You are on page 1of 203

ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ภาค ก ความรอบรู้ ความสามารถทั่วไป ความรู้ ความเข้ าใจเกีย่ วกับความ


ประพฤติและการปฏิบัตขิ องวิชาชีพครู และความถนัดและเจตคติต่อวิชาชีพครู
(คะแนนเต็ม 150 คะแนน)
ภาค ก. ส่ วนที่ 1 ( 50 ข้ อ ) 50 นาที วิชาความรอบรู้
1. ความรอบรู้ (คะแนนเต็ม 50 คะแนน)
๑.๑ สั งคม เศรษฐกิจ การเมือง และเหตุการณ์ ปัจจุบัน
๑.๒ นโยบายของรัฐบาลทีเ่ กี่ยวข้ องกับการศึกษา
๑.๓ วัฒนธรรมไทย และขนบธรรมเนียมประเพณีไทย
๑.๔ กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้ องกับการปฏิบัติราชการ
๑.๔.๑ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม
๑.๔.๒ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และที
แก้ไขเพิม่ เติม
๑.๔.๓ พระราชบัญญัติสภาครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๖
๑.๔.๔ พระราชบัญญัติระเบียบข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๗ และ
ทีแ่ ก้ไขเพิม่ เติม ๑.๔.๕ พระราชบัญญัติค้ ุมครองเด็ก พ.ศ. ๒๕๔๖
๑.๔.๖ พระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสาหรับคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๑
๑.๔.๗ กฎหมาย กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ และวิธีการทีเ่ กี่ยวข้ องโดยตรงกับส่ วนราชการนั้น
กาหนด
ภาค ก. ส่ วนที่ 2 ( 50 ข้ อ ) 50 นาที วิชาความถนัดทั่วไป
- ความสามารถด้านตัวเลข ให้ทดสอบโดยการวัดความสามารถในการคิดเลข สรุ ปเหตุผลเกี่ยวกับ
ตัวเลขและข้อมูลต่าง ๆ
- ความสามารถด้านภาษาไทย ให้ทดสอบความเข้าใจภาษา การอ่านจับใจความ การสรุ ปความ การ
ตีความ การขยายความ การเรี ยงข้อความ การสะกดคา การแต่งประโยค และคาศัพท์
- ความสามารถด้านเหตุผล ให้ทดสอบโดยการวัดความสามารถในการคิดสรุ ปหาเหตุผล และ
อุปมาอุปไมย
- ภาษาอังกฤษเบื้องต้นและการสื่ อสาร

1
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ภาค ก. ส่ วนที่ 3 ( 50 ข้ อ ) 50 นาที วิชา คุณธรรม จริยธรรม อุดดมการณ์


มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาและมาตรฐานการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน เรื่ องต่ อไปนี้
3.1 คุณธรรม จริ ยธรรมและอุดมการณ์ความเป็ นครู
3.2 มาตรฐานความรู ้และประสบการณ์วิชาชีพ
3.3 มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน มาตรฐานของการปฏิบตั ิตน
3.4 จรรยาบรรณวิชาชีพ วินยั และการรักษาวินยั
3.5 มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ภาค ข คะแนน 150 คะแนน แบ่งออก เป็ น 2 ส่วน คือ


- วิชาการศึกษา 75 ข้ อ 75 คะแนน
- วิชาเอก 75 ข้ อ 75 คะแนน

ถ้ าสอบติดต้ องได้ คะแนน =


ภาค ก ต้องได้มากกว่า 60 % หรื อ 90 คะแนน จาก 150 ข้อ
ภาค ข ต้องได้มากกว่า 60% หรื อ 90 คะแนน จาก 150 ข้อ
ภาค ค ต้องได้มากกว่า 40 คะแนน จาก 50 คะแนน
ภาค ก. ส่ วนที่ 1 ( 50 ข้ อ ) 50 นาที วิชาความรอบรู้ (๑.๑ สั งคม เศรษฐกิจ การเมือง และเหตุการณ์
ปัจจุบัน)
“ไทยแลนด์ 4.0” เป็ นวิสัยทัศน์ เชิ ง นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิ จของประเทศไทย หรื อ โมเดล
พัฒนาเศรษฐกิจของรัฐบาล ภายใต้การนาของพลเอกประยุทธ์ จันทร์ โอชา นายกรัฐมนตรี และหัวหน้าคณะ
รักษาความสงบแห่ งชาติ (คสช.) ที่เข้ามาบริ หารประเทศบนวิสัยทัศน์ ที่ ว่ า “มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ” ที่มี
ภารกิจสาคัญในการขับเคลื่อนปฏิรูปประเทศด้านต่าง ๆ เพื่อปรับแก้ จัดระบบ ปรับทิศทาง และสร้างหนทาง
พัฒนาประเทศให้เจริ ญ สามารถรับมือกับโอกาสและภัยคุกคามแบบใหม่ ๆที่เปลี่ยนแปลงอย่างเร็ ว รุ นแรง
ในศตวรรษที่ 21 ได้
Thailand 1.0 ก็คือยุคของเกษตรกรรม คนไทยปลูกข้าว พืชสวน พืชไร่ เลี้ยงหมู เป็ ด ไก่ นาผลผลิต
ไปขาย สร้างรายได้และยังชีพ

