You are on page 1of 9

พลังงานทางเลือก ตอน 3 แบตเตอรี่

แบตเตอรี่ เป็นอุปกรณ์จัดเก็บพลังงานไฟฟ้าเพื่อไว้ใช้งาน โดยทาหน้าที่เปลี่ยนพลังงานเคมีให้


เป็นพลังงานไฟฟ้า ซึ่งมีทั้งชนิดใช้งานครั้งเดียวและชนิดที่สามารถนามาประจุใช้ซ้าได้ อย่างไรก็ตามชนิด ที่นามา
ประจุซ้าได้ก็จะมีอายุการใช้งานประมาณ 2 ปี หลังจากนั้นคุณภาพของแบตเตอรีก็จะเสี่ยมคุณภาพลงไปเรื่อย ๆ

แบตเตอรี่ชนิดใช้ครั้งเดียว แบตเตอรี่ชนิดใช้ได้หลายครั้ง

โครงสร้างของแบตเตอรี่
1. แผ่นธาตุบวก (+) และแผ่นธาตุ (-) ของแบตเตอรี่ มีความสาคัญมาก แผ่นธาตุประกอบด้วย
โครงตะกั่ว ซึ่งเป็นโลหะผสมระหว่างตะกั่วกับพลวง สารที่ทาปฏิกิริยาในแผ่นธาตุบวก (+) เป็นสีน้าตาล มีชื่อว่า
เลดเปอร์ออกไซด์ (Lead Peroxide) ส่วนแผ่นธาตุลบเป็นตะกั่ว ซึ่งทั้งสองชนิดนี้มีลักษณะพรุน ทาให้น้ากรด
สามารถซึมผ่านได้ เลดเปอร์ออกไซด์ของแผ่นธาตุบวก (+) ตะกั่ว ของแผ่นธาตุลบ (-) และกรดกามะถัน จะทา
ปฏิกิริยากันทางเคมี ในขณะที่มีการประจุไฟฟ้าเข้า หรือจ่ายประจุไฟฟ้าออก แต่ละเซลล์ของแผ่นธาตุบวก (+)
และแผ่นธาตุลบ (-) จะถูกกั้นไม่ให้ถึงกัน
2. แผ่นกั้นและใยแก้ว ใช้กั้นระหว่างแผ่นธาตุบวก (+) และแผ่นธาตุลบ (-) เพื่อป้องกันไม่ให้
เชื่ อ มถึ ง กัน แผ่ น กั้ น นี้ ท าจากสารที่ ไม่ เป็ น ตั ว น าและมี ลั ก ษณะพรุน ส่ ว นมากท าด้ ว ยวัส ดุ ป ระเภทไม้ ยาง
พลาสติกหรือกระดาษ เนื่องจากแผ่นธาตุบวก (+) มีความเปราะง่าย ใยแก้วจะช่วยให้อายุของแผ่นธาตุบวก (+)
ยาวมากขึ้น
3. น้ายาอิเลคโตรไลต์ หรือน้ากรด เป็นสารละลายกรดกามะถันอย่างเจือจาง มีความเข้มข้น
ประมาณ 1.260 -1.280 ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรุ่นและมาตรฐานของแบตเตอรี่แต่ละยี่ห้อ
4. เปลือกกับฝา ส่วนใหญ่ทาจากพลาสติก เปลือกสาหรับแบตเตอรี่ 6 โวลท์แบ่งเป็น 3 ช่อง
หรือ 3 เซลล์ ส่วนเปลือกแบตเตอรี่ 12 โวลท์ แบ่งเป็น 6 ช่องหรือ 6 เซลล์
5. สะพานไฟและขั้ว ในแบตเตอรี่ 12 โวลท์ มี 6 ช่อง หรือ 6 เซลล์ ส่วนแบตเตอรี่ 6 โวลท์มี
3 ช่องหรือ 3 เซลล์ แต่ละเซลล์มีค่า 2 โวลท์ สะพานไฟจะเป็นตัวเชื่อมระหว่างเซลล์แต่ละเซลล์แบบอนุกรม
(Series) และทาด้วยโลหะที่เป็นตัวนาไฟฟ้า ส่วนมากจะเป็นโลหะผสมระหว่างตะกั่วกับพลวง
ขั้ว คือ ส่วนที่ทาให้กระแสไฟผ่าน อยู่ที่ปลายของแต่ละเซลล์ ข้างหนึ่งเป็นบวก (+) และอีก
ข้างเป็นลบ (-)
2

