You are on page 1of 20

แม่เหล็ก

Magnetism

1.1 สนามแม่เหล็ก
บริเวณรอบ ๆ แท่งแม่เหล็กถาวร (Permanent Magnet) จะมีเส้นแรงแม่เหล็ก
(Magnetic Flux Lines) กระจายอยู่รอบ ๆ โดยวิ่งจากขั้วเหนือไปยังขั้วใต้ของแท่ง
แม่เหล็ก บริเวณที่มีเส้นแรงแม่เหล็กนี้เรียกว่า สนามแม่เหล็ก (Magnetic Field) ความ
เข้มของสนามแม่เหล็ก (Magnetic Field Strength) ขึ้นอยู่กับความหนาแน่นของจานวน
เส้นแรงแม่เหล็กต่อบริเวณพื้นที่นั้น

รูปที่ 1.1 สนามแม่เหล็กรอบ ๆ แท่งแม่เหล็ก

รูปที่ 1.1 จะเห็นว่าพื้นที่ a และพื้นที่ b มีพื้นที่เท่ากันแต่จะมีจานวนเส้นแรงแม่เหล็กไม่


เท่ากัน ดังนั้น ความเข้มของสนามแม่เหล็กที่บริเวณพื้นที่ a จะไม่เท่ากับบริเวณพื้นที่ b

รูปที่ 1.2 แสดงความแตกต่างของเส้นแรงแม่เหล็ก เมื่อนาแท่งแม่เหล็ก 2 แท่ง มาวางใกล้


กัน รูปที่ 1.2(ก) หันขั้วต่างกันเข้าหากัน รูปที่ 1.2(ข) หันขั้วเหมือนกันเข้าหากัน
2 เทคโนโลยีไฟฟ้ากาลัง

รูปที่ 1.2 สนามแม่เหล็กรอบ ๆ แท่งแม่เหล็ก 2 แท่ง

วิธีการวัดสนามแม่เหล็กจะใช้การวัดจานวนเส้นแรงแม่เหล็กต่อพื้นที่หน้าตัดที่สนาม
แม่เหล็กผ่าน

ดังนั้น ความหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็ก (Magnetic Flux Density) ก็คือ



B = Weber/Square Meter (Wb/m2) …… 1.1
A
เมื่อ B = Magnetic Flux Density, Tesla (T)
 = Magnetic Flux, Webers (Wb)
A = พื้นที่หน้าตัดที่เส้นแรงแม่เหล็กวิ่งผ่าน, Square Meters (m2)
1 tesla = 1T = 1 Wb/m2

 

รูปที่ 1.3 แสดงเส้นแรงแม่เหล็กวิ่งผ่านพื้นที่หน้าตัด

ความหนาแน่นของสนามแม่เหล็กโลกมีค่าประมาณ 1  10-5 T

ความหนาแน่นของสนามแม่เหล็กในมอเตอร์ เครื่องกาเนิดไฟฟ้า และหม้อแปลงไฟฟ้า มี


ค่าประมาณ 1 T

1 Wb/m2 = 104 Gauss in CGS System


Power Electrotechnology 3

ตัวอย่างที่ 1.1
จากรูปที่ 1.3 ถ้าพื้นทีห่ น้าตัด A เท่ากับ 1.2  10-3 ตารางเมตร และมีเส้นแรงแม่เหล็ก
ผ่าน 6  10-5 Wb จงหาความหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็ก

วิธีทา

Magnetic Flux Density, B = Wb/m2
A
6  10 -5
 B = = 5  10-2 T
1.2  10 -3

ตัวอย่างที่ 1.2
จากรูปที่ 1.3 ถ้าความหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็กเท่ากับ 1.2 Wb/m2 ผ่านพื้นที่ หน้า
ตัด 0.25 ตารางนิ้ว จงหาจานวนเส้นแรงแม่เหล็กนี้

