You are on page 1of 5

กฎของโอห ์ม

่ ณหภูมค
"เมืออุ ิ งที่
อัตราส่วนระหว่างความต่างศักย ์กับกระแสไฟฟ้ าของตัวนาอันหนึ่ งย่อมคงทีเสม

่ ยนเป็ นความสัมพันธ ์ได ้ว่า
อ" ซึงเขี

ข้อควรรู ้
ี ารจาสูตรง่ายๆ ให ้ใช ้รูปต่อไปนี ้
วิธก

่ V คือ ความต่างศักย ์ไฟฟ้ า (โวลต ์)


เมือ
I คือ กระแสไฟฟ้ า (แอมแปร ์)
R คือ ความต ้านทานไฟฟ้ า (โอห ์ม)
้ ยกว่า กฎของโอห ์ม นั่นคือ
ความสัมพันธ ์ตามสมการนี เรี
เราจะสามารถใหค้ าจากัดความของความต ้านทาน 1 โอห ์ม คือ
่ าให ้เกิดกระแสไฟฟ้ า 1 แอมแปร ์
ความต ้านทานทีท

ในระหว่างขัวไฟฟ้ ่ ความต่างศักย ์ 1 โวลต ์
าทีมี

ข้อควรรู ้
จอร ์จ ไซมอน โอห ์ม (George Simon Ohm)
นักฟิ สิกส ์ชาวเยอรมัน เป็ นผูค้ ้นพบกฎของโอห ์มใน ปี พ.ศ. 2369

ชือของเขาได ั้ นคาเรียกหน่ วยของความต ้านทานทางไฟฟ้ า คือ
้ร ับเกียรติตงเป็
โอห ์ม หรือเขียนย่อด ้วยสัญลักษณ์ V
การต่อวงจรไฟฟ้า

วงจรไฟฟ้ า (electric circuit) หมายถึง



เส ้นทางทีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านได ้ครบรอบ

เมือกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านอุปกรณ์ตา่ งๆ
ก็จะมีความต ้านทานเฉพาะตัวทียอมให่ ้กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านมากหรือน้อยแตก
ต่างกัน
- วงจรปิ ด (close circuit) คือ
วงจรไฟฟ้ าทีมี่ กระแสไฟฟ้ าไหลครบรอบ
- วงจรเปิ ด (open circuit) คือ
วงจรไฟฟ้ าทีไม่่ มกี ระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน
เนื่ องจากส่วนใดส่วนหนึ่ งของวงจรขาดหรือไม่เชือมต่
่ ่
อกันมีผลทาให ้เครืองใช ้ไ
ฟฟ้ าไม่ทางานเพระาไม่มก ี ระแสไฟฟ้ าไหลผ่านเข ้าไป
องค ์ประกอบทีส ่ าคัญของวงจรไฟฟ้ าทีจะท
่ าให ้เครืองใช
่ ้ไฟฟ้ าทางานไ

ด ้ คือ แหล่งกาเนิ ดไฟฟ้ า สายไฟ อุปกรณ์ไฟฟ้ า และเครืองใช ้ไฟฟ้ า

ี่ ในการต่อวงจรไฟฟ้า
ตารางแสดงสัญลักษณ์ทใช้

การต่อวงจรไฟฟ้ าโดยทัวไปมี 3 แบบ ดังนี ้
1. การต่อวงจรไฟฟ้าแบบอนุ กรม (series
circuit) เป็ นการต่อเรียงกันเป็ นสายเดียว เช่น
การต่อหลอดไฟฟ้ าโดยการต่อปลายหลอดไฟฟ้ าหลอดที่ 1
กับปลายหลอดไฟฟ้ าหลอดที่ 2 และต่อปลายหลอดไฟฟ้ าหลอดที่ 2
อีกอันหนึ่ งกับหลอดไฟฟ้ าหลอดอืนไปเรื
่ ่
อยๆ จนครบวงจร
กระแสไฟฟ้ าจะไหลในทิศทางเดียวกันตลอด โดยไม่แยกเป็ นหลายสาย ดังรูป

