You are on page 1of 53

1

บทที่ 18
ไฟฟ้ากระแสสลับ

ในปั จ จุ บั น เป็ น ที่ เ ข้ า ใจกั น โดยทั่ ว ไปแล้ ว ว่ า ไฟฟ้ า มี ค วามส าคั ญ ไม่ ยิ่ ง หย่ อ นไปกว่ า
สิ่งจาเป็นอย่างอื่นๆ อันเกี่ยวข้องอยู่กับการดารงชีพ การอานวยความสะดวกนานาประการ การผลิต
ต่างๆและอาจจะนับรวมไปถึงการให้กาเนิดสิ่งอานวยความบันเทิงอย่างมากมายในยุคนี้ ไฟฟ้าที่
เข้าใจกันอยู่แล้ว ก็คือ ไฟฟ้าสถิตและไฟฟ้ากระแส เราได้กล่าวถึงไฟฟ้ากระแสตรงไว้แล้ว จึงจะได้
ให้ทาความเข้าใจเกี่ยวกับไฟฟ้ากระแสสลับต่อไปนี้

1. เครื่องกาเนิดกระแสสลับ
เครื่องมือที่ก่อกาเกิดไฟฟ้ากระแสสลับ คือ เครื่องกาเนิดกระแสสลับ (alterating current generator
หรือ alternator) ประกอบด้วยขดลวดหมุนอยู่ในสนามแม่เหล็ก ดังรูป (ก) ปลายทั้งสองของขดลวด
นี้ต่อกับวงแหวนปลายละอัน วงแหวนแต่ละอันมีแปรงแตะและมีสายไฟฟ้าต่อจากแปรงเพื่อนาเอา
ไฟฟ้าไปใช้
ในรูป (ข) แสดงภาพของขดลวดและสนามแม่เหล็กเมื่อมองเข้าไปในแนวตั้งฉาก
ON = เส้นปกติของพื้นที่ของขดลวด (ตรงจุดกลาง)
A = พื้นที่ของขดลวด
 = มุมที่เส้นปกติกระทากับแนวสนามแม่เหล็ก
B = การเหนี่ยวนาแม่เหล็กของสนามแม่เหล็ก
2

รูป (ก) ขดลวดหมุนอยู่ในสนามแม่เหล็ก


(ข) แสดงตาแหน่งของขดลวด ณ ขณะหนึ่ง
(ค) แสดงลักษณะและส่วนประกอบของเครื่องกาเนิดกระแสสลับ

N = จานวนรอบของขดลวด
 = ฟลักซ์แม่เหล็กที่ผ่านพื้นที่ A = BA cos
ถ้า e = แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาในขณะใดๆ
d d
e = N  N (AB cos  )
dt dt

d
= NBA sin 
dt

d
แต่ = อัตราเร็วเชิงมุม = 
dt

ดังนั้น e = NBA  sin 


เมื่อการหมุนเป็นไปด้วยอัตราที่สม่าเสมอ  = จึงได้
t

 = t

และ e = NBA  sin t

จะมีค่ามากที่สุดเมื่อ sin t = 1

ให้ Em = แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาซึ่งมีค่ามากที่สุดนี้ จึงได้


3

Em = NBA 

ดังนั้น สมการจึงเขียนได้เป็น

e = Em sin t
ถ้า f = ความถี่เป็นรอบต่อวินาที ได้  = 2f ดังนั้น จึงได้

e = Em sin 2 ft

สมการนี้เมื่อเขียนเป็นกราฟ จะได้เป็นรูป

รูป แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาซึ่งเปลี่ยนแปลงตามเวลา

แรงเคลื่อนไฟฟ้า e จะมีค่าเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาและมีทิศกลับไปมาอยู่เรื่อยๆ เป็นผลให้


กระแสไฟฟ้าที่เกิดขึ้นมีค่าเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา และมีทิศทางการไหลกลับไปมาสลับกันอยู่
ตลอดไป จึงเรียกว่า ไฟฟ้ากระแสสลับ (alternatimg currnt)
ส่วนประกอบของเครื่องกาเนิดไฟฟ้านั้นมีลักษณะดังแสดงอยู่ในรูป (ค) ประกอบด้วยส่วน
นอกซึ่งอยู่กับที่เรียกว่า ตัวนิ่ง (stator) มีขั้วแม่เหล็กไฟฟ้าติดอยู่กับตัวนิ่งนี้ ขั้ วแม่เหล็กนี้อาจติดไว้
1 คู่ คือ ขั้ว N ขั้วหนึ่งและขั้ว S อีกขั้วหนึ่ง หรือ 2 คู่หรือ 3 สุดแต่การสร้าง ในรูปแสดงไว้ 2 คู่
ขั้วแม่เหล็กเหล่านี้จะเรียงสลับกันไป ส่วนขดลวดนั้นพันอยู่รอบๆตัวหมุน (rotor) ซึ่งหมุนอยู่ตรง
กลาง
4

ไฟฟ้า 1 รอบนั้นเกิดจากการที่ขดลวดเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็กของขั้วแม่เหล็ก N และ S


หนึ่งคู่ ในรูป (ค) เมื่อลวดเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็กของขั้ว N1S1 จะได้ไฟฟ้าออกมา 1 รอบ และ
เมื่อผ่านสนามแม่เหล็กของคู่ N2S2 จะได้ไฟฟ้าออกมาอีก 1 รอบ
ดังนั้น ถ้าเครื่องกาเนิดไฟฟ้ามีขั้วแม่เหล็ก NS เพียงคู่เดียว เมื่อขดลวดหรือตัวหมุนไป 1
รอบ จะได้ไฟฟ้าออกมา 1 รอบ
ถ้าเครื่องกาเนิดไฟฟ้ามีขั้วแม่เหล็กสองคู่ดังแสดงในรูป (ค) เมื่อขดลวดหรือตัวหมุนไปครบ
1 รอบ จะได้ไฟฟ้าออกมา 2 รอบ
ถ้า f = ความถี่ของไฟฟ้าที่ได้ออกมาเป็นรอบต่อวินาทีหรือเฮิร์ทซ์
ps = จานวนรอบของการหมุนของตัวหมุนหือขดลวดในเวลา 1 วินาที
p = จานวนคู่ของขั้วแม่เหล็ก
ย่อมได้ f = p  (rps)
เช่นเครื่องกาเนิดไฟฟ้าเครื่องหนึ่งมีขั้วแม่เหล็ก 5 คู่ มีอัตราเร็วในการหมุน 3,600 รอบต่อวินาที
 3600 
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าจะให้ไฟฟ้าซึ่งมีความถี่เท่ากับ f = 5  = 300 เฮิร์ทซ์
 60 
เครื่ อ งก าเนิ ด ไฟฟ้ า ซึ่ ง จ่ า ยไฟฟ้ า ความถี่ สู ง ใช้ วิธี ส ร้ า งให้ ขั้ ว แม่ เ หล็ ก มี จ านวนคู่ ม ากๆ
ตัวหมุนในอัตราธรรมดา ก็สามารถจ่ายไฟฟ้าซึ่งมีความถี่สูงออกมาได้
ต่ อ ไปนี้ เ มื่ อ กล่ า วถึ ง ไดนาโมกะแสสลั บ จะเขี ย นแทนด้ ว ยสั ญ ลั กษณ์ แ ละเขี ย น
แรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ถูกจ่ายออกมาด้วยสมการ คือ

e = Em sin t

หรือ e = Em sin 2ft

2. วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
ประกอบด้วยเครื่องกาเนิดกระแสสลับและส่วนประกอบอีก 3 อย่างคือ
1. ตัวต้านทาน (resistor)
2. ตัวจุ (capacitor)
3. ตัวเหนี่ยวนา (inductor)

2.1วงจรซึ่งมีตัวจุอย่างเดียว
วงจรรูปประกอบด้วยเครื่องกาเนิดกระแสสลับซึ่งมีแรงเคลื่อนไฟฟ้า e = Em sin
และตัวจุ ซึ่งมีความจุ (capacitance) เป็น C ฟารัด
5

e = Em sin t
รูป ตัวจุในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ
ให้ i เป็นกระแสไฟฟ้าในขณะใดๆ (instantaneous current)
q เป็นประจุไฟฟ้าที่ตัวจุ C ในขณะใด ๆ
VC เป็นความต่างศักย์ของตัวจุ C ในขณะใดๆ
จะได้ VC = e = Em sin t
q
= Em sin t
C
q = CEm sin t

ดังนั้น dq
= C  Em cos t
dt
dq
แต่ = i
dt
จึงได้ i = C  Em cos t
Em
เขียนใหม่เป็น i = cost
 1 
 
 C 
1
ปริมาณ ( ) นี้มีชื่อเรียกว่า ความต้านแห่งการจุ (capacitive reactance) นิยมเขียนแทนด้วย
C
XC และมีหน่วยเป็นโอห์ม (ohm) กล่าวคือ
1
XC = เรียกว่า ความต้านแห่งการจุ
C
ดังนั้น สมการสุดท้ายจึงกลายเป็น
Em
i = cost
Xc
Em
ปริมาณ คือ กระแสไฟฟ้าซึ่งมีความสูงสุดของวงจรเขียนแทนด้วย Im
Xc
Em
ดังนั้น i = Im cos t โดยที่ Im =
Xc
6

เพื่อที่จะเปรียบเทียบกับ VC ซึ่งมีค่าเท่ากับ e = Em sin t จึงเขียนสมการสุดท้ายเสียใหม่


 
เป็น i = Im sin  t   นาความต่างศักย์ Vc และกระแสไฟฟ้าในขณะใด i มา
 2
เปรียบเทียบกันคือ
VC = Em sin t