โครงสร้างของแบตเตอรี่ชนิดตะกั่วกรด

6. รอยเชื่อมระหว่างเปลือกกับฝา ส่วนใหญ่เปลือกและฝาจะเป็นพลาสติก บางรุ่นใช้ความร้อน


ละลายเปลือกกับฝาและอัดให้ติดกัน
7. ฝาจุกระบายอากาศ ฝาจุกแยกแต่ละเซลล์ แยกก๊าซออกจากไอกรด และทาให้กรดไหล
กลับคืนเข้าสู่เซลล์ ส่วนแก๊สจะถูกปล่อยออกไปทางรูเล็ก ๆ อยู่ที่ฝาจุก

แผ่นธาตุบวก แผ่นธาตุลบและแผ่นกั้น ฝาจุกระบายอากาศแบบแยกแต่ละเซลล์


แบตเตอรี่ชนิดตะกั่วกรด
ปัจจุบันแบตเตอรี่ที่นิยมใช้ในรถยนต์จะเป็นแบตเตอรี่แบบเปียก (Wet-Charged) ชนิดตะกั่ว
กรด เมื่อแบตเตอรี่ถูกน าไปใช้จ นหมดไฟ ก็สามารถนากลับมาประจุไฟฟ้าได้ใหม่ แบตเตอรี่ช นิดนี้ส ามารถ
แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
1. Wet-Type เป็นแบตเตอรี่ที่ประกอบแล้วเติมกรด ต้องนาไปอัดไฟก่อนจึงนาไปใช้ได้
2. Dry-Type คือแบตเตอรี่ที่ประกอบแล้วยังไม่เติมกรด ชนิดนี้จะใช้แผ่นธาตุที่ประจุไฟฟ้า
อย่างสมบูรณ์แล้วปิดเทปช่องเติมกรด เมื่อต้องการใช้งานจะดึงเทปออกแล้วเติมน้ากรดทั้งไว้ประมาณ 20 นาที ก็
สามารถนาไปใช้งานได้โดยไม่ต้องอัดไฟ
3

แบตเตอรี่รถยนต์ขนาด 12 โวลท์ ชนิดตะกั่วกรดแบบเติมน้ากลั่น

แบตเตอรี่รถยนต์ขนาด 12 โวลท์ ชนิดตะกั่วกรดแบบไม่ต้องเติมน้ากลั่น


การจ่ายประจุไฟฟ้า
การจ่ายประจุไฟฟ้าแบตเตอรี่ หมายถึงการที่กระแสไฟฟ้าไหลออกจากแบตเตอรี่ จะปรากฏ
เมื่อแบตเตอรี่เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานไฟฟ้า
ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดจากการประจุไฟฟ้า
การที่จะประจุกระแสไฟฟ้าให้กับแบตเตอรี่ แรงดันไฟฟ้าที่นามาประจุต้องมีค่าสูงกว่าแรงดัน
ในแบตเตอรี่ จึงจะทาให้กระแสไฟฟ้าไหลกลับผ่านเข้าแบตเตอรี่ จุดมุ่งหมายในการประจุไฟฟ้า เป็นการบังคับ
ให้กรดออกจากแผ่นวัตถุและกลับเข้าไปอยู่ในสารอิเลคโตรไลท์ ไฟฟ้ากระแสตรงที่ผ่านเซลล์ในทิศทางตรงกัน
ข้ามกับการจ่ายประจุไฟฟ้า
แรงดันไฟฟ้า
แรงดันไฟฟ้าในเซลล์เปิดวงจร แรงดันไฟฟ้าจะอยู่ที่ 2 โวลท์ และเนื่องจากเซลล์ในแบตเตอรี่มี
การต่อวงจรแบบอนุกรม แรงดันไฟฟ้าในแบตเตอรี่จะขึ้นอยู่กับจานวนเซลล์ของแบตเตอรี่
4