วิธีทา
Magnetic Flux,  = BA Wb

ต้องเปลี่ยนหน่วยพื้นที่จากตารางนิ้วให้เป็นหน่วยตารางเมตรก่อน

1 เมตร มีความยาวเท่ากับ 39.37 นิว้

0.25 in2 
1m   1m 
 A =   = 1.613  10-4 m2
 39.37   39.37 

  = 1.2  1.613  10-4 = 1.936  10-4 Wb


4 เทคโนโลยีไฟฟ้ากาลัง

1.2 สนามแม่เหล็กรอบตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าไหล
ถ้ามีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวนา (Conductor) จะเกิดสนามแม่เหล็กเกิดขึ้นรอบ ๆ ตัวนา
นั้น ลักษณะนี้เรียกว่า สนามแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnet)

ตัวนำ
เส้นแรงแม่เหล็ก

เส้นแรงแม่เหล็ก

รูปที่ 1.4 (ก) แสดงทิศทางของเส้นแรงแม่เหล็กรอบตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน


( ข) กระแสไฟฟ้าไหลเข้า
( ค) กระแสไฟฟ้าไหลออก
(ง) กฎ Ampere’s Right – Hand Rule

กฎ Ampere’s Right – Hand Rule เป็นกฎที่ทาให้ทราบทิศทางของเส้นแรงแม่เหล็กที่


เกิดขึ้นรอบตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน โดยให้นิ้วหัวแม่มือชี้ทิศทางกระแสไฟฟ้าที่
ไหลในตัวนาและนิ้วทั้งสี่จะแสดงทิศทางของเส้นแรงแม่เหล็กที่เกิดขึ้นรอบตัวนานั้น
Power Electrotechnology 5

1.3 สนามแม่เหล็กในขดลวด
ถ้ามีขดลวดที่มีจานวนรอบ 1 รอบ และมีกระแสไฟฟ้า ไหลผ่านขดลวดจะเกิดเส้นแรง
แม่เหล็กในทิศทางดังรูปที่ 1.5

รูปที่ 1.5 เส้นแรงแม่เหล็กที่เกิดจากขดลวดที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน

จากรูปที่ 1.5 จะเห็นว่าเส้นแรงแม่เหล็กรวมมีทิศทางพุ่งออกผ่านศูนย์กลางของขดลวด ถ้า


ขดลวดมีจานวนรอบมาก ลักษณะทิศทางของเส้นแรงแม่เหล็กที่เกิดขึ้นจะเป็นดังรูปที่ 1.6

I I
I I

รูปที่ 1.6 เส้นแรงแม่เหล็กรอบขดลวดที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน


(ก) แกนอากาศ
(ข) พันขดลวดรอบแกนเหล็ก
6 เทคโนโลยีไฟฟ้ากาลัง

ทิศทางของเส้นแรงแม่เหล็กที่เกิดขึ้นสามารถทราบได้จากกฎมือขวา Cork Screw’s


Rule ดังรูปที่ 1.7 นิ้วทั้งสี่ชี้ทิศทางกระแสไฟฟ้าที่ไหลในขดลวด นิ้วหัวแม่มือจะชี้ทิศทาง
ของเส้นแรงแม่เหล็ก
I

 
I

รูปที่ 1.7 แสดงทิศทางของเส้นแรงแม่เหล็กที่เกิดจากขดลวดที่มกี ระแส


ไฟฟ้าไหลผ่านตามกฎมือขวา Cork’s Screw Rule

1.4 แรงเคลื่อนแม่เหล็ก (Magnetomotive Force, MMF)


ถ้าขดลวดมีจานวนรอบ N รอบ พันรอบแกนเหล็ก และมีกระแสไฟฟ้า I แอมแปร์ ไหล
ผ่านในขดลวด จะเกิดแรงเคลื่อนแม่เหล็ก MMF ขึ้น และ MMF นี้จะทาให้เกิดเส้นแรง
แม่เหล็กขึ้น เขียนเป็นสมการได้ดังนี้
MNI Ampere – Turns, (AT) …… 1.2