 
I = Im sin  t  
 2
 
จะเห็นได้ว่า Vc กับ i มีลักษณะของกราฟเป็นแบบเดียวกันผิดกันที่มุม t กับ  t  
 2

เท่านั้น กล่าวคือ กระแสไฟฟ้า i นาหน้า (lead) ความต่างศักย์ Vc เป็นมุม เรเดียน หรือ
2

ความต่างศักย์ VC ตามหลัง (lag) กระแส i เป็นมุม เรเดียน
2

มุม นี้มีชื่อเรียกกันว่า มุมเฟส (phase angle) เขียนแทนด้วย 
2
สรุปได้ว่า มุมเฟส คือ มุมที่กระแสไฟฟ้ากับความต่างศักย์นาหน้าหรือตามหลังซึ่งกัน
และกัน
 
นาสมการ Vc = Em sin t กับ i = Im sin  t   มาเขียนเป็น
 2
กราฟซ้อนกันโดยใช้แกนนอนเป็น t ร่วมกัน จะได้เป็นรูป

รูป แสดงกระแสไฟฟ้านาหน้าความต่างศักย์เป็นมุม

2.2 วงจรซึ่งมีตัวเหนี่ยวนาอย่างเดียว
7

วงจรรูป ประกอบด้วยไดนาโมกระแสสลับซึ่งมีแรงเคลื่อนไฟฟ้าเป็น e = Em sin t


และตัวเหนี่ยวนาซึ่งมีความเหนี่ยวนา (inductance) เป็น L เฮนรี
ให้ i = กระแสไฟฟ้าในขณะใดๆ
VL = ความต่างศักย์ระหว่างปลายทางของตัวเหนี่ยวนาในขณะใดๆ
di
= L
dt
ในวงจรจะได้ VL+e = 0

รูป ตัวเหนี่ยวนาในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

แทนค่า VL และ e ได้


di
L = Em sin t
dt

Em
di = sin tdt
L

Em
 di =  L
sin tdt

i = Em
 cost   C
L 

สาหรับไฟฟ้ากระแสสลับซึ่งมีลักษณะสมมาตร (symmetry) กันทั้งด้านบวกและด้านลบ จะได้


ค่าคงที่ C = 0
8

ดังนั้น i = Em
 cost 
L 

Em 
= sin(t  )
L 2
ปริมาณ L นี้มีชื่อเรียกกันว่า ความต้านแห่งการเหนี่ยวนา (inductive
reactance) นิยมเขียนแทนด้วย XL และมีหน่วยเป็นโอห์ม กล่าวคือ

XL = L เรียกว่า ความต้านแห่งการเหนี่ยวนา
ดังนั้น สมการสุดท้ายจึงกลายเป็น

Em 
i = sin(t  )
L 2

ปริมาณ คือ กระแสไฟฟ้าซึ่งมีค่าสูงสุดของวงจร Im นั่นเอง ดังนั้น จึงได้

 
i = Im sin  t  
 2

นาความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวเหนี่ยวนา คือ VL กับกระแสไฟฟ้า i ที่ไหลผ่านตัว


เหนี่ยวนาในขณะเดียวกันนั้นมาเทียบกันคือ

VL = Em sin t
 
i = Im sin  t  
 2

 
จะเห็นได้ว่า VL กับ i มีลักษณะของกราฟเป็นแบบเดียวกัน ผิดกันที่มุม t กับ  t  
 2

เท่านั้น กล่าวคือ กระแสไฟฟ้า i ตามหลังความต่างศักย์ VL เป็นมุม เรเดียน หรือความต่าง
2

ศักย์ VL นาหน้ากระแสไฟฟ้า i เป็นมุม เรเดียน
2

จานวนมุม นี้ คือ มุมเฟส  ดังที่ได้กล่าวมาแล้ว นั่นเอง กราฟของ VL กับ i มี
2
ลักษณะดังรูป
9

รูป ความต่างศักย์นาหน้ากระแสไฟฟ้าเป็นมุม
2.3วงจรซึ่งมีตัวต้านทานอย่างเดียว
วงจรรูป ประกอบด้วยไนดาโนกระแสสลับซึ่งมีแรงเคลื่อนไฟฟ้าเป็น e = Em sin t
และตัวต้านทานซึ่งมีความต้านทาน
ให้ i เป็นกระแสไฟฟ้าในขณะใดๆ
VL เป็นความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทานในขณะใดๆ

รูป ตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ

VR = iR

VR = e = Em sin t

iR = Em sin t

Em
ได้ i = sin t
R
10

Em
จานวน คือ กระแสไฟฟ้าซึ่งมีค่าสูงสุดของวงจร Im คือ
R

Em
= Im
R

ดังนั้น i = Im sin t
นาความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทาน คือ VR กับกระแสไฟฟ้า i ที่ไหลผ่านตัว
ต้านทานในขณะเดียวกันนั้นมาเทียบกัน คือ

VR = Em sin t
i = Im sin t
จะเห็นได้ว่า VR กับ i มีลักษณะของกราฟเป็นแบบเดียวกันทุกประการ และมุมเฟส   0
หมายความว่ากระแสไฟฟ้า i กับความต่างศักย์ VR ไปพร้อมๆกัน ดังรูป

รูป กระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ซึ่งมีเฟสเหมือนกัน


สรุปได้ว่า i นาหน้า VC เป็นมุม
2

i ตามหลัง VL เป็นมุม
2
i ไปพร้อมกับ VR

เมื่อนาค่าเหล่านี้มาเขียนแผนภาพแสดงเฟส (phasor diagram) จะมีลักษณะดังรูป


11

รูปเวกเตอร์แสดงความต่างเฟสระหว่างกระแสไฟฟ้ากับความต่างศักย์
3 .สมการทั่วไปของแรงเคลื่อนไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้า
ต่อไปนี้เราจะเขียนสมการของแรงเคลื่อนไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเป็นรูปดังนี้
แรงเคลื่อนไฟฟ้า e = Em sin t
i = Im sin t    เมื่อ i นาหน้า e เป็นมุม 
i = Im sin t    เมื่อ i นาหลัง e เป็นมุม 
i = Im sin t เมื่อ i กับ e ไปพร้อมกัน

4. ค่ายังผลของกระแส
ไฟฟ้ า กระแสสลั บ นั้ น เป็ น ไฟฟ้ า ซึ่ ง มี ค่ า เปลี่ ย นแปลงอยู่ ต ลอดเวลา ไม่ ว่ า จะเป็ น
แรงเคลื่อนไฟฟ้าหรือกระแสไฟฟ้า จะเปลี่ยนค่าอยู่เรื่อยๆ จากค่าศูนย์ถึงค่าสูงสุด คือ Em หรือ
Im เมื่อให้ไฟฟ้ากระแสสลับทางาน เช่น ให้เปลี่ยนรูปเป็นความร้อนหรือแสงสว่างหรือเปลี่ยนรูป
เป็นพลังงานกล ค่าของไฟฟ้ากระแสสลับที่จะทางานดังกล่าวนี้ อาจคิดค่าโดยเฉลี่ยแทนค่าซึ่ง
เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลานั้นได้ ค่าโดยเฉลี่ยของไฟฟ้ากระแสสลับดังกล่าวนี้มีชื่อเรียกโดยเฉพาะ
ว่า ค่ายังผล (effective value) ซึ่งมีคานิยามโดยกาหนดจากกระแสไฟฟ้า ดังนี้
ค่ายังผลของกระแสไฟฟ้าสลับใดๆ กาหนดให้เป็นค่าของกระแสไฟฟ้าขนาดสมาเสมอ ซึ่ง
จะทาให้เกิดความร้อนจานวนเดียวกันในเวลาเท่ากัน เมื่อปล่อยให้ผ่านความต้านทานอันเดียวกัน
กระแสไฟฟ้าสลับมีสมการเป็น i = Im sin t
ให้ I เป็นค่ายังผลของกระแสไฟฟ้าสลับนี้
ตามคาจากัดความที่กล่าวแล้ว เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าสลับ i = Im sin t ผ่านความ
ต้านทาน R อันหนึ่งในเวลาอันหนึ่ง ต่อจากนั้นก็ปล่อยกระแสไฟฟ้าอันมีค่ายังผล I ผ่านความ
12

ต้านทาน R ตัวเดียวกัน โดยใช้เวลาเท่ากันทั้งสองครั้ง ย่อมเกิดความร้อนจานวนเดียวกัน สมมติ


ให้ H เป็นปริมาณความร้อนดังกล่าวนี้
คิดตอนปล่อยกระแสไฟฟ้าสลับ i ผ่านความต้านทาน R เป็นเวลานานเท่ากับ 1 รอบ
คือ T วินาที ในช่วงเวลาสั้นๆ dt พลังงานความร้อนที่เกิดขึ้น
dH = i2 Rdt = (Im sin t )2 R dt
ในเวลา 1 คาบ
T T

 dH = I m
2
R sin 2 tdt
0 0

2
Im R T
H =  sin tdt
2

 0

 sin 2
จาก  sin
2
d =  จึงได้
2 4

I m R  t sin 2t  T
2

H = 
  2 4  0

I m R  t
,  t  2 .T  2 
2

=   0  0  0
 2   T 

2
I m RT
H =
2

คิดตอนปล่อยกระแสไฟฟ้ามีค่ายังผล I ผ่าน R ตัวเดียวกันในเวลา T อันเดียวกันและ


เกิดความร้อน H จานวนเดียวกัน
H = I2 RT
จากคาจากัดความของค่ายังผลของกระแสไฟฟ้าสลับ ปริมาณความร้อนทั้งสองนี้เท่ากัน
2
I m RT
I2 RT =
2
2
Im
ได้ I2 =
2
Im
ดังนั้นค่ายังผล I = = 0.707 Im
2
13

