You are on page 1of 8

ความรู้ เกีย่ วประเทศไทย 4.

โดย

งานบริหารงานบุคคล องค์การบริหารส่ วนตาบลคลองนารายณ์

อาเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี
ความรู้ เกีย่ วประเทศไทย 4.0

ประเทศไทย 1.0 – 4.0


ประเทศไทยในอดี ตที่ ผ่านมามี ก ารพัฒ นาด้านเศรษฐกิ จ เป็ นไปอย่างต่ อเนื่ อ งตั้งแต่ ยุค แรก เริ่ ม กัน ที่ …
ประเทศไทย 1.0 ยุคของเกษตรกรรมคนไทยปลูกข้าว เลี้ยงเป็ ด เลี้ยงไก่ เลี้ยงหมู ปลูกพืชสวน พืชไร่
แล้วนาผลผลิตเพื่อส่ งไปขายสร้างรายได้ในการดารงชีวิต

ประเทศไทย 2.0 ยุคของอุตสาหกรรมเบา ในยุคนี้ใช้แรงงานที่มีราคาถูก แต่เริ่ มจะมีเครื่ องไม้


เครื่ องมือเข้ามาช่วยผลิต เช่น เสื้ อผ้า กระเป๋ า เครื่ องดื่ม เครื่ องเขียน เครื่ องประดับ อาหาร เครื่ องใช้ไฟฟ้ า
เป็ นต้น ซึ่งในยุคนี้ประเทศเริ่ มมีศกั ยภาพมากขึ้น
-2-

ประเทศไทย 3.0 ยุคที่ เราอยู่ในขณะนี้ เป็ นยุคอุตสาหกรรมหนัก ผลิ ตและขายส่ งออกเหล็กกล้า


รถยนต์ ก๊าชธรรมชาติ และปูนซีเมนต์ เป็ นต้น โดยพึ่งพาเทคโนโลยีจากต่างประเทศ เพื่อเน้นการส่ งออกเป็ น
หลัก

ประเทศไทย 4.0 “ไทยแลนด์ 4.0” เป็ นวิ สั ย ทัศ น์ เชิ ง นโยบายการพัฒ นาเศรษฐกิ จ ของประเทศไทย
หรื อ โมเดลพัฒนาเศรษฐกิจของรัฐบาล ภายใต้การนาของพลเอกประยุทธ์ จันทร์ โอชา นายกรัฐมนตรี และ
หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่ งชาติ (คสช.) ที่เข้ามาบริ หารประเทศบนวิสัยทัศน์ที่ ว่า “มั่นคง มั่งคั่ง และ
ยั่งยืน” ที่มีภารกิจสาคัญในการขับเคลื่อนปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ เพื่อปรับแก้ จัดระบบ ปรับทิศทาง และ
สร้างหนทางพัฒนาประเทศให้เจริ ญ สามารถรับมื อกับโอกาสและภัยคุกคามแบบใหม่ ๆที่ เปลี่ ยนแปลง
อย่างเร็ ว รุ นแรงในศตวรรษที่ 21 ได้
“ประเทศไทย 4.0” เป็ นความมุ่งมัน่ ของนายกรัฐมนตรี ที่ตอ้ งการปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจ
ไปสู่ “Value–Based Economy” หรื อ “เศรษฐกิจที่ขบั เคลื่อนด้วยนวัตกรรม” กล่าวคือ ในปั จจุบนั เรายังติด
อยูใ่ นโมเดลเศรษฐกิจแบบ “ทามาก ได้นอ้ ย” เราต้องการปรับเปลี่ยนเป็ น “ทาน้อย ได้มาก” นัน่ หมายถึงการ
ขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างน้อยใน 3 มิติสาคัญ คือ
1. เปลี่ยนจากการผลิตสิ นค้า “โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้าเชิง “นวัตกรรม”
2.เปลี่ ยนจากการขับเคลื่ อนประเทศด้วยภาคอุ ตสาหกรรม ไปสู่ การขับเคลื่ อนด้วยเทคโนโลยี ความคิ ด
สร้างสรรค์ และนวัตกรรม
3.เปลี่ยนจากการเน้นภาคการผลิตสิ นค้า ไปสู่การเน้นภาคบริ การมากขึ้น
-3-