เมื่อ MMF = แรงเคลื่อนแม่เหล็ก


N = จานวนรอบของขดลวด
I = กระแสไฟฟ้าที่ไหลในขดลวด, Ampere

MMF นี้สามารถเปรียบเทียบได้กับ Electromotive Force (EMF) ในวงจรไฟฟ้า

และจานวนเส้นแรงแม่เหล็กแปรผันตรงกับแรงเคลื่อนแม่เหล็ก
  NI
Power Electrotechnology 7

รูปที่ 1.8 แสดงการเกิดแรงเคลื่อนแม่เหล็ก

ตัวอย่างที่ 1.3
ขดลวดมีจานวนรอบ 600 รอบ พันรอบวงแหวนไม้กลมที่มีพื้นที่หน้าตัด 1 ตาราง
เซนติเมตร วัดเส้นแรงแม่เหล็กรวมทั้งหมดได้ 0.2 Wb เมื่อมีกระแสไฟฟ้า 800 mA
ไหลในขดลวด ถ้ามีกระแสไฟฟ้าในขดลวด 2 A ความหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็กจะมี
ค่าเท่าใด

รูปที่ 1.9 ขดลวดทรงวงแหวน (Toroid)

วิธีทา
Magnetomotive Force (MMF) M1 = NI
= 600  800  10-3
= 480 At
8 เทคโนโลยีไฟฟ้ากาลัง

MMF, M1 นี้จะทาให้เกิดเส้นแรงแม่เหล็ก  ใน Toroid เท่ากับ 0.2 Wb เมื่อมี


กระแสไฟฟ้าในขดลวด 800 mA

ถ้ามีกระแสไฟฟ้าในขดลวด 2 A
MMF, M2 = NI = 600  2 = 1,200 At

MMF, M1 = 480 At ได้ t1 = 0.2 Wb

0.2  1,200
ถ้า MMF, M2 = 1,200 At ได้ t2 =
480
= 0.5 Wb

 0.5  10 -6
Magnetic Flux Density, B = = = 0.005 T หรือ 5 mT
A 1  10 -4

1.5 Magnetizing Force


Magnetizing Force คือ แรงเคลื่อนแม่เหล็กต่อหน่วยความยาวของวงจรแม่เหล็ก

NI
Magnetizing Force, H At/m …… 1.3
l

เมื่อ l = ความยาวเฉลี่ยของวงจรแม่เหล็ก (Mean Length of Magnetic Path),


เมตร (m)

บางครั้ง Magnetizing Force เรียกว่า Magnetic Field Intensity

1.6 Permeability
ปริมาณของความหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็ก, B ขึ้นอยู่กับ Magnetizing Force, H
ดังรูปที่ 1.10
Power Electrotechnology 9

รูปที่ 1.10 แสดงความสัมพันธ์ระหว่าง B กับ H ของสารชนิดต่าง ๆ ที่ใช้เป็น


ทางเดินเส้นแรงแม่เหล็ก (B – H Curves of Magnetization Curves)

ในสารแต่ละชนิดที่ Magnetizing Force, H ค่าเดียวกัน จะให้ค่า Magnetic Flux


Density, B ไม่เท่ากัน ทั้งนีเ้ นื่องมาจากคุณสมบัติของสารนั้น นัน
่ คือ ในสารแต่ละชนิด
B  H
หรือ B = H

B
หรือ Permeability,  = Or =
H
…… 1.4

เมื่อ r = Relative permeability ของสารต่าง ๆ

สารที่ยอมให้เส้นแรงแม่เหล็กผ่านได้ดีจะเป็นพวก Magnetic Materials ซึ่งจะทาให้ค่า


Permeability,  มีค่าสูงมาก ดังนั้น ค่า Permeability จะแสดงความสามารถของสาร
ในการนาเส้นแรงแม่เหล็กของสารแต่ละชนิด
ค่า Permeability ของอากาศหรือ Free Space หรือสุญญากาศจะมีค่าเท่ากับ
O = 4  10-7 Weber/Ampere – Meter หรือ Henrys/Meter

สารที่ไม่เป็นแม่เหล็ก (Nonmagnetic Materials) เช่น ทองแดง อ ะลูมิเนียม ไม้ กระจ ก