ในทานองเดียว แรงเคลื่อนไฟฟ้า e = Em sin t โดย Em เป็นค่าสูงสุด จะมีค่ายังผล


เป็นรูปเดียวกัน คือ

ถ้า E เป็นค่ายังผลของแรงเคลื่อนไฟฟ้านั้น
Em
E = = 0.707 Em
2

บางครั้งเรียกค่ายังผลว่า ค่ารากที่สองของกาลังสองเฉลี่ย (root mean square, rms)

ตัวอย่าง ไฟฟ้ากระแสสลับอันหนึ่งมีสมการของกระแสไฟฟ้าเป็น
 
I = 10 sin  400t   ในหน่วยแอมแปร์
 4
ให้หา ก. ค่ายังผลของกระแสไฟฟ้า I
ข. ความถี่ของไฟฟ้ากระแสสลับนี้
ค. มุมเฟส
วิธีทา โดยเทียบกับสมการทั่วไปของกระแสไฟฟ้า I = Im sin t   
ค่าของกระแสสูงสุด Im = 10 แอมแปร์
 = 400 เรเดียนต่อวินาที

มุมเฟส  = เรเดียน
4

จึงได้ ก. ค่ายังผลของกระแสไฟฟ้า I = 0.707Im =0.707 x 10


= 0.707 แอมแปร์
ข. จาก  = 2 f ได้

 400
ความถี่ f = = = 63.7 เฮิร์ทซ์
2 2


ค. มุมเฟส  = เรเดียน โดยกระแสตามความต่างศักย์
4
14

ค่าของความต่างศักย์และกระแสไฟฟ้าของไฟฟ้ากระแสสลับนั้น ในทางปฏิบัติใช้ค่ายังผล
และเครื่องวัดไฟฟ้ากระแสสลับ ไม่ว่าจะเป็นโวลต์มิเตอร์หรือแอมมิเตอร์ ก็จะชี้บอกค่าดังกล่าว
ของความต่างศักย์หรือกระแสไฟฟ้า เช่น ที่พูดกันว่า ไฟบ้านมีความต่างศักย์ 220 โวลต์ เลข
220 โวลต์นี้เป็นค่ายังผลของความต่างศักย์ ซึ่งมีความหมายว่า ความต่างศักย์สูงสุดมีค่าเท่ากับ
2  220  311.08 โวลต์ ดังนั้นต่อไปนี้เมื่อกล่าวถึงกระแสไฟฟ้า แรงเคลื่อนไฟฟ้า หรือความ
ต่างศักย์ เราจะหมายถึงค่ายังผลเสมอไป

5. ความต่างศักย์
ในเรื่องไฟฟ้ากระแสสลับ ความต่างศักย์ระหว่างสองจุดใดๆ มีวิธีคิดคล้ายกับกระแสตรง
คือ ยังคงใช้กฎของโอห์ม คือ
ความต่างศักย์ = กระแส  ความต้านทาน
มีรายละเอียดดังนี้

1. ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทาน

รูป (ก) ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทาน


(ข) เวกเตอร์แสดงเฟสของความต่างศักย์และกระแสไฟฟ้า

ในรูป รูปบนแสดงภาพของตัวต้านทานซึ่งมีความต้านทาน R โอห์ม กาลังมีกระแสไฟฟ้า


สลับ I แอมแปร์ไหลผ่าน ทาให้ปลายทั้งสองของมันมีความต่างศักย์ VR เกิดขึ้นโดยที่
VR = IR
ความต่างศักย์ VR กับกระแสไฟฟ้า I มีมุมเฟส   0 จึงเขียนรูปเวกเตอร์ของ VR กับเวกเตอร์
ของ I ซ้อนกัน ดังรูปบน
15

2. ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวเหนี่ยวนา

รูป (ก) ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวเหนี่ยวนา


(ข) เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของความต่างศักย์และกระแสไฟฟ้า
รูปบนแสดงตัวเหนี่ยวนาเป็น L เฮนรี กาลังมีกระแสไฟฟ้าสลับ I แอมแปร์ไหลผ่าน ทา
ให้เกิดมีความต่างศักย์ VL ขึ้นระหว่างปลายทั้งสองของมัน (ลวดไม่มีความต้านทาน)
ได้กล่าวมาแล้วว่า ความต้านแห่งการเหนี่ยวนา XL = L

ในกรณีนี้ VL = IXL


โดยที่ VL นาหน้ากระแสไฟฟ้า I เป็นมุม  เรเดียนที่ได้กล่าวมาแล้ว จึงเขียนเวกเตอร์ของ
2

VL ตั้งฉากกับเวกเตอร์ของ I ดังรูปข้างล่าง ซึ่งมีความหมายว่า VL นา I เป็นมุม เรเดียน
2

3. ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวจุ
ตัวจุซึ่งมีความจุเป็น C ฟารัด มีไฟฟ้ากระแสสลับ I แอมแปร์ผ่าน ทาให้เกิดมีความต่าง
1
ศักย์ VC ขึ้นระหว่างปลายทั้งสองดังรูป ความต้านทานแห่งการจุ XC =
C
ในกรณีนี้ VC = IXC
16

รูป (ก) ความต่างศักย์ระหว่างตัวจุ


(ข) เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของความต่างศักย์และกระแสไฟฟ้า


โดยที่ VC ตามหลัง I เป็นมุม เรเดียน ตามที่ได้กล่าวมาแล้วในตอนต้น ดังนั้น จึงเขียน
2

รูปเวกเตอร์ VC ตามหลังเวกเตอร์ I เป็นมุม เรเดียน
2

6. วงจรไฟฟ้ากระแสสลับซึ่งมี R L และ C
ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับมี R L และ C ต่อกันอยู่ โดยอาจเป็นการต่อแบบอนุกรม
ขนานหรือผสมก็ได้ การคานวณก็ยังคงใช้หลักที่กล่าวมาแล้วนั่นเอง โดยพิจารณาเป็นขั้นๆไป

1. การต่อ R L C แบบอนุกรม
ตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนา และตัวจุต่ออนุกรมกัน มีหลักสาคัญคือ
1. R L และ C มีกระแส I ตัวเดียวกัน
2.ความต่างศักย์รวม V มีค่าเท่ากับเวกเตอร์ลัพธ์ของเวกเตอร์ VR VL และ VC
เช่นเดียวกับที่แล้วมา
1
XL = L และ XC =
C
VR = IR (เท่ากับ I)

VL = IXL (นาหน้า I เป็มุม )
2

VC = IXC (นาหลัง I เป็มุม )
2
ผลรวมของ R XL และ XC มีชื่อเรียกว่า ความชัด (impedance) และเขียนด้วยอักษร Z
17

รูป (ก) R L และ C ต่อกันแบบอนุกรม


(ข) เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของกระแสความต่างศักย์
(ค) เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของ R XC XL และกระแส

V = IZ
18

V = (V R ) 2  (V L  VC ) 2 เมื่อ VL  VC

IZ = ( IR ) 2  ( IX L  IX C ) 2

ในสมการสุดท้ายนั้นตัดกระแสไฟฟ้า I ออกได้หมด เหลือ

Z = ( R) 2  ( X L  X C ) 2

สมการสุดท้ายนี้ ทาให้สามารถเขียนแผนภาพแสดงเฟสได้ดังรูป (ค) ค่าของมุมเฟส  อาจหาได้


จากรูปคือ
V L  VC
(ข) tan  =
VR

XL  XC
(ค) tan  =
R
ได้ค่าของ tan  เท่ากัน
V L  VC IX L  IX C XL  XC
อาจพิสูจน์ได้ว่า tan  = = =
VR IR R

ตัวอย่าง วงจรไฟฟ้ากระแสสลับวงหนึ่งประกอบด้วย ตัวต้านทาน 600 โอห์ม ตัว


เหนี่ยวนาขนาด 0.2 เฮนรี และตัวจุขนาด 1 ไมโครฟารัด ต่อกันอย่างอนุกรมเรียงกันไป
ตามลาดับ กาหนดให้   1,000 เรเดียนต่อวินาที และมีกระแสไฟฟ้า 0.1 แอมแปร์ ให้หา
ก. ความต้านแห่งการเหนี่ยวและความต้านแห่งการจุ
ข. ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนา และตัวจุแต่ละอัน
ค. ความต่างศักย์รวมทั้งหมด

วิธีทา
ก. ความตานแห่งการเหนี่ยวนา X L  L  1,000  0.2  200 โอห์ม ความต้านแห่งการจุ
1 1
XC    1,000 โอห์ม

C 1,000 1  106 
ข. R L และ C ต่ออนุกรมกันดังรูปมีหลักสาคัญว่า การต่ออนุกรมกันจะต้องมี
กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเป็นอันเดียวกัน คือ 0.1 แอมแปร์ที่กาหนดให้มา
19

R  600 X L  200 X C  1,000

รูป วงจรไฟฟ้าที่ประกอบด้วย R L และ C

ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทาน VR = IR 0.1  600


= 60 โวลต์
ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวเหนี่ยวนา VL = IXL = 0.1  200
= 20 โวลต์
ความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวจุ VC = IXC = 0.1  1000
= 100 โวลต์

ค. ได้กล่าวมาแล้วว่า VR ทับกับ I VL นาหน้า I เป็นมุม และ VC ตามหลัง I เป็นมุม
2

2

ดังนั้นเวกเตอร์ VR VL VC และกระแสไฟฟ้า I จึงมีลักษณะดังรูป(ก)

รูป (ก) เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของ VR VL VC


20

(ข) เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของ V และ I

เมื่อรวมเวกเตอร์ VR VL VC เข้าด้วยกัน จะได้เป็นเวกเตอร์รวม V ดังรูป(ข)