เซลล์แบตเตอรี่ เซลล์ 1 เซลล์จะผลิตแรงดันไฟฟ้าประมาณ 2 หรือ 2.1 โวลท์

แบตเตอรี่ชนิด 3 เซลล์ 6 โวลท์ และชนิด 6 เซลล์ 12 โวลท์

แรงดันไฟฟ้าเมื่อมีการประจุไฟฟ้า จะมีค่าเพิ่มขึ้นอย่างทันทีทันใด อันเนื่ องมาจากปริมาณ


ความเข้มข้นของสารอิเลคโตรไลต์ หลังจากนั้นการเพิ่มของแรงดันไฟฟ้าจะถูกบังคับโดยอัตราของการเกิดกรด
ในแผ่นวัตถุและอัตราการแพร่กระจายเข้าไปในเซลล์
เมื่อแรงดันไฟฟ้าประจุจนมีค่าประมาณ 2.40 โวลต์ แรงดันไฟฟ้าจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว และ
จะเพิ่มขึ้นจนเกินระดับ ในที่สุดก็จะไม่เพิ่มขึ้นได้อีก การประจุจะพิจารณาว่าสมบูรณ์ก็ต่อเมื่อแรงดันไฟฟ้าและ
ความเข้มข้นสัมพัทธ์ของอิเลคโตรไลท์คงที่ประมาณ 3 ชั่วโมง
ความจุไฟฟ้าของแบตเตอรี่
ความจุ ไฟฟ้ าแบตเตอรี่ คื อ ปริม าณของกระแสไฟฟ้ าที่ แ บตเตอรี่ส ามารถจ่ายออกได้ใน
ระยะเวลาที่กาหนด ภายใต้อุณหภูมิ กระแส และแรงดันสุดท้าย (VCut-Off) ที่กาหนด การวัดความจุไฟฟ้าของ
แบตเตอรี่โดยทั่วไปมีอยู่ 3 วิธี คือ
1. วิธีการ Cranking โดยให้แบตเตอรี่จ่ายกระแสไฟฟ้าจานวนมากออกมาในขีดที่จากัดเป็น
เวลา 30 วินาที ภายใต้การทดสอบว่าแบตเตอรี่จะเหลือความจุเท่าไร
5

2. อัตรา 20 ชั่วโมงโดยการให้แบตเตอรี่จ่ายกระแสไฟฟ้าออกมาในจานวนแอมแปร์ที่แน่นอนเป็น
เวลา 20 ชั่วโมง จนกระทั่งแรงเคลื่อนที่วัดได้ตกลงถึง 10.5 โวลท์ อัตราความจุเป็นแอมแปร์ - ชั่วโมง
3. อัตราความจุสารองของแบตเตอรี่ โดยการดูว่าแบตเตอรี่จะจ่ายกระแสไฟฟ้าได้ตามปกติ
ติดต่อกันยาวนานเพียงไร ซึ่งขึ้นอยู่กับความต้องการของรถยนต์ เมื่อระบบประจุไม่ทางานก็จะไม่สามารถประจุ
ไฟฟ้าเข้าแบตเตอรี่ได้
การประจุไฟฟ้าแบตเตอรี่ชนิดตะกั่วกรด
การประจุไฟฟ้าให้กับแบตเตอรี่ นั้นต้องใช้ไฟฟ้ากระแสตรงป้อนให้ถูกทิศทาง โดยขั้วบวกของ
แหล่งจ่ายต่อเข้ากับขั้วบวกของแบตเตอรี และขั้วลบของแหล่งจ่ายต่อเข้ากับขั้วลบของแบตเตอรี ทั้งนี้การประจุ
ไฟฟ้าให้กับแบตเตอรี่มีอยู่ 3 แบบ คือ
1. การประจุ ไฟฟ้ า แบบช้ า หรื อ แบบปกติ จ ะใช้ ก ระแสไฟจ านวนน้ อ ยประมาณ 3 ถึ ง 5
แอมแปร์ เข้าไปในแบตเตอรี่เป็นระยะเวลายาวนาน 14 ถึง 16 ชั่วโมง ในการประจุไฟฟ้าแบตเตอรี่แบบช้า จะ
สามารถยืดอายุการใช้งานกับแบตเตอรี่ได้ โดยตั้งกระแสไฟฟ้าประจุไว้ที่ 7-10 % ของค่าความจุไฟฟ้าแบตเตอรี่
วิธีการคือ เอาค่าความจุไฟฟ้าของแบตเตอรี่ หารด้ วย 10 จะได้ค่าที่จะประจุไฟเข้าแบตเตอรี่ เช่น แบตเตอรี่
รุ่น NS40Z มีความจุไฟฟ้า 35 แอมแปร์/ชั่วโมง จะสามารถหาค่ากระแสที่ต้องจ่ายให้กับแบตเตอรี่ ได้เท่ากับ
35/10 = 3.5 แอมป์ เพราะฉะนั้นจะต้องอัดประจุไฟฟ้าที่กระแสคงที่ 3.5 แอมแปร์
แบตเตอรี่ที่จะทาการประจุไฟฟ้าใช้เช็คระดับน้ากรด และเปิดฝาปิดเซลล์ออกขณะทาการอัด
ประจุไฟฟ้า และถ้าแบตเตอรี่มากกว่า 1 ลูก ให้นาแบตเตอรี่มาอนุกรมกัน และปรับแรงดันรวมของแบตเตอรี่ให้
ตรงกับแรงดันรวมของแบตเตอรี่ ปรับอัตราการประจุไฟฟ้าของแบตเตอรี่ที่มีความจุน้อยที่สุด

