ด พื้ น ฐานทางไฟฟ้ า ที่ ส ามารถวั ด ได้ ทั้ ง
กระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้า แต่จะวัดได้ปริมาณน้อยๆ จึงนิยมนาแกลแวนอมิเตอร์ไปดัดแปลงเป็น
แอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์และโอห์มมิเตอร์ เพื่อวัดค่ากระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ไฟฟ้าและความต้านทานไฟฟ้า
เป็นต้น
หลักการทางานของแกลแวนอมิเตอร์
เมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านเข้าไปในแกลแวนอมิเตอร์ซึ่งภายในมีขดลวดวางอยู่ในสนามแมเหล็ก จะมี
แรงแม่เหล็กทาให้ขดลวดหมุน ทาให้เข็มที่ติดกับขดลวดเบนตามไปด้วย

การเบนของเข็ ม ชี้ จ ะมากจะน้ อ ยขึ้ น อยู่ กั บ ปริ ม าณกระแสไฟฟ้ า ที่ ผ่ า นเข้ า ไปในขดลวด โดย
กระแสไฟฟ้าที่ทาให้เข็มชี้ของแกลแวนอมิเตอร์เบนได้สูงสุดจะมีค่าจากัดค่าหนึ่ง เรียกว่า “กระแสสูงสุดของ
แกลแวนอมิเตอร์” ถ้ากระแสไฟฟ้าที่ผ่านเข้าไปในขดลวดของแกลแวนอมิเตอร์มากกว่าค่าจากัดนี้ จะทาให้
แกลแวนอมิเตอร์เสียหาย ดังนั้นการที่จะนาแกลแวนอมิเตอร์ไ ปใช้วัดค่ ากระแสหรือวัดค่าความต่างศั กย์ ใน
วงจรไฟฟ้า จึงต้องทาการดัดแปลงเสียก่อน
1. แอมมิเตอร์ (Ammeter)
แอมมิเตอร์เป็นอุปกรณ์สาหรับวัดค่ากระแสไฟฟ้าดัดแปลงมาจากแกลแวนอมิเตอร์ แอมมิเตอร์ที่
ดีจะต้องมีความต้านทานภายในต่าเพื่อให้อ่านค่ากระแสได้ถูกต้องกับความเป็นจริงมากที่สุด
1.1 การต่อแอมมิเตอร์เพื่อวัดค่ากระแสไฟฟ้า
การนาแอมมิเตอร์ไปใช้งานในวงจรไฟฟ้า จะต้องนาแอมมิเตอร์ไปต่ออนุกรมกับสายไฟที่
ต้องการวัดค่ากระแสไฟฟ้า ดังรูป

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 2

R1

A1

A2 A3

R2 R3
E

1.2 การสร้างหรือการดัดแปลงแกลแวนอมิเตอร์ให้เป็นแอมมิเตอร์
การสร้างหรือดัดแปลงแกลแวนอมิเตอร์ให้เป็นแอมมิเตอร์เพื่อวัดค่ากระแสไฟฟ้าจะนา
ความต้านทานที่มีค่าต่ามาต่อขนานกับความต้านทานภายในของแกลแวนอมิเตอร์ เพื่อทาให้ความต้านทาน
รวมมีค่าต่า ทาให้สามารถอ่านค่ากระแสได้มากขึ้น
ความต้านทานค่าต่าที่นามาต่อขนาน เรียกว่า “ชันต์ (Shunt)” จะทาหน้าที่แยกการไหล
ของกระแสที่อ่านค่าทาให้กระแสที่ไหลผ่านเข้าไปในขดลวดแกลแวนอมิเตอร์ไม่เกินค่าสูง สุดที่เข็มชี้สามารถ
เบนได้
RG
IG
G
I

Is
Rs
ให้ I คือ กระแสไฟฟ้าที่อ่านได้ หน่วย แอมแปร์ (A)
IG คือ กระแสที่ทาให้เข็มเบน หน่วย แอมแปร์ (A)
Is คือ กระแสที่แยกไหลผ่านชันต์ หน่วย แอมแปร์ (A)
โดย I = I + I
s G

RG คือ ความต้านทานภายในของแกลแวนอมิเตอร์ หน่วย โอห์ม (Ω)


Rs คือ ความต้านทานต่อขนาน (ชันต์) หน่วย โอห์ม (Ω)
ความต้านทานค่าต่าที่นามาต่อขนานหรือชันต์ หาได้ดังนี้
IG R G = I R s s

