You are on page 1of 93

การต่อตัวต้านทาน

การต่อตัวต้านทานเพื่อใช้กาหนดค่าความต้านทานตามที่ทาการ
ออกแบบไว้นั้น สามารถกระทาได้โดยการนาเอาตัวต้านทานมาต่อกันเป็นวงจร
ตัวต้านทานซึ่งมีอยู่ 3 แบบ คือ
1. วงจรตัวต้านทานแบบอนุกรม (Series Resistor Circuit)
2. วงจรตัวต้านทานแบบขนาน (Parallel Resistor Circuit)
3. วงจรตัวต้านทานแบบผสม (Compound Resistor Circuit)
วงจรตัวต้านทานแบบอนุกรม
เป็นการต่อตัวต้านทานแบบปลายต่อปลายเรียงแถวกัน การต่อแบบนี้
จะมีค่าของความต้านทานเพิ่มมากขึ้นเท่ากับผลรวมของค่าความต้านทาน
แต่ละตัวในวงจร
วงจรตัวต้านทานแบบขนาน
เป็นการต่อตัวต้านทานโดยนาปลายแต่ละข้างของตัวต้านทานทุกตัวต่อ
เข้าด้วยกัน แล้วนาปลายที่ต่อรวมกันนั้นไปต่อเข้ากับวงจร การต่อแบบขนาน
จะทาให้ค่าของความต้านทานรวมทั้งหมดมีค่าน้อยกว่าค่าความต้านทานที่
น้อยที่สุดที่นามาต่อขนานกัน
วงจรตัวต้านทานแบบผสม
คือการนาการต่อแบบอนุกรมและขนานมารวมกันภายในวงจรเดียวกัน
โดยการหาค่าความต้านทานรวมต้องค่อยๆหาที่ละส่วน แล้วทาการยุบวงจร
และนามาคิดรวมกันอีกทีตอนสุดท้าย
แบบฝึกหัด
1. ตัวต้านทาน 2 ตัว เมื่อต่ออนุกรมกันจะมีความต้านทาน 5 Ω เมื่อต่อ
ขนานกันจะมีความต้านทานรวม 1.2 Ω ตัวต้านทานทั้งสองจะมีความ
ต้านทานเท่าใด
2. จากรูป จงหาความต้านทานรวม ถ้าค่าความต้านทานทุกตัวมีค่า 12 Ω

1. 20 Ω
2. 25 Ω
3. 40 Ω
4. 50 Ω
3. ตัวต้านทาน 6 Ω 4 ตัว ต่อกันอย่างไรจึงจะได้ความต้านทานรวม 10 Ω
4. ตัวต้านทาน R จะต้องมีค่ากี่โอห์ม จึงทาให้ความต้านทานรวมระหว่าง
ปลาย AB มีค่าเท่ากับ R
1. 20 Ω
2. 25 Ω
3. 40 Ω
4. 50 Ω
5. จากรูป จงหา RAB มีค่าเท่ากับเท่าไร
6. จากรูป จงหาความต้านทานรวมระหว่างจุด A กับจุด B มีค่ากี่โอห์ม
1. 1Ω
2. 2Ω
3. 3Ω
4. 4Ω
7. จากรูป จงหาความต้านทานระหว่าง AB
8. จงหาความต้านทานระหว่าง X กับ Y
9. จากรูปจงหาความต้านทานระหว่างจุด A กับจุด B
10. จากรูปจงหาความต้านทานระหว่างจุด A กับจุด B
11. จากรูปจงหาความต้านทานระหว่างจุด A กับจุด B
12. จากรูปจงหาความต้านทานระหว่างจุด A กับจุด B
13. จากรูปจงหาความต้านทานระหว่างจุด C กับจุด D
14. ในการทดลองต่อตัวต้านทาน R1 , R2 , R3 และ R4 ดังรูป ถ้าจะให้ค่าความ
ต้านทานต่าที่สุด ค่าของ R1 , R2 , R3 และ R4 ควรมีค่าเป็นกี่โอห์ม
ตามลาดับ
1. 40 ,30 ,20 ,10
2. 30 ,20 ,40 ,10
3. 20 ,10 ,30 ,40
4. 10 ,20 ,30 ,40
กฎของโอห์ม
นักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน จอร์จ ไซมอน โอห์ม ได้ค้นพบความสัมพันธ์ใน
วงจรไฟฟ้า กล่าวคือ "กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวใดๆ แปรผันตรงกับความ
ต่างศักย์ และแปรผกผันกับความต้านทานระหว่างสองจุดนั้นที่กระแส
ไหลผ่าน"
V = IR
วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น
1. วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม (Series) กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านตัวต้านทานแต่ละ
ตัวจะมีค่าเท่ากัน แต่ความต่างศักย์รวมจะเท่ากับผลบวกของความต่างศักย์แต่
ละตัวนามาบวกกัน
I รวม = I 1 = I 2 = I 3

Vรวม = V1 + V2 + V3
2. วงจรไฟฟ้าแบบขนาน (Parallel) ความต่างศักย์ที่ตกคร่อมตัวต้านทานแต่
ละตัวจะมีค่าเท่ากัน แต่กระแสรวมจะเท่ากับผลบวกของกระแสแต่ละตัวนามา
รวมกัน
I รวม = I 1 + I 2 + I 3

Vรวม = V1 = V2 = V3
แบบฝึกหัด
1. ในวงจรไฟฟ้าต่อไปนี้จงเติมตัวเลขในช่องว่างให้ถูกต้อง
2. จากรูปจงหาความต่างศักย์ระหว่างปลายทั้งสองของวงจร
3. จากรูปวงจรด้านล่าง ถ้าความต่างศักย์ระหว่างปลาย A และ B เป็น 24 V
จงหากระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัวต้านทานแต่ละตัว

You might also like