การต่อแบตเตอรี่แบบอนุกรมสาหรับการอัดประจุไฟฟ้าแบบช้า
2. การประจุไฟฟ้าแบบเร็ว จะใช้กระแสจานวนมาก (50 ถึง 60 แอมแปร์สาหรับแบตเตอรี่ 12
โวลต์) ผ่านเข้าไปในแบตเตอรี่ในระยะเวลาอันสั้น (1 ถึง 3 ชั่วโมง) การประจุไฟฟ้าแบบเร็ว จะไม่ประจุแบตเตอรี่
จนมีไฟเต็ม แต่จะประจุประมาณ 3 ใน 4 ของความจุไฟฟ้าของแบตเตอรี่ ต่อจากนั้นจึงทาการประจุไฟฟ้าแบบช้า
จนแบตเตอรี่เต็ม ถ้าประจุไฟฟ้าแล้วความถ่วงจาเพาะไม่เพิ่มขึ้นใน 1 ชั่วโมงก็ให้ใช้วิธีการประจุไฟฟ้าแบบเร็ว ถ้ามี
แบตเตอรี่มากกว่า 1 ลูก ในการประจุไฟฟ้าแบบเร็วจะต้องต่อแบตเตอรี่ขนานกัน และไม่ประจุไฟฟ้าแบตเตอรี่ 6
โวลท์ และ 12 โวลท์รวมกัน ในการประจุไฟฟ้านั้นจะต้องประจุกระแสไฟฟ้าสู งสุดไม่เกิน 50 % ของค่าความจุ
ไฟฟ้า เช่นค่าความจุ 50 Ah กระแสไฟฟ้าต้องไม่เกิน 25 A
6