แก้ว และอากาศ จะมีค่า  r เท่ากับ 1
10 เทคโนโลยีไฟฟ้ากาลัง

สารที่มีค่า  r น้อยกว่า 1 จะเรียกสารนั้นว่า Diamagnetic สารที่มีค่า  r สูงกว่า 1


จะเรียกสารนั้นว่า Paramagnetic และสารที่ให้ค่า  r สูงมาก ๆ จะเรียก สารนั้นว่า
Ferromagnetic


Relative Permeability, r = …… 1.5
O

โดยทั่วไปแล้วสาร Ferromagnetic จะมีค่า Relative Permeability,  r  100 และ


สารพวก Nonmagnetic จะมีค่า  r = 1

หรือ Permeability,  =  O r …… 1.6

1.7 Reluctance of Magnetic Circuit


Reluctance คือ ค่าแสดงความต้านทานการให้เส้นแรงแม่เหล็กเดินทางผ่านได้ในวงจร
แม่เหล็ก ซึ่งขึ้นอยู่กับคุณสมบัติทางกายภาพของสารที่นามาเป็นทางเดินของเส้นแรง
แม่เหล็ก สารนี้อาจเป็น Magnetic หรือ Nonmagnetic Materials ก็ได้ สารที่ไม่มี
อานาจแม่เหล็ก (Nonmagnetic Materials) ได้แก่ อา กาศ ฉนวน ไม้ พลาสติก
ทองเหลือง เป็นต้น และสารที่มีอานาจแม่เหล็ก (Magnetic Materials) ได้แก่ เหล็ก
(Steel), Cobalt, Ferrous Iron, Nickel, Alloy เป็นต้น

ค่า Reluctance, ℛ สามารถเปรียบเทียบได้กับค่าความต้านทาน R ในวงจรไฟฟ้า


(ก) ( ข)

รูปที่ 1.11 การเปรียบเทียบวงจรไฟฟ้ากับวงจรแม่เหล็ก


(ก) วงจรไฟฟ้า (ข) วงจรแม่เหล็ก
Power Electrotechnology 11

ค่า Reluctance, ℛ = M


NI


NI
BA

NI
μHA

ℛ = NI
μANI/l

 ℛ =
1
=
1
At/Wb …… 1.7
A  O r A

เมื่อ l = ความยาวเฉลี่ยในวงจรแม่เหล็ก, เมตร (m)


A = พื้นที่หน้าตัดในวงจรแม่เหล็ก, ตารางเมตร (m2)
 = ค่า Permeability ของสารในวงจรแม่เหล็ก, Wb/Am หรือ H/m

ตัวอย่างที่ 1.4
จากตัวอย่างที่ 1.3 ถ้ากระแสในขดลวด Toroid เท่ากับ 2 A จงหา
ก) Reluctance ในวงจรแม่เหล็ก
ข) ความยาวเฉลี่ยในวงจรแม่เหล็ก
ค) Magnetizing Force

วิธีทา

รูปที่ 1.12
12 เทคโนโลยีไฟฟ้ากาลัง

ก) Reluctance, ℛ =
NI
=
1
At/Wb
 μA
600  2
= = 2,400  106 At/Wb
0.5  10 -6

ข) ความยาวเฉลี่ย, l
 ℛ =
1
=
1
At/Wb
μA  O r A

เนื่องจากขดลวดพันรอบวงแหวนไม้ ดังนั้น วงจรแม่เหล็กใช้สารไม้ซึ่งค่า Relative


Permeability,  r = 1
 = Or = 4  10-7  1 = 4  10-7 H/m

หรือ  = O = 4  10-7 H/m

ความยาว, l = Aℛ = 4  10-7  1  10-4  2,400  106

= 0.3 m หรือ 30 cm

NI
ค) Magnetizing Force, H =
1
At/m

600  2
= = 4,000 At/m
03

1.8 Hysteresis loop


ถ้าพันขดลวดในแกนเหล็ก เช่น Steel ดังรูปที่ 1.13
Power Electrotechnology 13

รูปที่ 1.13 Hysteresis Loop of Ferromagnetic Coil


(ก) Steel Toroid (ข) Hysteresis Loop

สมมติว่าไม่มีอานาจแม่เหล็กหลงเหลืออยู่ในตอนแรกขณะที่กระแสไฟฟ้า I = 0 เมื่อค่อย
ๆ เพิ่มกระแสไฟฟ้า I ค่า Magnetizing Force, H ก็จะเพิ่มขึ้นตามสมการ 1.3 คือ