V = VR 2  VC  VL 2 = 602  802 = 100 โวลต์

มุมเฟส  หาได้จากรูป(ข)
VC  V L 80 4
tan  =  
VR 60 3

4
 = tan 1   หรือ 53.13 องศา นา V
3

4
โดยกระแสไฟฟ้า I นาหน้าความต่างศักย์รวม V เป็น  = tan 1   จึงอาจเขียนสมการของ
3
ความต่างศักย์ และกระแสไฟฟ้าได้ดังนี้

ความต่างศักย์ V = Vm sin 1,000 t

 4
กระแสไฟฟ้า i = I m sin1,000t  tan 1   
 3

โดยที่ Vm  2V = 1.414  100 = 141.4 โวลต์


และ I m  2I = 1.414  0.1 = 0.141 แอมแปร์

เพื่อความเข้าใจที่ดียิ่งขึ้น จะหาค่าความต่างศักย์รวมระหว่างจุด AB
ระหว่างจุด A และจุด B ความต่างศักย์มีเพียง VL และ VC เท่านั้น ส่วน VR ไม่
21

รูป เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของความต่างศักย์กับกระแสไฟฟ้า

ดังนั้น การหาค่า VAB จึงคิดจาก VL และ VC เท่านั้น รูปเวกเตอร์แสดงเฟส



VAB = VC-VL = 100-20 = 80 โวลต์ และตามหลัง I เป็นมุม  เรเดียน
2

ตัวอย่าง ตัวต้านทานขนาด 40 โอห์ม ขดลวดเหนี่ยวนาขนาด 0.04 เฮนรี และตัวจุขนาด


40 ไมโครฟารัด ต่อกันอย่างอนุกรม และต่อกับไฟฟ้ากระแสสลับ ซึ่งมีความต่างศักย์ 220 โวลต์
และความถี่เชิงมุม 500 เรเดียนต่อวินาที ให้หากระแสไฟฟ้า มุมเฟสระหว่างกระแสไฟฟ้ากับ
ความต่างศักย์ทั้งหมด และความต่างศักย์ระหว่างปลายของแต่ละอัน
วิธีทา R = 40 โอห์ม
XL = L = 500  0.04 = 20 โอห์ม

1 1
XC =   50 โอห์ม
C 500  40  106  

Z = R    X
2
C  XL
2
= 402  302

= 50 โอห์ม
22

รูป เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของความขัดและกระแสไฟฟ้า

V 220
กระแสไฟฟ้า I =   4.4 แอมแปร์
Z 50

X C  X L 30 3
tan  =  ,   tan 1  , I นา V
R 40 4
VR = IR = 4.4  40 = 176 โวลต์
VL = IXL = 4.4  20 = 88 โวลต์
VC = IXC = 4.4  50 = 220 โวลต์
หมายเหตุ ตรวจสอบคาตอบได้จาก
V = VR 2  VC  VL 2 = 1762  200  882 = 1762  1322
= 220 โวลต์

2. การต่อ R L C แบบขนาน
ตัวต้านทาน R โอห์ม ตัวเหนี่ยวนา L เฮนรี และตัวจุ C ฟารัด ต่อขนานกัน และต่อกับ
ไฟฟ้ากระแสสลับ
V = ความต่างศักย์
ตัวเหนี่ยวนามีความต้านแห่งการเหนี่ยวนา XL
ตัวจุมีความต้านแห่งการจุ XC
23

รูป (ก) R L C ต่อกันแบบขนาน


(ข) เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์
24

(ค) เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของกระแสไฟฟ้าและส่วนกลับของ R XL XC

R L และ C แต่ละตัวมีความต่างศักย์ V อันเดียวกัน


V
กระแสที่ผ่าน R IR = (ทับกับ V)
R

V
กระแสที่ผ่าน L IL = (ตาม V 90 องศา)
XL

V
กระแสที่ผ่าน C IC = (นา V 90 องศา )
XC

ให้ Z = ความขัดของ R XL และ XC

V
กระแสรวม I =
Z
จากรูป (ข) ได้
I = (I R )2  (IC  IC )2

สมมติว่า LC มากว่า IL

IC  I L
tan  =
IR

2
 V   V V 
2
V
แทนค่า =     
Z  R   X C X L 

2
 1   1 1 
2
1
เอา V ตัวร่วมออกได้ =     
Z  R   X C X L 

3.การต่อ R L C แบบผสม
คานวณโดยอาศัยหลักการต่อแบบอนุกรมและแบบขนานผสมกัน ดังวงจรไฟฟ้า
ตัวอย่าง ตัวต้านทานขนาด 3 โอห์ม ตัวเหนี่ยวนาและตัวจุต่อกับไฟฟ้ากระแสสลับ ทาให้
XL = 6 โอห์ม และ XC = 2 โอห์ม จงหาค่าของความขัดระหว่างจุด AB
25

รูป วงจรไฟฟ้าต่อกันแบบผสม

วิธีทา
ให้ I1 = กระแสในสายที่มี R
I2 = กระแสในสายที่มี L และ C
I = กระแสรวม
V = ความต่างศักย์ระหว่างจุด
V V
คิดสายที่มี R I1 = = (ทับกับ V)
R 3
คิดสายที่มี L และ C
V = VL-VC = 6I2-2I2 = 4I2

V 
I2 = (ตามหลัง V เป็นมุม )
4 2
26

รูป เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์

คิดรวมหมดทั้งสองสายมี V เป็นแกนร่วมของ I1 และ I2

รูป เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของกระแสรวมและความต่างศักย์
I = ( I1 ) 2  ( I 2 ) 2

V
I =
Z
27

2 2
V V  V  1 1 5
=     = V  = V
Z 3 4 9 16 12

12
ดังนั้น ความขัด Z = = 2.4 โอห์ม
5

7. อภินาทในวงจรไฟฟ้า
โดยทั่วไปแล้ว อภินาท (resonance) บอกถึงปรากฎการณ์ที่มีการเสริมกันหรือแม้แต่
ขัดกัน ที่มีผลมากที่สุดสาหรับภาวะหนึ่งๆ เมื่อเทียบกับภาวะข้างเคียง ดังรายละเอียดบางส่วนได้
กล่าวมาแล้ว และที่จะกล่าวต่อไปอีกในส่วนที่เป็นฟิสิกส์ยุดใหม่ สาหรับในวงจรไฟฟ้าในส่วนนี้
จะแบ่งการพิจารณาเป็นอย่างๆไป

1. อภินาทในวงจร R L C ที่ต่ออนุกรม
เมื่อ R L C ต่ออนุกรมกัน และต่อกับไฟฟ้ากระแสสลับ เวกเตอร์ของ R XL

รูป เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของ R XL XC และ I

XC ดังแสดงในรูป ความขัด Z ของสิ่งทั้งสามนี้ คือ เวกเตอร์รวมของเวกเตอร์ R XL และ XC


ซึ่งมีค่า ดังนี้

Z = ( R) 2  ( X L  X C ) 2
28

โดยที่ XL = L  2fL

1 1
XC = 
C 2fC

ในกรณีที่ R L และ C ต่ออนุกรมกัน และต่อกับไฟฟ้ากระแสสลับ ซึ่งมีความต่างศักย์


V คงที่ แต่ความถี่เปลี่ยนค่าได้ การเปลี่ยนความถี่ย่อมทาให้ค่าของ XL และ XC เปลี่ยนไปตาม
ส่วนค่า R ไม่แปรตามความถี่ ดังนั้น ค่าของ Z ก็จะเปลี่ยนตามไปด้วย กระแสไฟฟ้า I ที่ไหล
ผ่าน R L C ก็จะเปลี่ยนเช่นกัน เพราะการเปลี่ยนค่าของ Z และ I ตามความถี่ f เมื่อ f มีค่าต่า
Z มีค่ามากกว่า I มีค่าน้อย เมื่อ f มีค่ามากขึ้น และ Z มีค่าน้อยลง I มีค่ามากขึ้นที่ความถี่
อันหนึ่งคือ Fr ใน Z มีค่าน้อยที่สุด ตอนนักระแส I มีค่ามากที่สุด เมื่อ f มีค่ามากกว่า fr Z
กลับมีค่ามากขึ้น และ I กลับลดลงดังรูป(ข) ที่มีความถี่ fr ซึ่ง Z มีค่าน้อยที่สุดนี้เรียกว่า เกิดอภิ
นาท ขึ้นในวงจรไฟฟ้านั้น และ fr เรียกว่า ความถี่อภินาท พิจารณาจาก Z =
R 2  ( X L  X C ) 2 จะเห็นว่า ขณะที่เกิดอภินาทนั้น Z จะมีค่าน้อยที่สุด

รูป (ก) กราฟแสดงการเปลี่ยนค่าของความขัดกับความถี่


(ข) กราฟแสดงการเปลีย่ นค่าของกระแสกับความถี่
XL = XC
หรือ Z = R
1
เขียนได้ว่า r L =
r C
29

1
r =
LC

1 1
หรือ fr =
2 LC
โดย L เป็นเฮนรี
C เป็นฟารัด
r เป็นเรเดียนต่อวินาที
fr เป็นเฮิร์ทซ์

2. อภินาทในวงจร L C ที่ต่อขนาน
ตัวเหนี่ยวนากับตัวจุซึ่งต่อขนานกันอยู่ และต่อไฟฟ้ากระแสสลับซึ่งมีความต่างศักย์เป็น V
ดังแสดงในรูป อาจเกิดอภินาทขึ้นได้ ภาวะของการเกิดอภินาทแบบนี้คือ กระแสไฟฟ้า IL กับ LC
มีค่าเท่ากันคือ
IL = IC ดังนั้น I = 0
V V
หรือ =
XL XC