- +

+ +

- -

+ +

- -

การต่อแบตเตอรี่แบบขนานสาหรับการอัดประจุไฟฟ้าแบบเร็ว
(เมื่อแบตเตอรี่มากกว่า 1 ลูก )
3. การประจุไฟฟ้าแบบใช้กระแสน้อย เหมาะสาหรับแบตเตอรี่ที่มีน้ากรดและไม่ได้ใช้งาน เก็บไว้
ระยะเวลานานให้ ทาการประจุไฟฟ้าโดยใช้กระแสไฟจานวนน้อย ๆ คือประมาณ 1 แอมป์ หรือน้อยกว่าทาการ
ประจุไฟฟ้าเป็นระยะเวลานาน ๆ ซึ่งการประจุไฟฟ้าแบบนี้จะต้องใช้เครื่องประจุไฟฟ้าที่ออกแบบมาโดยเฉพาะ จะ
ใช้เครื่องประจุไฟฟ้าแบบช้าไม่ได้ กระแสประจุเท่ากับความจุไฟฟ้า (Ah)/20 เช่น แบตเตอรี่รุ่น NS40Z มีความจุ
ไฟฟ้า 35 แอมแปร์/ชั่วโมง จะต้องจ่ายกระแสให้กับแบตเตอรี่ เท่ากับ 35/20 = 1.75 แอมป์ เพราะฉะนั้น
จะต้องประจุไฟที่กระแสคงที่ 1.75 แอมแปร์
ในการประจุไฟฟ้าทั้ง 3 แบบควรจะประจุไฟจนกระทั่งน้ากรดเดือดทุกช่องแสดงว่าแบตเตอรี่ไฟ
เต็ม หรือวัดค่าความถ่วงจาเพาะของกรดโดยใช้ไฮโดรมิเตอร์ แต่สามารถบ่งบอกได้เพียงค่าประมาณเท่านั้น ทั้งนี้
หากต้องการทราบว่าแบตเตอรี่ที่อัดประจุเต็มจริงหรือไม่สามารถคานวณได้จากสมการ
Q
I ; Q  I t
t
Q = ประจุไฟฟ้า มีหน่วยเป็น คูลอมบ์
I = กระแสไฟฟ้าที่ใช้ในการประจุ มีหน่วยเป็น แอมแปร์
t = เวลาที่ใช้ในการประจุหรือเวลาที่ต้องประจุ มีหน่วยเป็นชั่วโมง
การประจุไฟฟ้าแบตเตอรี่ตะกั่วกรด คือ การนาแหล่ งจ่ายไฟ DC จากแหล่ งภายนอก เช่น
เครื่องชาร์จ ดีซีเจนเนอเรเตอร์ มาจ่ายพลังงานให้กับแบตเตอรี่ การประจุไฟฟ้าแบตเตอรี่มีอยู่ด้วยกัน 2 วิธี คือ
1. การประจุไฟฟ้าแบบกระแสคงที่
2. การประจุไฟฟ้าแบบแรงดันคงที่
7

การประจุไฟฟ้าแบบกระแสคงที่ นับเป็นการประจุไฟฟ้าที่มีประสิทธิ ภาพ แต่จะใช้ระยะเวลา