รูปแสดงการต่อวงจรไฟฟ้ าแบบอนุ กรม

2. การต่อวงจรไฟฟ้าแบบขนาน (parallel

circuit) เป็ นการต่อโดยทีกระแสไฟฟ้ ามีการแยกไหลออกได ้หลายทางและช่ว
งสุดท ้ายจะไหลมารวมกัน เช่น ต่อหลอดไฟฟ้ าแต่ละหลอดเข ้าด ้วยกัน
และรวมปลายอีกด ้านหนึ่ งของหลอดไฟฟ้ าทุกหลอดเข ้าด ้วยกัน

รูปแสดงการต่อวงจรไฟฟ้ าแบบขนาน

3. การต่อวงจรไฟฟ้าแบบผสม (hybrid
่ ทงแบบอนุ
circuit) เป็ นการต่อวงจรทีมี ้ั กรมและแบบขนานในวงจรเดียวกัน

รูปแสดงการต่อวงจรไฟฟ้ าแบบผสม
ตารางแสดงการเปรียบเทียบผลการต่อหลอดไฟฟ้าแบบอนุ กรมและแ
บบขนาน
แบบอนุ กรม แบบขนาน
1. 1.

กระแสไฟฟ้ าทีไหลผ่ านหลอดไฟฟ้ ่
กระแสไฟฟ้ าทีไหลผ่ านหลอดไฟฟ้ าแต่ละห
าแต่ละหลอดมีคา่ เท่ากัน ลอดจะไม่เท่ากัน
้ ไ่
และเท่ากับกระแสไฟฟ้ าทังหมดที แต่ถ ้าหลอดมีความต ้านทานไม่เท่ากัน
หลในวงจร แต่กระแสไฟฟ้ ารวมจะเท่ากับผลบวกของก
ดังสมการ ่ านแต่ละหลอด ดังสมการ
ระแสไฟฟ้ าทีผ่

2. ความต ้านทานรวม 2. ความต ้านทานรวมจะน้อยลง


่ นตามจ
จะเพิมขึ ้ ่ อยทีสุ
านวนหลอดไฟฟ้ า และน้อยกว่าความต ้านทานทีน้ ่ ดในว
่ ามาต่อกัน
ทีน งจร ความต ้านทานรวมจะมีคา่ ดังสมการ
จึงทาให ้ความต ้านทานมีคา่ มาก
ดังสมการ
3. ความต่างศักย ์รวม
3. ความต่างศักย ์รวม
มีคา่ เท่ากับผลบวกของความต่างศั
จะมีคา่ เท่ากับความต่างศักย ์ของหลอดไฟ
กย ์ของ หลอดไฟแต่ละหลอด
ฟ้ าแต่ละหลอด ดังสมการ
ดังสมการ

4.
4.
หลอดไฟทุกหลอดจะทางานและหยุ
หลอดไฟแต่ละหลอดจะทางานและหยุดทาง
ดทางานพร ้อมกัน
านแยกกัน ดังนั้นจึงสามารถเลือกเปิ ด-ปิ ด
ไม่สามารถเลือกเปิ ด-ปิ ด
่ หลอดใดหลอดหนึ่ งได ้ตามต ้องการ
หลอดใดหลอดหนึ งตามต ้องการได ้

ข้อควรรู ้
1. การต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุ กรม
หลอดไฟฟ้ าจะสว่างน้อยกว่าการต่อแบบขนาน
เพราะการต่อแบบอนุ กรมจะทาใหค้ วามต ้านทานรวมในวงจรมีค่ามากกระแสไฟ
ฟ้ าผ่านได ้น้อย

2. เครืองใช ้ เพื
้ไฟฟ้ าแต่ละชนิ ดในบา้ นจะต่อกันแบบขนานทังนี ้ อ

- ให ้ความต ้านทานรวมมีคา่ น้อยลง

ทาใหก้ ระแสไฟฟ้ าผ่านได ้มากพอทีจะให ่
เ้ ครืองใช ้ไฟฟ้ าสามารถทาได ้ดี
-

ให ้เครืองใช ้
้ไฟฟ้ าแต่ละอย่างได ้ร ับความต่างศักย ์เท่ากันทังหมดตรงตามที
ก ่ าห
่ องใช
นดไว ้ทีเครื ่ ้ไฟฟ้ านั้น

- สามารถเลือกเปิ ด-ปิ ดเครืองใช ้ไฟฟ้ าแต่ละอย่างได ้ตามต ้องการ

You might also like