รูป (ก) L C ต่อกันอย่างขนาน


(ข)เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์
ได้ XL = XC

1
 rL =
r C
30

1
ดังนั้น r = 2f r =
LC

สมการที่จะได้เหมือนกันแบบต่ออนุกรมที่ได้กล่าวมาแล้ว ขณะที่เกิดอภินาทแบบขนานนี้
กระแสไฟฟ้ารวม I = IC - IL = 0 ซึ่งตรงกันข้ามกับแบบอนุกรมเพราะได้กระแสน้อยที่สุด

8. กาลังของไฟฟ้ากระแสสลับ
กาลังของไฟฟ้าของกระแสสลับในขณะใดๆมีค่าเท่ากับผลคูณระหว่างความต่างศักย์กับ
กระแสไฟฟ้าในขณะนั้นๆ
ถ้า v = ความต่างศักย์ในขณะใด = Vm sin 
i = กระแสไฟฟ้าในขณะนั้น = Im sin 
p = กาลังในขณะใด (instantaneous power)
จึงได้ p = vi

= [ Vm sin ] [Im sin (  +  ) ]

Vm I m [cos  - cos ( 2 +  ) ]
1
=
2

[ เพราะ 2 sin A sin B = cos (B-A) – cos (B + A)]

1 Vm Im
เนื่องจาก Vm I m = . = VI
2 2 2

ดังนั้น
P = VI [ cos  - cos ( 2 +  )]
31

รูป แสดงกราฟของ v i และ p โดย p = vi จะเห็นได้ว่า กาลังจะมีค่าไม่คงที่เปลี่ยนแปลงอยู่


ตลอดเวลา ตามเวลา t

กาลังที่ใช้ไปจริงๆในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับนั้นจะเป็นกาลังเฉลี่ย (average power) ซึ่งหา


ได้โดยหาค่าเฉลี่ยดังนี้
ถ้า p = กาลังเฉลี่ย

1 2
P =  pd เมื่อคิดเฉลี่ยจาก 1 รอบ
2 0

แทนค่ากาลัง p จากที่ทามาแล้วจะได้

1
เนื่องจาก  cos( 2  )d =
2 
cos( 2   )d ( 2   )

= 1
sin ( 2 +  )
2

cos  0  sin2    0 
VI  1
จะได้ p = 2 2

2  2

= VI
(2  cos  )
2
32

= VI cos 

ดังนั้น p = VI cos 
กาลังเฉลี่ย P นี้มีชื่อเรียกกันเป็นอีกอย่างหนึ่งว่า กาลังกัมมันต์ (active power) และ
ต่อไปนี้เมื่อพูดถึงกาลังในไฟฟ้ากระแสสลับ เราจะหมายถึงกาลังเฉลี่ย P นี้เสมอ ในสูตรนี้
V = ค่ายังผลของแรงเคลื่อนไฟฟ้าหรือความต่างศักย์
I = ค่ายังผลของกระแสไฟฟ้า
 = มุมเฟส
สาหรับ VI จะเรียกว่า กาลังปรากฏ ( apparent power ) และค่าของ cos  มีชื่อเรียกว่า ตัว
ประกอบกาลัง(power factor) เพราะเป็นตัวคูณ VI ซึ่งจะทาให้กาลัง P มีค่ามากก็ได้ น้อยก็ได้ ตัว

ประกอบกาลังนี้มีค่าจาก 0 ถึง 1 (cos 90 = 0 และ cos 0  = 1) ดังนั้น สาหรับ VI ค่าหนึ่งๆถ้า  =
 
90 (ในกรณีที่วงจรเป็นชนิดเหนี่ยวนาล้วน หรือชนิดจุล้วน) กาลัง P จะเท่ากับศูนย์ ถ้า  = 0
กาลังไฟฟ้าที่ใช้จะมีค่ามากที่สุด (เท่ากับ VI)

สาหรับตัวจุมี  = 90 ดังนั้นกาลังไฟฟ้าที่ใช้

=
P = VI cos 90 0

ตัวเหนี่ยวนาซึ่งไม่มีความต้านทานเลย  = 90 กาลังไฟฟ้าที่ใช้

P = VI cos 90 = 0

สาหรับตัวต้านทาน(R) มี  = 0 จะใช้กาลังไฟฟ้า
P = VI cos 0 = VI
จึงสรุปได้ว่า ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับซึ่งมี R L และ C ต่อกันอยู่ ไม่ว่าจะต่อกันใน
แบบใดกาลังไฟฟ้าจะใช้ที่ R เท่านั้น ดังนั้น เมื่อจะคิดกาลัง ก็คิดเฉพาะที่ R เท่านั้นเอง คือ
P = VI cos  = VI cos 0 = VI
= (IR) I = I2 R
หรือ = V  V  = V2
R R
ดูตัวอย่างต่อไปนี้
ตัวอย่าง วงจรไฟฟ้ากระแสสลับประกอบด้วย R L และ C ต่ออนุกรมกันอยู่ระหว่างสอง
จุดซึ่งมีความต่างศักย์ 120 โวลต์ วงจรนี้มีความต้านทาน 75 โอห์ม และความชัด 150 โอห์ม ให้หา
กาลังไฟฟ้าที่ใช้ในวงจรนี้
วิธีทา
วิธีท1ี่ ทาแบบคิดรวม เนื่องจากเป็นวงจรต่ออนุกรม จึงมีเวกเตอร์ของ R และ Z ดังรูป
33

รูป เวกเตอร์แสดงความต่างเฟส

V 120 4
I = = = = 0.8 แอมแปร์
Z 150 5
กาลังที่ใช้ P = VI cos 
75
= 1200.8
150
= 48 วัตต์

วิธีท2ี่ คิดเฉพาะที่ R เท่านั้น เพราะกาลังไฟฟ้าถูกใช้ที่ R เพียงอย่างเดียว


กาลังไฟฟ้าที่ใช้ P = I2 R = (0.8) 2 75 = 48 วัตต์ ตอบ
ตัวอย่างนี้แสดงให้เห็นว่า การคิดกาลังจากความต้านทานอย่างที่ทาให้วิธีที่ 2 สะดวกกว่า
คิดรวมอย่างที่ทาในวิธีที่ 1 แม้ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับที่มี R L และ C ต่อกันในแบบผสม
การคิดหากาลังไฟฟ้าก็อาจทาได้โดยแยกคิดเฉพาะที่ R ส่วนที่ L และ C นั้นไม่ใช้กาลัง ถ้ามี R
หลายตัว ก็คิดหากาลังจาก R แต่ละตัวโดยเฉพาะแล้วนามารวมกันเป็นกาลังไฟฟ้ารวมที่ใช้
ทั้งหมด ดูตัวอย่างต่อไปนี้

ตัวอย่าง ตัวต้านทาน R 1 = 3 โอห์ม R 2 = 6 โอห์ม ตัวจุและตัวเหนี่ยวนาต่อกันในแบบ


ผสมดังแสดงในรูป 19.35 ปลาย AB ต่อกับไฟฟ้ากระแสสลับซึ่งมีความต่างศักย์ 100 โวลต์ ทาให้
ตัวจุมี X c = 4 โอห์ม และตัวเหนี่ยวนามี X L = 8 โอห์ม ให้หาค่าของกาลังไฟฟ้าที่ใช้ทั้งหมด
34

รูป วงจรไฟฟ้าซึ่งประกอบด้วย R L และ C

วิธีทา โจทย์นี้ได้ทามาแล้วในตัวอย่างของการต่อ R L และ C แบบผสม ผิดกันแต่ที่ในตอนนั้น


ให้หาค่าของกระแสไฟฟ้าและมุมเฟสเท่านั้น แต่ในตอนนี้จะหากาลังไฟฟ้า
วิธีที่1 ทาโดยคิดรวมทั้งหมดโดยพิจารณาจากกาลังที่ใช้ทั้งหมด P = VI cos  ใช้ค่าของ
กระแสไฟฟ้ารวม I และ  ที่ทาไว้แล้วในตอนต้นนั้นซึ่งได้
กระแสรวม I = 19.7 แอมแปร์

cos  = 18
= 18
(จากรูป 19.26)
1 19.7

กาลังที่ใช้ทั้งหมด P = VI cos  = 10019.7 18


= 1,800 วัตต์
19.7
วิธีนี้ถ้าทาจากเริ่มต้นทุกอย่างโดยไม่ยกตัวเลขมาอ้างแบบนี้ จะยาวมาก
วิธีที่ 2 คิดในสาย CD มี R 1 = 3 โอห์ม และ X c = 4 โอห์ม ต่ออนุกรมกัน

ความขัดของสายนี้ Z 1 = 32  42 = 5 โอห์ม

V 100
กระแสไฟฟ้าในสายนี้ I 1 = = = 20 แอมแปร์
Z1 5

กาลังซึ่งใช้ที่ R 1 คือ P 1 `= I 12 R 1 = 202  3 = 1,200 วัตต์


35

คิดในสาย EF มี R 2 = 6 โอห์ม และ X L = 8 โอห์ม ต่ออนุกรมกันดังนั้น

ความขัดของสายนี้ Z 2 = 62  82 = 10 โอห์ม

V 100
กระแสไฟฟ้าในสายนี้ I 2 = = = 10 แอมแปร์
Z2 10

กาลังซึ่งใช้ที่ R 2 คือ P 2 = I 22 R 2 = 102  6 = 600 วัตต์



กาลังซึ่งใช้ที่ X L = V 2 I 2 cos 90 = 0

ดังนั้น กาลังไฟฟ้าที่ใช้ทั้งหมด = P 1 + 0 +P 2 + 0 = 1,200+600

= 1,800 วัตต์

9. การใช้ปริมาณเชิงซ้อนในไฟฟ้ากระแสสลับ
ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับความต่างศักย์และกระแสในตัวเหนี่ยวนาและตัวจุมีความต่าง