ในการประจุไฟฟ้านานกว่าการประจุไฟฟ้าแบบแรงดันคงที่ ทั้งนี้เพราะการประจุไฟฟ้าแบบกระแสคงที่ จะถูก
จากัดปริมาณของกระแสในการประจุไฟฟ้า จากเครื่องประจุไฟฟ้าเข้าวงจรแบตเตอรี่เป็นจานวนแอมป์ต่อชั่วโมง
ดังนั้น แบตเตอรี่จะได้รับกระแสในการประจุไฟฟ้ าเป็นไปตามที่กาหนด ซึ่งหากถ้าเราใช้กระแสในการประจุ
ไฟฟ้าสูงขึ้น และแบตเตอรี่สามารถรับกระแสมากก็ตาม แต่จะมีผลเสียหายเกิดขึ้นกับแบตเตอรี่ โดยจะเกิดความ
ความร้อนขึ้นภายในเซลล์แบตเตอรี่ ตามปริมาณของกระแสที่ประจุ จนในที่สุดแผ่นเพลทของแบตเตอรี่จะเกิด
การบิดงอ หรือเกิดรอยแตกร้าวอันเนื่องจากความร้อน อย่างไรก็ตามการประจุไฟฟ้ากระแสคงที่มีข้อดี คือ จะ
ทาให้เซลล์ทุก ๆ เซลล์ที่อยู่ภายในแบตเตอรี่จะได้รับกระแสที่เกิดจากการประจุไฟฟ้าในสัดส่วนที่เท่ากัน
การประจุไฟฟ้าแบบแรงดันคงที่ จะใช้ระยะเวลาในการประจุไฟฟ้าน้อยกว่าประจุไฟฟ้าในแบบ
แรก ส่วนระยะเวลาในการประจุไฟฟ้าจะเร็วเท่าไรนั้นขึ้นอยู่กับความสามารถของเครื่องอัดประจุไฟฟ้า ว่าจะ
จ่ายกระแสออกมายังวงจรแบตเตอรี่ได้มากน้อยเพียงใด โดยทั่วไปเครื่องประจุไฟฟ้า จะต้องจ่ายกระแสออกมา
ได้ 50 % ของค่าความจุแบตเตอรี่ที่นามาประจุไฟฟ้า เช่น แบตเตอรี่ขนาด 100 Ah จะใช้เวลาในการอัดประจุ
ไฟฟ้าเท่ากับ 2 ชั่วโมง การประจุไฟฟ้าแบบนี้ จะใช้การกาหนดโวลท์เตจการชาร์จต่อเซลล์ โดยใช้วงจรเรกคูเล
เตอร์เป็นตัวกาหนดโวลท์เตจ
การประจุไฟฟ้าแบตเตอรี่ตะกั่วกรดส่วนมากนิยมการประจุไฟฟ้าแบบแรงดันคงที่ คือ การ
กาหนดให้แบตเตอรี่มีระดับแรงดันตกคร่อมภายในเซลล์โดยแต่ละเซลล์มีปริมาณที่เท่ากันตลอดทุก ๆ เซลล์
และการประจุไฟฟ้าแบตเตอรี่ตะกั่วกรดชนิด Stationary Battery จะใช้ระดับแรงดันในการอัดประจุไฟฟ้าอยู่ 2
ระดับ คือ
1. การประจุไฟฟ้าในระดับ Float Charge Voltage
2. การประจุไฟฟ้าในระดับ Equalize Charge Voltage
การประจุไฟฟ้าในระดับ Float Charge Voltage คือระดับแรงดันที่ใช้ในการประจุไฟฟ้าใน
สภาวะปกติประจาวันทุกวัน ซึ่งเป็นระดับที่เครื่องประจุไฟฟ้าจะจ่ายแรงดันให้กับแบตเตอรี่ที่พอดี และเป็น
ระดับที่ใช้ในการควบคุมการปฏิกิริยาเคมี ให้คงสภาพในลักษณะประจุเต็ม ในขณะเดียวกันจะมีปริมาณของ
กระแสส่วนหนึ่งของเครื่องประจุไฟฟ้าต้องจ่ายกระแสให้วงจรโหลด (IL) ที่ต่ออยู่กับชุด Battery
Load

Battery

DC Supply

การจ่ายกระแสของเครื่องอัดประจุไฟฟ้าในสภาวะ Float Charge


8

ก ารป ระจุ ไ ฟ ฟ้ าใน ระดั บ Float Charge มีความสาคัญต่ออายุการใช้งานของแบตเตอรี่