“ประเทศไทย 4.0” จึงเป็ นการเปลี่ยนผ่านทั้งระบบใน 4 องค์ประกอบสาคัญ คือ


1.เปลี่ยนจากการเกษตรแบบดั้งเดิม (Traditional Farming) ในปั จจุบนั ไปสู่ การเกษตรสมัยใหม่ ที่เน้นการ
บริ หารจัดการและเทคโนโลยี (Smart Farming) โดยเกษตรกรต้องร่ ารวยขึ้น และเป็ นเกษตรกรแบบเป็ น
ผูป้ ระกอบการ (Entrepreneur)
2.เปลี่ยนจาก Traditional SMEs หรื อ SMEs ที่มีอยู่ที่รัฐต้องให้ความช่ วยเหลืออยู่ตลอดเวลา ไปสู่ การเป็ น
Smart Enterprises และ Startups ที่มีศกั ยภาพสูง
3.เปลี่ยนจาก Traditional Services ซึ่งมีการสร้างมูลค่าค่อนข้างต่า ไปสู่ High Value Services
4.เปลี่ยนจากแรงงานทักษะต่าไปสู่แรงงานที่มีความรู ้ ความเชี่ยวชาญ และทักษะสูง

ขับเคลือ่ นเศรษฐกิจด้ วยนวัตกรรม

“ประเทศไทย 4.0” จึงเป็ นการพัฒนา “เครื่ องยนต์เพื่อขับเคลื่อนการเติบโตทางเศรษฐกิจชุดใหม่”


(New Engines of Growth) ด้วยการแปลง “ความได้เปรี ยบเชิ งเปรี ยบเทียบ” ของประเทศที่มีอยู่ 2 ด้าน คือ
“ความหลากหลายเชิ งชี ว ภาพ” และ “ความหลากหลายเชิ งวัฒ นธรรม” ให้เป็ น “ความได้เปรี ยบในเชิ ง
แข่งขัน”
โดยการเติมเต็มด้วยวิทยาการ ความคิดสร้างสรรค์ นวัตกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการวิจยั
และพัฒนา แล้วต่อยอดความได้เปรี ยบเชิงเปรี ยบเทียบเป็ น “5 กลุ่มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเป้ าหมาย”
ประกอบด้วย
-4-

1.กลุ่มอาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ (Food, Agriculture & Bio-Tech)


2.กลุ่มสาธารณสุ ข สุ ขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ (Health, Wellness&Bio-Med)
3.กลุ่มเครื่ องมืออุปกรณ์ อจั ฉริ ยะ หุ่ นยนต์ และระบบเครื่ องกลที่ ใช้ระบบอิเล็กทรอนิ กส์ ควบคุ ม (Smart
Devices, Robotics & Mechatronics)
4.กลุ่มดิจิตอล เทคโนโลยีอินเตอร์ เน็ตที่เชื่ อมต่อและบังคับอุปกรณ์ ต่างๆ ปั ญญาประดิษฐ์และเทคโนโลยี
สมองกลฝังตัว (Digital, IoT, Artificial Intelligence & Embedded Technology)
5.กลุ่ ม อุ ต สาหกรรมสร้ างสรรค์ วัฒ นธรรม และบริ ก ารที่ มี มู ล ค่ าสู ง (Creative, Culture & High Value
Services)