H = NI
l
At/m …… 1.3
ความหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็ก, B = /A ก็จะค่อย ๆ เพิ่มขึ้นตามด้วย ตามแนว oa
ถ้าเพิ่มกระแสไฟฟ้า I มากขึ้นต่อไปอีก ค่า B ก็จะไม่เพิ่มอีกต่อไปที่จุด b ลักษณะนี้
เรียกว่า เกิดการอิ่มตัว (Saturation) ของเส้นแรงแม่เหล็ก ซึ่งเป็นเพราะคุณสมบัติของสาร
ที่ใช้ในวงจรแม่เหล็กที่จดุ b นี้จะได้ค่า B สูงสุดของสารแม่เหล็กนี้

ถ้าค่อย ๆ ลดกระแสไฟฟ้า I จนถึงศูนย์ ค่า B จะลดลงตามแนว bc มีค่าเท่ากับ BR ซึ่ง


เรียกว่า Residual Magnetic Flux Density ซึ่งจะค้างอยู่ในสารเหล็ก และเหล็กนี้ก็จะ
เป็นแม่เหล็กถาวร (Permanent Magnet) ค่า BR จะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับคุณสมบัติ
ของสารแต่ละชนิด และถ้าลดกระแสไฟฟ้าลงอีกโดยใส่กระแสไฟฟ้าลบ หรือกลับขั้ว
กระแสไฟฟ้าที่ป้อนให้แก่ขดลวด ในขณะที่ Magnetizing Force จะมีค่า –H ซึ่งค่า B ก็
จะลดลงตามแนว cd เรื่อย ๆ จนถึงศูนย์ ที่จุดนี้เรียก Magnetizing Force ว่า Coercive
Force, Hd และถ้าใส่กระแสไฟฟ้า –I อีกจะทาให้ได้ –B และก็จะอิ่มตัว ถ้าลด
กระแสไฟฟ้า –I จนมีค่าเท่ากับศูนย์ ก็จะได้ –Br ที่จุด e ถ้าเพิ่มกระแสไฟฟ้า I จากศูนย์
14 เทคโนโลยีไฟฟ้ากาลัง

เป็น + I จะได้ลักษณะของ B ตามแนว eb ตามลักษณะเส้นกราฟ b c d e b นี้ จะเรียกว่า


Hysteresis Curve หรือ B – H Loop ของสารแม่เหล็ก

สารแต่ละชนิดจะมีลักษณะ Hysteresis Curve ไม่เหมือนกัน ดังรูปที่ 1.14 แสดงให้เห็น


ลักษณะแตกต่าง B – H Loop ของ Soft Materials และ Hard Materials

สรุปว่า ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงกระแสไฟฟ้าหรือใส่ไฟฟ้ากระแสสลับในขดลวดที่พันบน
แกนเหล็ก จะทาให้เกิด Hysteresis หรือ B-H loop

รูปที่ 1.14 B – H Loop ของ Soft Material และ Hard Material

สาร Soft Materials ได้แก่ เหล็กซิลิคอน (Silicon Iron) ที่มีส่วนผสมของซิลิคอน


ประมาณ 3 – 4% เหล็กชนิดนี้จะให้การเปลี่ยนแปลงของ Magnetization Curve ได้
อย่างรวดเร็ว และเหล็กชนิดนี้จะนาไปใช้ใ นการสร้างเครื่องกลไฟฟ้า มอเตอร์ หม้อแปลง
ไฟฟ้า และเครื่องกาเนิดไฟฟ้า