เฟสกันอยู่ 90 เมื่อนาค่าเหล่านี้มาเขียนเป็นแผนภาพแสดงเฟส (phasor diagram) จะได้ทิศดัง
แสดงในแผนภาพ รูปจะเห็นว่าถ้าเขียน I ซึ่งเป็นกระแสผ่านวงจรให้อยู่ในแนวแกน X ความต่าง
ศักย์ V L จะอยู่ในแนว

รูป แผนภาพแสดงเฟส รูป แผนภาพแสดง I V L และ V C ในระนาบเชิงซ้อน


36

แกน + Y และความต่างศักย์บนตัวจุ V C จะอยู่ตามแนวแกน – Y ทิศของ V L และ V C จะมีทิศ


เป็นอย่างอื่นไม่ได้ ถ้า I อยู่ในแนว + X
ด้วยลักษณะสาคัญนี้ จึงได้นาหลักของจานวนเชิงซ้อน (complex number) มาใช้กับ
ไฟฟ้ากระแสสลับ โดยให้กระแสอยู่ตามแกนจริง (real axis) และ V L อยู่ในแนวแกนจินตภาพ
บวก (imaginary axis) คือ + j และ V C อยู่ในแนวแกนจินตภาพลบคือ – j ดังรูป
การหาขนาดและเฟสจะหาได้ตามวิธีของเลขเชิงซ้อน เพื่อให้ทราบว่า V L และ V C มี
ทิศเป็น + j และ – j ตามลาดับ จึงต้องกากับด้วย + j และ – j ไว้ด้วยในการคานวณ

1. วงจร R L C ต่อแบบอนุกรม
เมื่อมีกระแส I ผ่านวงจร จะเกิดความต่างศักย์เป็น V R V L V C บนตัวต้านทานตัว
เหนี่ยวนา และตัวจุ ตามลาดับ ดังรูป เมื่อเทียบค่า Vรวม ของวงจรทั้งหมดตามหลักของจานวน
เชิงซ้อน จะได้ความต่างศักย์รวม

รูป ความต่างศักย์บนวงจรอนุกรม รูป แผนภาพแสดงเฟสในระนาบเชิงซ้อน

V = V R + jV L - jV C
หรือ V = V R + j(V - V C )
L

ให้สังเกตด้วยว่า V R เป็นจานวนจริง เพราะ V R กับ I มีเฟสเดียวกัน เขียนแผนภาพ


แสดงเฟสของสมการ (19.16) และ (19.17) ในระนาบเชิงซ้อน (complex plane) จะได้ดังรูป ขนาด
ของรูป V จะเท่ากับกรณีที่สองของผลบวกของกาลังของส่วนจริงและส่วนจินตภาพคือ
= VR2  VL  VC 
2
V
เฟส () ของ V เทียบกับแกนจริงตามสมการ (20.17) จะได้
 = tan 1 [ส่วนจินตภาพ / ส่วนจริง]
37

tan 1  VL  VC 
 
นั่นคือ  =
 VR 
ให้สังเกตด้วยว่า  เป็นบวกเมื่อ V L > V C และ  เป็นลบเมื่อ V L < V C ค่าของ  มี
 
ตั้งแต่ + 90 ถึง - 90

ตัวอย่าง จงหาขนาดและเฟสของความต่างศักย์รวมของวงจรอนุกรมของตัวต้านทานตัว
เหนี่ยวนา และตัวจุ เมื่อ R = 2 , X L = 3 และ X C = 4 โดยมีกระแสไฟฟ้าในวงจร 1
แอมแปร์
วิธีทา VR = 21 = 2โวลต์
VL = 31 = 3 โวลต์
VC = 41 = 4 โวลต์
จาก V = V R + j(V L - V C )
แทนค่า V R V L และ V C จะได้
V = 2 + j (3-4) = (2- j ) โวลต์

หาขนาดได้คือ V = 2 2  12 = 5 โวลต์

เฟสของ V เมื่อเทียบกับแกนจริง
 = tan 1  1 
 2

= -26.5

นั่นคือ V มีเฟสตามหลัง I หรือ V R เป็นมุม 26.5
เนื่องจากกระแส I ผ่านวงจรอนุกรมของ R L C ความต่างศักย์บน R L C จะคานวณ
ความต่างศักย์ได้จากผลคูณของกระแส j กับความต้านทานหรือความต้าน ดังนั้นสมการของ V
จึงเขียนได้เป็น
V = IZ = IR + jIX L - jIX C
หรือ Z = R + jX L - jX C
เมื่อ Z = ความขัดของวงจร
นาสมการ มาเขีย นในระนาบเชิงซ้อน โดยให้ R มีเฟสอยู่ในแนวแกนจริง จะได้ผลดัง
รูป
38

รูป แผนภาพของความขัด

เฟสของ X L อยู่ตามแนวแกนจินตภาพบวก X C อยู่ตามแนวแกนจินตภาพลบ


จากสมการ (19.20) ขนาดของ Z คือ
Z = R 2   X L  X C 2

หาเฟสของ Z เมื่อเทียบกับ R หรือแกนเลขจริงจาก


 
 = tan 1  X L  X C 
 R 

ตัวอย่าง วงจรอนุกรมของตัวต้านทาน ตัวเหนี่ยวนา และตัวจุซึ่งมีค่า R = 2 , X L =


3 , และ X C = 4 จงหาความขัดของวงจร และเฟสของความขัด
วิธีทา สมการของความขัดของวงจรอนุกรม R L C เขียนได้เป็น
Z = R + jX L - jX C
= 2 + j3 – j4 = 2- j

หรือ Z = 2 2  12 = 5 โอห์ม
เฟสของ Z เทียบกับ R คือ
 = tan 1  X L  X C 
 R 

= tan 1  1 
 2
39


= -26.5

นั่นคือ Z มีเฟสตามหลัง R เป็นมุม 26.5

2. วงจร R L C ต่อแบบขนาน

รูป R L C ต่อแบบขนาน

เมื่อต่อความศักย์ V ระหว่างจุด AB วงจรดังรูป จะมีกระแสผ่าน R L และ C ที่มีเฟส


ดังนี้
กระแส I R ผ่าน R จะมีเฟสตรงกับ V

กระแส I L ผ่าน L มีเฟสตามหลัง V เป็นมุม 90 และกระแส I C ผ่าน C จะมีเฟส

นาหน้า V เป็นมุม 90 เมื่อเขียนแผนภาพของเฟสเชิงซ้อนของกระแสเหล่านี้ ตามวิธีของจานวน
เชิงซ้อนจะได้ผลดังแสดงในรูป

รูป แผนภาพของกระแสในวงจร R L C ต่อแบบขนาน

เมื่อเขียนค่ากระแสรวม I ของวงจรตามหลักของจานวนเชิงซ้อน จะได้


40

I = I R + jI C - jI L
= I R + j(I C - I L )
ขนาดของ I หาได้จาก

= I R2  I C  I L 
2
I

ความต่างเฟสของ I เทียบกับ I R หรือ V คือ


 
มุม  มีค่าอยู่ระหว่าง + 90 0 - 90
สมการของความขัดของวงจร R L C ต่อแบบขนานจะหาได้จากสมการ โดยอาศัย
ความสัมพันธ์ตามกฎของโอห์ม I = V และเขียนได้ดังนี้
R

V V V V
=  j j
Z R XC XL

1 1  1 1 
หรือ =  j  
Z R  C
X X L 

เมื่อนาสมการ มาเขียนในระนาบเชิงซ้อน จะได้ผลดังแสดงในแผนภาพของรูป

รูป แผนภาพแสดงเฟสของความขัดของวงจร R L C ต่อแบบขนาน


41

1
ขนาดของ คานวณได้จาก
Z

2
 1   1 1 
2
1
=     
Z  R   X C X L 

1 1
ความต่างเฟสของ เทียบกับ คือ
Z R
 1 1 
X  X 
 = tan 1  C L

 1 
 
 R 

 
มุม  มีค่าอยู่ระหว่าง + 90 0 - 90

การหาความต่างเฟสของความขัด Z ของวงจรอาจหาได้จากการเปลี่ยนเครื่องหมายของความต่าง
1 1
เฟสของ ให้ตรงกันข้าม เช่น เมื่อความต่างเฟสของ เขียนได้ว่า
Z Z

 1 1 
X  X 
1 = tan 1  C L

Z  1 
 
 R 
ความต่างเฟสของ Z จะเขียนได้เป็น
  1 1 
     
Z = tan 1   X C X L 
 1 
 
R
 
จะไม่พิสูจน์วิธีการนี้ ณ ที่นี้ ผู้ที่สนใจอาจศึกษาได้จากเรื่องการเขียนแผนภาพแสดงเฟสแบบเชิง
ขั้ว(polar) จากตาราวิชาไฟฟ้ากระแสสลับขั้นก้าวหน้าทั่วไป

ตัวอย่าง วงจร R L C ต่อแบบขนานมีค่า R = 40 , X L = 60 และ


X C = 24
ก. จงคานวณค่าความขัดของวงจร Z และเฟสของ Z
42

ข. เมื่อต่อความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลับ 120 โวลต์เข้ากับวงจร จงคานวณ


ค่ากระแสรวมและเฟสของกระแสรวม
วิธีทา ก. ความขัดของวงจร R L C ต่อแบบขนานหาได้จาก
1 1  1 1 
=  j  
Z R  C
X X L 

1  1 1 
=  j  
40  24 60 

= 1

j
= 1
1  j  ต่อโอห์ม
40 40 40

Z = 40
= 20 1  j 
1 j

และ Z = 20 2 โอห์ม

คานวณเฟสของ Z เมื่อเทียบกับแกนจริง จะได้



 = tan 1  1 = -45

ข. เมื่อต่อความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลับ 120 โวลต์ กับวงจร ค่า I จะได้ว่า