ใช้ พลังประชารัฐเดินไปข้ างหน้ า

“ประเทศไทย 4.0” จึ งเป็ นการถัก ทอเชื่ อ มโยงเทคโนโลยีห ลัก ที่ ต ้น น้ า เพื่ อสร้ างความแข็งแกร่ งให้กับ
อุ ต สาหกรรมเป้ าหมายที่ อ ยู่ก ลางน้ า และ Startups ต่ างๆที่ อ ยู่ป ลายน้ า โดยใช้พ ลัง “ประชารั ฐ ” ในการ
ขับเคลื่อน
ผูม้ ีส่วนร่ วมหลักจะประกอบด้วยภาคเอกชน ภาคการเงิน การธนาคาร มหาวิทยาลัย และสถาบันวิจยั ต่างๆ
โดยเน้นตามความถนัดและจุดเด่นของแต่ละองค์กร และมีภาครัฐเป็ นตัวสนับสนุน
ตัวอย่างเช่น ในกลุ่มอาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ จะมีภาคเอกชน คือ กลุ่มมิตรผล บริ ษทั ไทยยู
เนี่ยนโฟรเซ่นโปรดักส์ และเครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ เป็ นแกนหลัก โดยมีภาคการเงิน คือ ธนาคารเพื่อการเกษตร
และสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) และธนาคารออมสิ นสนับสนุนทางด้านการเงิน
มีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และมหาวิทยาลัยที่เน้นการวิจยั ในภูมิภาคต่างๆ เป็ นแกนนาในการทาวิจยั และ
พัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ ร่ วมกับมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจยั ต่างประเทศ อาทิ มหาวิทยาลัย Wageningen
ซึ่งเป็ นมหาวิทยาลัยวิจยั อันดับหนึ่ งของเนเธอร์ แลนด์ มหาวิทยาลัย Purdue, UC Davis และ Cornell ซึ่ งจะมี
ภาครัฐคอยให้การสนับสนุน เช่น กระทรวงการคลัง และสานักงานส่ งเสริ มการลงทุน(บีโอไอ)
ซึ่ งหนึ่ งในโครงการที่กาลังผลักดันผ่านกระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี คือ การจัดตั้งเมืองนวัตกรรม
อาหาร (Food Innopolis) เป็ นต้น
-5-

โดยทั้ง 5 กลุ่มเทคโนโลยีหลักและอุตสาหกรรมเป้ าหมายใน “ประเทศไทย 4.0” เป็ นส่ วนหนึ่ งของ “10
อุตสาหกรรมแห่ งอนาคต” (5 อุตสาหกรรมที่เป็ น Extending S-Curve บวก 5 อุตสาหกรรมที่เป็ น New S-
Curve) ที่ รัฐ บาลได้ป ระกาศไปก่ อนหน้านั้น กล่ าวคื อ ใน “10 อุ ตสาหกรรมแห่ งอนาคต” จะมี บ างกลุ่ ม
อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีที่ยงั ต้องพึ่งพิงการลงทุนจากต่างประเทศเป็ นหลัก อาทิ อุตสาหกรรมการบิน
(Aviation)
ส่ วนใน 5 กลุ่มเทคโนโลยีหลักและอุตสาหกรรมเป้ าหมายใน “ประเทศไทย 4.0” จะเป็ นส่ วนที่ประเทศไทย
ต้องการพัฒนาด้วยตนเองเป็ นหลัก แล้วค่อยต่อยอดด้วยเครื อข่ายความร่ วมมือจากต่างประเทศ ซึ่งสอดรับกับ
“บันได 3 ขั้น” ของ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของ “การพึ่งพาตนเอง พึ่งพากันเอง และรวมกันเป็ นกลุ่ม
อย่างมีพลัง” นัน่ เอง