สาร Hard Materials ได้แก่ อัลนิโก โคบอล ต์ อัลลอย เฟอรัสไอออน นิกเกิล เป็นต้น
ซึ่งสารเหล่านี้จะใช้ทาพวกแม่เหล็กถาวร
Power Electrotechnology 15

1.9 การสูญเสียในแกนแม่เหล็ก (Magnetic Core Losses)


การสูญเสียในแกนแม่เหล็ก ก็คือ พื้นที่ภายใน Hysteresis Loop ซึ่งจะแสดงพลังงานที่
สูญเสียในรูปของความร้อน การสูญเสียความร้อนในแกนแม่เหล็กจะเกิดขึ้นในกรณีที่เกิด
มี Hysteresis Loop หมายความว่าจะต้องมีการเปลี่ยนแปลง H และ B ตลอดเวลานั่นเอง
ลักษณะนี้จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อปริมาณกระแสไฟฟ้า I ที่ไหลในขดลวดจะต้องเปลี่ยนแปลง
ไปมาตลอดเวลา ซึ่งก็คือ กระแสไฟฟ้า I นี้เป็นกระแสไฟฟ้าสลับนั่นเองจึงจะทาให้เกิด
Hysteresis Loop ขึ้น

Bmax

HS

รูปที่ 1.15 Hysteresis Loss

ถ้าพื้นที่ภายใน Loop มาก ความร้อนที่เกิดในแกนแม่เ หล็กก็จะมาก ปริมาณความร้อนที่


สูญเสีย Hysteresis Loss เท่ากับ
Ph = k h Vf Bnmax Watts …… 1.8
เมื่อ V = ปริมาตรของแกนเหล็ก, ลูกบาศก์เมตร (m ) 3

kh = Hysteresis Constant ขึ้นอยูก


่ ับพื้นที่ภายใน Loop
n = ค่าคงที่ที่ได้จากการทดลองมีค่าประมาณระหว่าง 1.5 ถึง 2.5
f = ความถี่ของกระแสไฟฟ้าสลับ I, Hz
Bmax = ค่าสูงสุดของ Magnetic Flux Density, Wb
16 เทคโนโลยีไฟฟ้ากาลัง

1.10 Eddy Current Loss


Eddy Current เป็นกระแสไฟฟ้าไหลวนที่เกิดขึ้นในเนื้อเหล็กของแกนแม่เหล็ก ถ้าใส่
กระแสไฟฟ้าสลับ I ให้แก่ขดลวดจะทาให้เส้นแรงแม่เหล็กที่เกิดขึ้นเปลี่ยนแปลงตาม
ปริมาณกระแสไฟฟ้า ปรากฏการณ์นี้จะทาให้เกิดการเหนี่ยวนาแรงเคลื่อนไฟฟ้า
(Electromotive Force, EMF) และมีกระแสไฟฟ้า ไหลวนในเนื้อเหล็กของแกน
แม่เหล็ก กระแสไฟฟ้าที่ไหลวนในเนื้อเ หล็กนี้จะทาให้เกิดความร้อนใน แกนเหล็ก เรียก
กระแส ไฟฟ้านี้ว่า Eddy Current

ถ้าต้องการที่จะลดกระแสไฟฟ้า Eddy นี้ให้น้อยลง จะต้องลดพื้นที่หน้าตัดของเนื้อเหล็ก


โดยใช้แผ่นเหล็กบาง ๆ (Thin Lamination Steels) มาซ้อนเป็นแกนเหล็ก ซึ่งจะทาให้มี
ความต้านทานสูงมาก และต้านทานกระแสไฟฟ้า Eddy ให้น้อยลง


 

รูปที่ 1.16 การใช้แผ่นเหล็กบาง ๆ มาซ้อนอัดกันเป็นแกนแม่เหล็ก

จากรูปที่ 1.16 จะแสดงให้เห็นว่า กระแสไฟฟ้า Eddy จะเกิดในลักษณะไหลวนตั้งฉาก


กับทิศทางเส้นแรงแม่เหล็ก

ปริมาณความร้อนที่สูญเสียจากระแสไฟฟ้า Eddy เท่ากับ


Pe = k e (Bmaxtf ) 2 W/m3 …… 1.9

เมื่อ ke = ค่าคงที่จากสารที่ทาแกนแม่เหล็ก
Power Electrotechnology 17

t = ความหนาของแผ่นเหล็กบางแต่ละแผ่นที่มาอัดซ้อนกันเป็น
แกนแม่เหล็ก, เมตร
f = ความถี่ของกระแสไฟฟ้า I ที่ไหลในขดลวด
Bmax = ค่าสูงสุดของ Magnetic Flux Density, Wb