I = V
= 120
= 3 1  j  แอมแปร์
Z 201  j 
หรือ I = 3 12  12 = 3 2 แอมแปร์
1
เฟสของ I เมื่อเทียบกับ หรือแนวแกนจริง จะได้ว่า
R


 = tan 1  1 = 45

3. วงจร R L C ต่อแบบผสม
โดยอาศัยหลักการของวงจรที่ต่ออย่ างอนุกรมและการต่ออย่างขนาน จะสามารถ
วิเคราะห์วงจรที่ต่อกันแบบผสมได้ จากวงจรที่กาหนดให้ ดังรูป
43

รูป วงจร R L C ต่อแบบผสม

ก. คานวณความขัดของแขนง CD เขียนเป็น Z 1 ได้

Z1 = R 1 - jX C = 3 – j4

หรือ Z = 32  4 2 = 5 โอห์ม

กระแสผ่านแขนง CD เขียนว่า I 1 กาได้จาก

V 100
I1 = = = 4(3 + j4)
Z 3  j4

I1 = 4 32  4 2 = 20 แอมแปร์

เฟสของ I 1 เทียบกับ V หาได้จาก

tan 1  4 

1 = = 53
3

นั่นคือ I 1 มีเฟสนาหน้า V เป็นมุม 53
44

ข. คานวณเกี่ยวกับแขนง EF ทานองเดียวกับแขนง CD

ได้ Z2 = 6 + j8 หรือ Z2 = 6 2  82 = 10

100
I2 = = (6 – j8) I2 = 6 2  82 = 10 แอมแปร์
6  j8

tan 1  8 

2 = = - 53
 6


นั่นคือ I 2 มีเฟสตามหลัง V เป็นมุม 53

ค. I หาได้จากผลบวกของ I 1 และ I 2

I = 4(3 + j4) + (6 – j8) = 18 + j8

ขนาดของ I คือ I = 182  8 2 = 19.7 แอมแปร์

เฟสของ I เมื่อเทียบกับ V คานวณได้จาก

tan 1  8 

 = = 24
18 


นั่นคือ I มีเฟสนาหน้า V เป็นมุม 24

ง. ความขัดรวมของวงจร หาได้ 2 วิธี คือ


1. จาก V หารด้วย Iรวม

Z = 180
= 50
= 50
9  j 4
18  j8 9  j4 97

Z = 5.07 โอห์ม
45

และ 2. จาก Z 1 ขนานกับ Z 2 จะได้

Z = Z1 Z 2
= 3  j 46  j8
Z1  Z 2 3  j 4  6  j8

50
=
9  j4

Z = 5.07 โอห์ม
ซึ่งได้ผลตรงกัน

4. การคานวณกาลังไฟฟ้ากระแสสลับด้วยวิธีจานวนเชิงซ้อน
จานวนกาลังไฟฟ้าได้จากผลคูณของความต่างศักย์กับกระแสที่ทาให้เกิดความต่าง
ศักย์นั้น เมื่อ V และ I อยู่ในรูปจานวนเชิงซ้อน เช่น เมื่อ V = a + jb และ I = c + jd การ
คานวณค่ากาลังไฟฟ้าจะเอา V คูณ I ตรงๆไม่ได้ เพราะจะได้ผลไม่ถูกต้องกับที่เป็นจริง ให้
พิจารณาแผนภาพแสดงเฟสของ V และ I ซึ่งเขียนในระนาบเชิงซ้อน ดังรูป จากสมการ
กาลังไฟฟ้าเมื่อคิดจากส่วนประกอบของ V และ I คูณกันจะได้
   
P = ac cos 0 + bd cos 0 + ad cos 90 + bc cos 90
= ac + bd
ถ้าเราทดลองนา V และ I มาคูณกันตรงๆ และหาภาคจริงจะได้

รูป แผนภาพแสดงเฟสของความต่างศักย์และกระแส
46

Re VI = Re(a + jb) (c + jd) = Re[ac – bd + j(bc + ad)]


= ac – bd (เมื่อ j =  1 , j 2 = -1)

จะเห็นว่า ได้ผลแตกต่างไปจากสมการ (19.29) เพื่อจะให้ได้ผลถูกต้อง ใช้วิธีเปลี่ยนค่า V หรือ I


ตัวใดตัวหนึ่งเป็นคอนจุเกต (conjugate) ของตัวเอง แล้วหาผลคูณจะได้เป็นกาลังไฟฟ้า เช่น เมื่อ
เปลี่ยน V เป็นคอนจุเกตของตัวเองได้เป็น V* = a – jb และ I = c + jd
จะได้ Re IV* = Re(a – jb)(c + jd)
= ac + bd = P
ตรงกับค่ากาลังไฟฟ้าที่เป็นจริง สรุปได้ว่า ถ้า V และ I อยู่ในรูปของจานวนเชิงซ้อน กาลังงาน
ไฟฟ้า
P = Re IV*
ตัวอย่าง จงคานวณหากาลังไฟฟ้าในวงจรที่มี V = 100 + j50 โวลต์ และ
I = 2 – j แอมแปร์
วิธีทา เปลี่ยน V ให้เป็นคอนจุเกตของตัวเอง
ได้เป็น V* = 100 – j50
ดังนั้น กาลังไฟฟ้า P* = Re IV* = Re(2 – j)(100 – j50)
= 200 – 50
= 150 วัตต์

5. คานวณความถี่อภินาทของวงจรด้วยวิธีเลขเชิงซ้อน
วงจรที่ประกอบด้วย L และ C จะมี R ด้วยหรือไม่ก็ตาม มีความถี่ธรรมชาติหรือ
ความถี่อภินาทประจาตัว จะค านวณหาได้ด้วยวิธีจานวนเชิงซ้อน โดยอาศัย หลัก ส าคัญที่ว่าที่
ความถี่อภินาทของวงจรค่าความขัดรวมของวงจรจะเป็นจานวนจริงซึ่งหมายความว่าเทอมที่เป็น
จานวนจินตภาพของความขัดของวงจรจะต้องเป็นศูนย์ ซึ่งทาความต่างเฟสของความต่างศักย์และ
กระแสเป็นศูนย์ด้วย
ที่ความถี่ใดๆ Z = R + jX
ที่ความถี่อภินาท Z = R
และ jX = 0
จากข้อแม้ที่ว่า jX ต้องเป็นศูนย์นี้ทาให้สามารถคานวณกาค่าความถี่อภินาทของวงจรได้
การหาความถี่อภินาทของวงจร R L C แบบต่างๆอาจแสดงได้ดังต่อไปนี้
47

ก. ความถี่อภินาทของวงจร R L C ต่อแบบอนุกรม
ความขัดของวงจร Z = R + j(X L - X C )
ที่ความถี่อภินาท f r’ Z = R , j X L  X C  = 0
ได้ XL = XC
1
ดังนั้น f =
2 LC

ข. ความถี่อภินาท f r ของวงจร R L C ต่อแบบขนาน


1 1  1 1 
ความขัดวงจรขนาน =  j  
Z R  XC X L 

ที่ความถี่อภินาท f r Z = R

 1 1 
j    = 0
 XC XC 
XC = XL
1
ดังนั้น fr =
2 LC

ค. ความถี่อภินาทของวงจร R L C ต่อแบบผสม ดังรูป

รูป วงจร R L C ต่อแบบผสม

ความขัดของวงจรคิดได้จากความขัดของสองแขนงรวมกันแบบขนาน คือ
48

 jX C R  jX L 
Z =
 jX C  R  jX L

X C X L  jRX C
=
R  j X L  X C 

คูณทั้งเศษและส่วนด้วย R – j(X L -X C ) จะได้

 X C X L  jRX C R  j  X L  X C 
Z =
R 2  X L  X C 
2

ที่ความถี่อภินาท f r เทอมจินตภาพของ Z เป็นศูนย์


นั่นคือ - jR 2 X C - jX L X C  X L  X C  = 0
ดังนั้น R2 = X L X C  X L 
= L  1 
 L 
 C 

L
=   2 L2
C

R2
หรือ  2
= 1

LC L2

ถ้าเขียน  02 = 1
= ความถี่อภินาท (เชิงมุม) ของวงจรเมื่อ R=0
LC

R2
 =  02 
L2

1 R2
หรือ fr =  02  2
2 L
49

10. อุปกรณ์ไฟฟ้ากระแสสลับ
เนื่องจากไฟฟ้ากระแสสลับ เป็นไฟฟ้ากระแสที่จ่ายไปตามบ้านเรือนและหน่วยใช้พลัง งาน
อื่นๆทั่วไป จึง ควรจะทราบถึงอุปกรณ์ที่เกี่ย วข้องบ้างพอสมควร ที่ย กมาอธิบายไว้นี้เป็นเพีย ง
ตัวอย่างอันพบเห็นเสมอๆที่น่าจะทาความเข้าใจได้ในหลักการ
1. หลอดเรืองแสง

รูป (ก) วงจรไฟฟ้าของหลอดเรืองแสง


(ข) เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของกระแสและความต่างศักย์

รูป (ก) วงจรไฟฟ้าของหลอดเรืองแสง (fluorescent) R เป็นความต้านทานของตัวหลอด L เป็น


ความเหนี่ยวนาของบาลลาสท์ที่ต่ออนุกรมกับตัวหลอด C เป็นตัวจุซึ่งโรงไฟฟ้าขอให้ต่อไว้เพื่อลด
กระแสไฟฟ้าของโรงไฟฟ้า ถ้าไม่ต่อ C หลอดไฟสว่าง กินกระแสไฟฟ้าเท่ากับ
V
I1 = หลอดกินกาลังไฟฟ้าเท่ากับ I 12 R กระแสไฟฟ้า I 1 นี้จะต้องวิ่งผ่านสายเมน
R x2 2
L