ตั้งเป้ าสั มฤทธิ์ใน 3–5 ปี

เป้ าหมายของการด าเนิ น งานตามยุ ท ธศาสตร์ “ประเทศไทย 4.0” คื อ การขับ เคลื่ อ น 5 กลุ่ ม
เทคโนโลยีและอุตสาหกรรมเป้ าหมายให้เกิ ดผลสัมฤทธิ์ ภายในระยะเวลา 3-5 ปี ข้างหน้า เป็ นการเปลี่ยน
“ปั ญหาและความท้าทาย” ให้เป็ น “ศักยภาพและโอกาส” ในการสร้างความมัน่ คง มัน่ คัง่ และยัง่ ยืนให้กบั
ประเทศอย่างเป็ นรู ปธรรม
เช่ น เปลี่ยนจากปั ญหาการเข้าสู่ สังคมผูส้ ู งอายุ ให้เป็ น สังคมผูส้ ู งอายุที่มีพลัง (Active Aging) การพัฒนา
หุ่นยนต์ทางการแพทย์ การยกระดับเมืองให้เป็ น Smart City
การเปลี่ ยนสิ น ค้าโภคภัณ ฑ์ต่างๆ เช่ น ข้าว ยางพารา น้ าตาล มัน ส าปะหลัง ให้กลายเป็ นอาหารสุ ขภาพ
(Functional Foods) หรื อผลิตภัณฑ์เสริ มอาหาร (Nutraceutics) ที่มีมูลค่าสูง การเปลี่ยนการเกษตรแบบดั้งเดิม
ให้เป็ นการเกษตรแม่นยาสู ง (Precision Farming) และพัฒนาระบบการบริ หารจัดการและเทคโนโลยีน้ า เป็ น
ต้น
กล่าวโดยสรุ ป กระบวนทัศน์ในการพัฒนาประเทศ ภายใต้ “ประเทศไทย 4.0” มี 3 ประเด็นที่สาคัญ
1.เป็ นจุดเริ่ มต้นของยุทธศาสตร์ ชาติ 20 ปี ในการขับเคลื่อนไปสู่ การเป็ นประเทศที่มงั่ คัง่ มัน่ คง และยัง่ ยืน
อย่างเป็ นรู ปธรรม
2.เป็ น “Reform in Action” ที่มีการผลักดันการปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ การปฏิรูปการวิจยั และการพัฒนา
และการปฏิรูปการศึกษาไปพร้อมๆ กัน
-6-

3.เป็ นการผนึ กกาลังของทุกภาคส่ วนภายใต้แนวคิด “ประชารัฐ” โดยเป็ นประชารัฐที่ผนึ กกาลังกับเครื อข่าย


พันธมิตรทางธุ รกิจ การวิจยั พัฒนา และบุคลากรระดับโลก ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียงของการ
“รู ้จกั เติม รู ้จกั พอ และรู ้จกั ปัน”

ประเทศไทย 4.0 เปลีย่ นให้ มรี ายได้ สูงขึน้

ในช่ วงแรกประเทศไทย 3.0 มีการเติบโตอย่างต่อเนื่ อง แต่ว่าปั จจุบนั กลับเติบโตได้เพียงแค่ร้อยละ 3 – 4


ต่อปี เท่านั้น ทาให้ประเทศไทยต้องตกอยูใ่ นภาวะรายได้ปานกลางเป็ นเวลากว่า 20 ปี ในขณะที่ทวั่ โลกมีการ
แข่งขันที่สูงขึ้น ดังนั้นประเทศไทยจึงต้องเปลี่ยนสู่ ยคุ ประเทศไทย 4.0 ให้เป็ นเศรษฐกิจใหม่ (New Engines
of Growth) เพื่อให้ประเทศไทยกลายเป็ นกลุ่มประเทศที่มีรายได้สูงขึ้นนัน่ เอง โดยตั้งเป้ าหมายว่าจะให้เกิด
ภายใน 3 -5 ปี ข้างหน้านี้
-7-

ประเทศไทย 4.0 เปลีย่ นแปลงอะไรบ้ าง

ปั จ จุ บ ัน ประเทศไทยยัง ติ ด อยู่กับ โมเดลท ามากได้น้อ ย จึ ง ต้อ งการปรั บ เปลี่ ย นให้ เป็ นท าน้ อ ยได้ม าก
ต้องเปลี่ยนจากการผลิตสิ นค้าโภคภัณฑ์ไปสู่ สินค้านวัตกรรม และเปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วย
ภาคอุตสาหกรรมไปสู่ การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม อย่างการเกษตร
ต้องเปลี่ ยนจากการเกษตรแบบดั้งเดิ มไปสู่ การเกษตรแบบสมัยใหม่ ที่ มีการเน้น เรื่ องการบริ หารจัดการ
โดยการน าเทคโนโลยี เข้ามาใช้ หรื อ ที่ เรี ย กว่ า Smart Farming โดยเกษตรกรต้อ งเริ่ ม รวยขึ้ น และเป็ น
เกษตรกรที่ผูป้ ระกอบการเปลี่ยนจาก SME แบบเดิ มไปสู่ Smart Enterprises และ Startup ที่มีศกั ยภาพสู ง
และเปลี่ยนจากแรงงานทักษะต่าไปสู่แรงงานที่มีความรู ้ ความเชี่ยวชาญและทักษะสูงขึ้น

You might also like