โดยทั่วไปจะรวมเรียก Hysteresis Loss และ Eddy Current Loss ว่า Magnetic Core
Losses ซึ่งการสูญเสียนี้จะเกิดขึ้นเฉพาะในกรณีที่กระแสไฟฟ้าในขดลวดเป็นกระแส
ไฟฟ้าสลับเท่านั้น

1.11 กฎของแอมแปร์
กฎของแอมแปร์ (Ampere’s Law) กล่าวว่า ผลรวมของ Magnetomotive Force,
MMF, (M) ในวงจรแม่เหล็กจะเท่ากับศูนย์

Magnetomotive Force (MMF), M = NI At


=  ℛ At
= Hl At
ผลรวมของ MMF ในวงจรแม่เหล็ก, (M) = 0 …… 1.10

 r1, l1 , A1  r2, l2 , A2
a M ab= H ab l ab
Mca = Hca lca
 +




+ b


+–
M bc= Hbc l bc
 r3, l3 , A3

รูปที่ 1.17 วงจรแม่เหล็กที่ประกอบด้วยแกนชนิดต่าง ๆ


18 เทคโนโลยีไฟฟ้ากาลัง

จากรูปที่ 1.17 ใช้กฎของ Ampere’s จะได้ผลรวม MMF ดังนี้


 (M) = 0
+ NI – Hab lab – Hbc lbc – Hca lca = 0

rise drop drop drop

หรือ NI = Hab lab + Hbc lbc + Hca lca

Impressed MMF mmf drop

จะเห็นว่าการรวมของ MMF จะเป็นไปตามกฎของ Kirchhoff’s Voltage ในวงจรไฟฟ้า

เส้นแรงแม่เหล็ก (Magnetic Flux),  จะมีการรวมกันเหมือนกับกฎ Kirchhoff’s


Current ในวงจรไฟฟ้า

 

รูปที่ 1.18 เส้นแรงแม่เหล็กในวงจรแม่เหล็ก

จากรูปที่ 1.15 จะได้


a = b + c ที่จุด a
เท่ากัน
b + c = a ที่จุด b

1.12 การคานวณในวงจรแม่เหล็ก
Power Electrotechnology 19

วงจรแม่เหล็กจะมีทั้งแบบอนุกรมและขนานคล้ายวงจรไฟฟ้า การคานวณในวงจรแม่เหล็ก
จะใช้กฎของแอมแปร์ และ B – H Curves ของสารแม่เหล็กชนิดต่าง ๆ

1.12.1 วงจรแม่เหล็กแบบอนุกรม
เส้นแรงแม่เหล็กจะวิ่งไปในทิศทางเดียว ไม่แยกออกเป็นแรงแม่เหล็กหลายเส้น

ตัวอย่างที่ 1.5
วงจรแม่เหล็กในรูปที่ 1.19 ขดลวดมีจานวนรอบ 250 รอบ และเส้นแรงแม่เหล็ก 0.48
mWb จงหา
ก) กระแสไฟฟ้า I
ข) Permeability  และ r


h = 8 cm, l = 10 cm, A = 4 cm2

รูปที่ 1.19 วงจรแม่เหล็กแบบอนุกรมของตัวอย่างที่ 1.5

วิธีทา
 0.48  10 -3
ก) Magnetic Flux Density, B = = = 1.2 T
A 4  10 - 4
20 เทคโนโลยีไฟฟ้ากาลัง

รูปที่ 1.20 แสดงกราฟ B – H ของแกนเหล็กชนิดต่าง ๆ โดยทั่วไป

You might also like