ของโรงไฟฟ้า ถ้าต่อ C หลอดกินกระแส I 1 และกาลัง I 12 R เท่าเดิม ตัวจุ C กินกระแสไฟฟ้า


V
I2 = กระแส I 1 และ I 2 มีเวกเตอร์แสดงเฟสดังแสดงในรูป 19.47 (ข) ทาให้กระแสรวม I
XC
มีค่าน้อยกว่า I 1 (ลองเขียนรูปเอง) ดังนั้น กระแส I ซึ่งผ่านสายส่งของโรงไฟฟ้าจึงมีค่าลดลงจาก
เมื่อต่อ C

หมายเหตุ ฝ่ายผู้ใช้ จะต่อตัวจุหรือไม่ก็ตามจะเสียค่าไฟเท่าเดิม แต่ต้องจ่ายเงินค่าซื้อตัวจุ ฝ่าย


โรงไฟฟ้าถ้าไม่ต่อ C ต้องจ่ายกระแสไฟฟ้ารวม I มาก ถ้าต่อ C จ่ายกระแสไฟฟ้ารวม I น้อยลง
โดยการคิดส่วนประกอบของ I 1 และ I 2 จะหากระแสไฟฟ้ารวมได้
50

รูป เวกเตอร์แสดงความต่างเฟสของความขัดและกระแส

I = I I cos 2  I 2  I 1 sin  2

2 2
V   V V 
=  cos     sin  
 Z1   X C Z1 

กระแสรวม I มีค่าน้อยที่สุดเมื่อ

2
 V V 
  sin   = 0
 X C Z1 

และโดยอาศัยเวกเตอร์แสดงความต่างเฟสตามรูป จะได้

Z1 Z1 Z 12 R 2  X L2
XC = = Z1 = =
sin XL XL XL

1 R 2   2 L2
คือ =
C L

ดังนั้น ตัวจุซึ่งจะทาให้กระแสไฟฟ้ารวม I มีค่าน้อยที่สุดมีค่าเท่ากับ

L
C =
R   2 L2
2

เมื่อใช้ค่า C นี้แล้วจะได้กระแสไฟฟ้ารวม I ซึ่งมีค่าน้อยที่สุดเท่ากับ


51

V V R VR
I min = cos = =
Z1 Z1 Z1 R   2 L2
2

ทดลองเทียบ I min นี้กับกระแส I 1 ได้

I min VR R 2  X L2 R
=  =
I1 R 2   2 L2 V R   2 L2
2

แสดงว่าเมื่อใช้ค่า C ที่เหมาะ กระแสรวม I min มีค่าน้อยกว่า I 1


ในทางปฏิบัติพบว่า ในกรณีหลอดเรืองแสงขนาด 40 วัตต์ เมื่อใช้ C ที่เหมาะสมตาม
สมการ ซึ่ ง หาค่ า ได้ ป ระมาณ 4.7 ไมโครฟารั ด ทาให้ ก ระแสจากโรงไฟฟ้ า ลดจาก 0.4
แอมแปร์ลงเหลือ 0.2 (ไฟฟ้า 220 โวลต์ ) คือ ลดลงประมาณครึ่งหนึ่ง

2. หม้อแปลง
หม้อแปลง (transformer) เป็นเครื่องมือทางไฟฟ้าที่ใช้สาหรับเปลี่ยนความต่างศักย์ไฟฟ้า
กระแสสลับให้สูงขึ้นหรือต่ากว่าเดิม โดยใช้หลักการเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้า เครื่ องมือชนิดนี้
ประกอบด้ ว ยขดลวดสองขด พั น อยู่ บ นแกนเหล็ ก อั น เดี ย วกั น ดั ง แสดงในรู ป (ก) เมื่ อ ปล่ อ ย
กระแสไฟฟ้ากระแสสลับเข้าไปในขดลวดหนึ่ง จาให้เกิดมีฟลักซ์แม่เหล็ก ซึ่งแปรค่าตลอดเวลา
เกิดขึ้นในแกนเหล็กนั้น การแปรค่าของฟลักซ์แม่เหล็กดังกล่าวนี้ก็จะไปเกิดการแปรค่ าฟลักซ์ใน
ขดลวดอีกขดหนึ่งด้วย ทาให้เกิดมีไฟฟ้าเหนี่ยวนาขึ้นในขดลวดขดที่สองนี้ ดังนั้น จึงบอกได้ว่า
กาลังไฟฟ้าถ่ายทอดจากขดลวดอันแรกซึ่งเรียกว่า ขอลวดปฐมภูมิ (primary) ไปยังขอลวดอันที่สอง
ซึ่งเรียกว่า ขดลวดทุติยภูมิ (secondary) หม้อแปลงไฟฟ้านี้โดยทั่วไปนิยมเขียนเป็นรูปง่ายๆแทน
รูปจริง

ฟลักซ์แม่เหล็กที่เกิดขึ้นจากขดลวดปฐมภูมินั้น ไม่ได้ไปสู่ขดลวดทุติยภูมิทั้งหมด(ผ่าน
ขดลวดทั้งสอง) เรียกว่า ฟลักซ์รวม (mutual flux) ส่วนฟลักซ์แม่เหล็กที่วนอยู่เฉพาะในขดลวด
ขดใดขดหนึ่ง เรียกว่า ฟลักซ์รั่วไหล (leakage flux)
ก าลัง ไฟฟ้ า ที่ ส่ง จากขดลวดปฐมภูมิไ ปยั งขดลวดทุติย ภูมินั้นบางส่วนถูก ใช้ไ ปในการ
กลายเป็นความร้อนในขดลวดทั้งสองและในเนื้อแกนเหล็ก คือ เกิดความล้า (hysterysis) และมี
กระแสวน (eddy current) เกิดขึ้น ดังนั้น กาลังไฟฟ้าที่ส่งออกไปจากขดลวดทุติยภูมิจึงน้อยกว่าที่
ได้รับเข้ามาทางปฐมภูมิ แต่น้อยกว่ากันไม่มากนัก ผลเสียเนื่องจากความล้า ก็อาจลดลงได้ โดย
การเลือกใช้แกนเหล็กที่มีวงแห่งความล้า (hysterysisloop) เล็กๆและผลเสียเนื่องจากกระแสวน ก็
52

อาจลดลงได้ โดยใช้แกนเหล็กที่เป็นแผ่นบางหลายแผ่นซ้อนกันโดยวิ ธีดังกล่าวนี้ ทาให้สามารถ


สร้างหม้อแปลงไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพขนาด 90 ถึง 99 เปอร์เซ็นต์ได้
ในเบื้ องต้นนี้จะเรียนเฉพาะกรณีที่ไม่มีการเสีย ก าลังไฟฟ้ าและไม่มีฟลักซ์สูญเปล่าเลย
d
ดังนั้นอัตราการเปลี่ยนแปลงของฟลักซ์แม่เหล็ก ในขดลวดทั้งสองจึงเป็นอย่างเดียวกัน
dt
d
นั่นคือ แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาต่อรอบในขดลวดแต่ละขด =
dt
ถ้า N1 เป็นจานวนรอบของขดลวดปฐมภูมิ
N2 เป็นจานวนรอบของขดลวดทุติยภูมิ
E1 เป็นแรงเคลื่อนไฟฟ้าของขดลวดปฐมภูมิ
E2 เป็นแรงเคลื่อนไฟฟ้าของขดลวดทุติยภูมิ

ย่อมได้ E1 = N 1 d และ E 2 = N2 d
dt dt

E1 N1
จึงได้ =
E2 N2

ถ้า N 2 มากกว่า N 1 ค่าของ E 2 มาก E 1 ได้แรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ออกมาทางขดลวดทุติย


ภูมิ มากกว่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าทางขดลวดปฐมภูมิ แบบนี้เรียกว่า หม้อแปลงขึ้น (step up
transformer)
ถ้า N 2 น้อยกว่า N 1 ค่าของ E 2 น้อยกว่า E 1 ได้แรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ออกมาทางขดลวด
ทุติยภูมิ น้อยกว่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าทางขดลวดปฐมภูมิ แบบนี้เรียกว่า หม้อแปลงลง (step down
transformer)
หม้ อแปลงไฟฟ้ า ที่ ใ ช้ใ นทางอิเลกโทรนิก ส์นั้น มักมีหม้อแปลงขึ้นและหม้อแปลงลง
รวมอยู่ในเครื่องเดียวกัน

AB เป็นปลายขดลวดปฐมภูมิที่มีแรงเคลื่อนไฟฟ้าป้อนเข้ามา 220 โวลต์


CD เป็นปลายขดลวดทุติยภูมิที่แบบแปลงขึ้น มีแรงเคลื่อนไฟฟ้าออกมา 400 โวลต์
(จานวนรอบขดลวดมาก)
EF เป็นปลายขดลวดทุติยภูมิอีกขดหนึ่ง แต่เป็นแบบแปลงลง (จานวนรอบขอลวด
น้อย) มีแรงเคลื่อนไฟฟ้าออกเป็น 2 โวลต์
แรงเคลื่อนไฟฟ้า 400 โวลต์ จะถูกนาไปใช้ในส่วนหนึ่งของวงจร และแรงเคลื่อนไฟฟ้า
2 โวลต์ จะถูกนาไปใช้ในอีกส่วนหนึ่งของวงจร
53

อ้างอิง
ศาสตราจารย์แสวง โพธ์เงิน.ฟิสิกส์ 2.กรุงเทพฯ.สานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
,2549.

You might also like