หากแรงดันในการประจุไฟฟ้าสูงเกินไปจะทาให้แผ่นเพลทของแบตเตอรี่เกิดการบิดตัวเป็นผลให้แผ่นเพลทเกิด
การสึกกร่อนอย่างรวดเร็ว จนเป็นสาเหตุให้ตะกอนที่ก้นเซลล์มีปริมาณมากและสูงอย่างรวดเร็วกว่าป กติ ใน
ทานองเดียวกัน หากใช้แรงดันในการประจุไฟฟ้าต่ากว่า ทาให้แบตเตอรี่ได้รับแรงดันไม่เพียงพอที่จะชดเชยกับ
การสูญเสียของกระแสที่หายไปในเซลล์ อันเนื่องมาจาก Self Discharge และ Local Action ซึ่งจะทาให้แผ่น
เพลทเกิ ด Sulfation ขึ้ น หรื อ มี Sulphate เกาะจั บ ที่ แ ผ่ น เพลททั้ งสองมี ป ริ ม าณมากจนเป็ น เหตุ ที่ ท าให้
แบตเตอรี่เกิด Under Charge ขึ้นได้ในภายหลัง ดังนั้นจึงจาเป็นที่จะต้องปรับระดับแรงดันของเครื่องประจุ
ไฟฟ้าให้ถูกต้อง และการประจุไฟฟ้าในระดับนี้จะใช้แรงดันระหว่างแรงดัน 2.15 - 2.20 V/Cell เช่น แบตเตอรี่
ขนาด 6 เซลล์ ใช้แรงดันในระดับ Float Charge เท่ากับ 6 X 2.15 = 12.9 V
การประจุ ไฟฟ้ า ในระดั บ Equalize Charge Voltage ที่ ป ระจุ ไฟฟ้ า แบตเตอรี่ ด้ ว ยระดั บ
โวลท์เตจ Float ระดับเดียวเป็นระยะเวลานาน ๆ นั้นไม่เป็นการเพียงพอที่ทาให้แบตเตอรี่อยู่ในสภาพที่มีประจุ
เต็ม 100 % ได้อันเนื่องมากจากสาเหตุ ดังนี้
- ระดับโวลท์เตจ Float Charge ไม่สามารถที่จะแก้ปัญหาเรื่อง Self Discharge และ Local
Action ได้ และเป็น สาเหตุที่ทาให้โวลท์ที่ตกคร่อมเซลล์แต่ล ะเซลล์ ในชุดของแบตเตอรี่มีระดับโวลท์เตจไม่
เท่ากัน อีกทั้งบางเซลล์ได้รับความร้อนและเย็นจากอากาศรอบ ๆ ไม่เท่ากัน ซึ่งจะทาให้อุณหภูมิของน้ายา
Electrolyte ภายในเซลล์ไม่เท่ากัน
- ขั้ว ต่อ เซลล์ แบตเตอรี่บ างขั้ว มี โวลท์ ต กคร่อมไม่เท่ ากัน เนื่อ งมาจากการขยายตั วของขั้ ว
แบตเตอรี่ในระหว่างฤดูร้อนและฤดูหนาว อีกทั้งการปรับความตึงแน่นของขั้วแบตเตอรี่ไม่เท่ากัน ในระหว่างการ
ติดตั้ง เป็นสาเหตุที่ทาให้โวลท์ตกคร่อมเซลล์แตกต่างกัน ดังนั้นการทา Equalize charge จะเป็นการแก้ปัญหา
ดังกล่ าว โดยการเพิ่ มโวลท์ ให้ สู งขึ้น กว่าระดับ Float Charge ซึ่งท าให้ ป ริม าณการไหลของกระแสในวงจร
แบตเตอรี่สูงขึ้น เพื่อแก้ปัญหาอันเกิดกับแบตเตอรี่ และส่งผลให้แบตเตอรี่มีประจุเต็ม 100 % และพร้อมจ่าย
พลังงานออกมาในเวลาที่ต้องการใช้งาน ระดับโวลท์เตจ Equalize charge จะใช้โวลท์เตจระหว่าง 2.33 - 2.40
V/cell เช่น แบตเตอรี่ 6 เซลล์เครื่องประจุไฟฟ้าต้องผลิตให้แบตเตอรี่เท่ากับ 6 X 2.33 = 13.98 V
การหาค่าประสิทธิภาพพลังงานของแบตเตอรี่
เมื่อทาการประจุและนาแบตเตอรี่ที่ประจุมาทาการปล่อยประจุในสภาวะต่าง ๆ ทาให้สามารถ
หาค่าประสิทธิภาพของแบตเตอรี่ได้ การหาค่าประสิทธิภาพของแบตเตอรี่หาได้จากสมการ
 E out
%ηenergy   100%
 E in

% energy = ค่าประสิทธิภาพของแบตเตอรี่
 Eout = ผลรวมพลังงานจ่ายไฟออก
 Ein = ผลรวมพลังงานที่จ่ายให้แบตเตอรี่
9

สัญญา ลักษณะ/เรียบเรียง

เอกสารอ้างอิง
1. ข้อมูลจากเว็ปไซต์ www. teenet.chiangmai.ac.th
2. ข้อมูลจากเว็ปไซต์ www.skn.ac.th
3. ข้อมูลจากเว็ปไซต์ www.waterindex.com
4. ข้อมูลจากเว็ปไซต์ www.techtron.co.th
5. ข้อมูลจากเว็ปไซต์ www.ee.mut.ac.th
6. ปริญญานิพนธ์ การทดสอบสมรรถนะของแบตเตอรี่ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้ากาลัง คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลนีมหานคร ปี 2548
7. ข้อมูลจากเว็ปไซต์ www. asiadirect.co.th

You might also like