หรือ IG R G = ( I − I ) R G s

2. โวลต์มิเตอร์ (Voltmeter)
โวลต์มิเตอร์เป็นอุปกรณ์สาหรับวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าดัดแปลงมาจากแกลแวนอมิเตอร์ โวลต์
มิเตอร์ที่ดีต้องมีความต้านทานภายในสูงเพื่อให้ให้อ่านค่าความต่างศักย์ได้ถูกต้องกับความเป็นจริงมากที่สุด

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 3

การทาโจทย์คานวณ ถ้าไม่บอกค่าความต้านทานของโวลต์มิเตอร์มาให้ ถือว่าโวลต์มิเตอร์มีความ


ต้านทานภายในสูงมากๆ
2.1 การต่อโวลต์มิเตอร์เพี่อวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า
การนาโวลต์มิ เตอร์ไ ปใช้ง านในวงจร จะต้องนาโวลต์มิ เ ตอร์ไ ปต่อ ขนานหรื อ ต่อ คร่ อ ม
ระหว่างจุดสองจุดที่ต้องการวัดความต่างศักย์ไฟฟ้า ดังรูป
V1

R1

R2 V2
E

2.2 การสร้างหรือดัดแปลงแกลแวนอมิเตอร์เป็นโวลต์มิเตอร์
การสร้างหรือดัดแปลงแกลแวนอมิเตอร์เป็นโวลต์มิเตอร์เพื่อวัดความต่างศักย์ จะนาความ
ต้านทานที่มีค่าสูงมากมาต่ออนุกรมกับความต้านทานภายในของแกลแวนอมิเตอร์ เพื่อทาให้ความต้านทาน
รวมมีค่าสูงขึ้น ทาให้สามารถอ่านค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าได้มากขึ้น
ความต้านทานค่าสูงที่นามาต่ออนุกรม เรียกว่า “มัลติพลายเออร์ (Multiplier)” ช่วยเพิ่ม
ความต้านทานภายใน โดยกระแสที่ทาให้เข็มชี้เบนยังคงเท่าเดิม ทาให้อ่านค่าความต่างระหว่างสองจุดได้สูงขึ้น
RG Rm
IG
G

VG Vm

V
ให้ V คือ ความต่างศักย์ที่อ่านค่าได้ หน่วย โวลต์ (V)
VG คือ ความต่างศักย์ของแกลแวนอมิเตอร์ หน่วย โวลต์ (V)
Vm คือ ความต่างศักย์ของมัลติพลายเออร์ หน่วย โวลต์ (V)
IG คือ กระแสที่ทาให้เข็มเบน หน่วย แอมแปร์ (A)
RG คือ ความต้านทานภายในของแกลแวนอมิเตอร์ หน่วย โอห์ม (Ω)
Rm คือ ความต้านทานที่ต่ออนุกรม (มัลติพลายเออร์) หน่วย โอห์ม (Ω)
ความต้านทานค่าสูงที่นามาต่ออนุกรม (มัลติพลายเออร์) หาได้ดังนี้
V = I R +I RG m G G

V = I (R + R )
G m G

หรือ Rm = V
− RG
IG

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 4

 ตัวอย่างการคานวณเครื่องมือวัดทางไฟฟ้า

ตัวอย่าง 1 แกลแวนอมิเตอร์มีความต้านทานภายใน 30 โอห์ม เข็มชี้เบนเต็มสเกลเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหล


ผ่าน 5 แอมแปร์ ถ้าต้องการให้วัดกระแสไฟฟ้าได้สูงสุด 20 แอมแปร์ จะต้องนาความต้านทาน
เท่าใดมาต่อขนาน

ตัวอย่าง 2 แกลแวนอมิเตอร์มีความต้านทานภายใน 5 โอห์ม เข็มชี้จะเบนเต็มสเกลเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหล


ผ่าน 2 แอมแปร์ ถ้าต้องการวัดความต่างศักย์ได้สูงสุด 30 โวลต์ จะต้องนาความต้านทานเท่าใด
มาต่อแบบอนุกรม

ตัวอย่าง 3 แกลแวนอมิเตอร์มีความต้านทานภายใน 5 โอห์ม วัดความต่างศักย์ไฟฟ้าได้สูงสุด 10 โวลต์ ถ้า


ต้องการให้วัดความต่างศักย์ได้สูง สุดถึง 30 โวลต์ จะต้องนาความต้านทานเท่าใดมาต่อแบบ
อนุกรม

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล


เอกสารประกอบการเรียนรายวิชา ว30204 ฟิสิกส์เพิ่มเติม
เรื่อง ไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current) 5

วงจรไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านและการใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย

การจ่ายไฟฟ้าเข้าบ้านจะต้องใช้สายไฟ 2 สาย คือสายหนึ่งมีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์เมื่อเทียบกับพื้นดิน


เรียกว่า สายกลาง หรือสาย N ส่วนอีกสายหนึ่งมีศักย์ไฟฟ้าไม่เป็นศูนย์ เมื่อเทียบกับพื้นดิน เรียกว่า สายศักย์
หรือสาย L
1. วงจรไฟฟ้าในบ้าน
วงจรไฟฟ้าภายในบ้าน ส่วนใหญ่จะเป็นการต่อแบบขนานซึ่งเป็นการต่อวงจรทาให้อุปกรณ์และ
เครื่องใช้ไ ฟฟ้าแต่ละชนิดอยู่คนละวงจรซึ่งถ้าเครื่องใช้ไ ฟฟ้าชนิดหนึ่ง เกิดขัดข้องเนื่องจากสาเหตุใดก็ตาม
เครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดอื่นก็ยังคงใช้งานได้ตามปกติเพราะไม่ได้อยู่ในวงจรเดียวกัน
ไฟฟ้าที่ใช้ในบ้านเรือนทั่วไปเป็นไฟฟ้ากระแสสลับมีความต่างศักย์ 220 โวลต์ การส่งพลังงาน
ไฟฟ้าเข้าบ้านจะใช้สายไฟ 2 เส้น คือ
- สายกลาง หรือสาย N มีศักย์ไฟฟ้าเป็นศูนย์
- สายไฟ หรือสาย L มีศักย์ไฟฟ้าเป็น 220 โวลต์
โดยปกติสาย L และสาย N ที่ต่อเข้าบ้านจะต่อเข้ากับแผงควบคุมไฟฟ้าซึ่งเป็นที่ควบคุมการจ่าย
พลังงานไฟฟ้าทั้งหมดในบ้านอย่างมีระบบบนแผงควบคุมไฟฟ้ามักจะประกอบด้วย ฟิวส์รวม สะพานไฟรวม
และสะพานไฟย่อยโดยสะพานไฟย่อยมีไว้เพื่อแยกและควบคุมการส่งพลังงานไฟฟ้าไปยังวงจรไฟฟ้าย่อยตาม
ส่วนต่างๆของบ้านเรือน เช่น วงจรชั้นล่าง วงจรชั้นบน วงจรในครัว เป็น
2. อุปกรณ์ไฟฟ้าและเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน
อุ ป กรณ์ แ ละเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ในบ้ า น ได้ แ ก่ หลอดไฟ หม้ อ หุ ง ข้ า วเตารี ด พั ด ลม โทรทั ศ น์
เครื่องปรับอากาศ อุปกรณ์เหล่านี้ทุกชิ้น จะมีตัวเลขบอกความต่างศักย์ (V) และกาลังไฟฟ้า (P) ที่เกิดขึ้นเป็น
วั ต ต์ (W) แต่ บ างชนิ ด ก็ ก าหนดค่ า ความต่ า งศั ก ย์ (V) กั บ กระแสที่ ผ่ า นเครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า เป็ น แอมแปร์ (A)
เครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชิ้นควรต่อสายดิน เพื่อป้องกันไฟดูด
เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ เช่น หลอดไฟฟ้า เตารีด พัดลม จะต่อวงจรแบบขนานทั้งสิ้น เนื่องจาก
ต้องการให้เครื่องใช้ไฟฟ้าเหล่านั้น ได้รับความต่ างศักย์เท่ากันและเท่ากับที่กาหนดไว้บนเครื่องใช้ไฟฟ้า จึงจะ
เกิดกาลัง ตามที่กาหนดและถ้าเครื่องมือใดชารุ ดเสี ยหาย ก็จะเสียหาย เฉพาะเครื่องใช้ไ ฟฟ้าเครื่องนั้นไม่
เกี่ยวกับเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดอื่น
3. การใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
ไฟฟ้าเป็นพลังงานที่เรานามาใช้กับชีวิต ประจาวันมากที่สุดไฟฟ้ามีประโยชน์มากมายแต่เมื่อเรา
ใช้อย่างไม่ระมัดระวังหรือไม่ถูกวิธีก็อาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ความประมาทหรือเพิกเฉยต่อสิ่งที่เกิดขึ้นเพียง
เล็กน้อยอาจนามาซึ่งความหายนะและความสูญเสียต่างๆได้
การใช้ ไ ฟฟ้ า อย่ า งคุ้ ม ค่ า และปลอดภั ย นั้ น เราควรจะรู้ จั ก วิ ธี ก ารเลื อ กใช้ เ ครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า ที่ มี
ประสิทธิภาพให้เหมาะสมต่อการใช้งานตลอดจนมีความรู้ความเข้าใจในเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างถ่องแท้

© นายสมประสงค์ จาปาทอง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนพุทธิรงั สีพิบูล

You might also like