2
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

Thailand 2.0 ซึ่ งก็คือยุคอุตสาหกรรมเบา ในยุคนี้ เรามีเครื่ องมือเข้ามาช่ วย เราผลิตเสื้ อผ้า กระเป๋ า
เครื่ องดื่ม เครื่ องเขียน เครื่ องประดับเป็ นต้น ประเทศเริ่ มมีศกั ยภาพมากขึ้น
Thailand 3.0 (ซึ่ งเป็ นยุคปั จจุ บัน ) เป็ นยุคอุ ตสาหกรรมหนัก เราผลิ ตและขายส่ งออกเหล็ ก กล้า
รถยนต์ ก๊าซธรรมชาติ ปูนซี เมน เป็ นต้น โดยใช้เทคโนโลยีจากต่างประเทศ เพื่อเน้นการส่ งออก
ในปั จจุบนั ประเทศไทยยังติดอยูใ่ นโมเดลเศรษฐกิจแบบ “ทามาก ได้นอ้ ย” จึงต้องการปรับเปลี่ ยน
เป็ น “ทาน้อย ได้มาก” ก็จะต้องเปลี่ ยนจากการผลิ ตสิ นค้า “โภคภัณฑ์ ” ไปสู่ สินค้ าเชิ ง “นวัตกรรม” และ
เปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วย
- ภาคอุตสาหกรรม ไปสู่ การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม
อย่างการเกษตรก็ตอ้ งเปลี่ยนจากการเกษตรแบบดั้งเดิม ไปสู่ การเกษตรสมัยใหม่ ที่เน้นการบริ หาร
จัดการและใช้เทคโนโลยีหรื อ Smart Farming โดยเกษตรกรต้องร่ า รวยขึ้ น และเป็ นเกษตรกรแบบเป็ น
ผูป้ ระกอบการ
เปลี่ยนจาก SMEs แบบเดิมไปสู่ การเป็ น Smart Enterprises และ Startups ที่มีศกั ยภาพสู ง
เปลี่ยนจากรู ปแบบบริ การแบบเดิมซึ่ งมีการสร้างมูลค่าค่อนข้างต่า ไปสู่ บริ การที่มีมูลค่าสู ง
เปลี่ยนจากแรงงานทักษะต่าไปสู่ แรงงานที่มีความรู ้และทักษะสู ง
ซึ่ งโมเดลนี้ จะส าเร็ จ ได้ ต้อ งใช้ แ นวทาง สานพลั ง ประชารั ฐ โดยมุ่ ง เน้ น การมี ส่ ว นร่ ว มของ
ภาคเอกชน ธนาคาร ประชาชน สถาบันศึ กษาและสถาบันวิจยั ต่างๆ ประกอบกับการส่ งเสริ ม SME และ
Startup เพื่อขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน พร้อมต้องมีโครงสร้างด้านการสื่ อสารและโทรคมนาคมที่มี
คุ ณภาพ มีอินเตอร์ เน็ ตที่คลอบคลุมประชากรมากที่สุด เพื่อให้สามารถเชื่ อมโยงทุ กภาคส่ วนได้อย่างไม่
สะดุด

3
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

เริ่มออกวิง่ 1 พฤศจิกายนนี้
ระยะเวลา 55 วัน ระยะทาง 2,191 กม.
ตูน บอดีส้ แลม กับโครงการ "ก้าวคนละก้าวเพื่อ 11 โรงพยาบาลทัว่ ประเทศ" ด้วยการบริ จาคเงิน
เพื่อซื้ออุปกรณ์ ทางการแพทย์ ให้กบั 11 โรงพยาบาลที่ยงั ขาดแคลน และต้องการความช่วยเหลือและแรง
สนับสนุนจากพวกเราคนไทยทุกคน ในการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการดูแลรักษาและคุณภาพชีวติ ผูป้ ่ วยใน
โรงพยาบาลที่ดีข้ ึน รวมถึงเป็ นขวัญกาลังใจให้ หมอ พยาบาลผูเ้ สี ยสละทัว่ ประเทศ
สาหรับรายชื่ อโรงพยาบาลทั้ง 11 แห่ ง ประกอบไปด้ วย
1. โรงพยาบาลยะลา,
2. โรงพยาบาลสุ ราษฎร์ธานี ,
3. โรงพยาบาลศูนย์ราชบุรี,
4. โรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช จ.สุ พรรณบุรี,
5. โรงพยาบาลสระบุรี,
6. โรงพยาบาลขอนแก่น,
7. โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร จ.ปราจีนบุรี,
8. โรงพยาบาลนครพิงค์ จ.เชี ยงใหม่
9. โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
10. โรงพยาบาลน่าน ซึ่ งไม่ใช่โรงพยาบาลศูนย์ แต่อยูใ่ นพื้นที่พิเศษห่างไกลจากตัวเมือง และ
11. โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

4
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

"แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 12" ดังนี้


สาระสาคัญของกรอบรู ปแบบและเค้าโครงเบื้องต้นของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จะสอดรับกับ
กรอบยุทธศาสตร์ ชาติระยะยาว 20 ปี ในลักษณะของการถ่ายทอดยุทธศาสตร์ ระยะยาวลงสู่ การปฏิบตั ิใน
ช่วงเวลา 5 ปี โดยรู ปแบบและเค้าโครงเบื้องต้นของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จะประกอบด้วย 4 ส่ วน ดังนี้
ส่ วนที่ 1 กรอบหลักการของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12
ส่ วนที่ 2 การประเมินสถานะของประเทศ
ส่ วนที่ 3 วัตถุประสงค์และเป้ าหมายในภาพรวม
ส่ วนที่ 4 ยุทธศาสตร์ การพัฒนาประเทศ
ส่ วนที่ 5 การขับเคลื่อนและติดตามประเมินผลแผนพัฒนา

วิสัยทัศน์
สู่ ความมัน่ คง มัง่ คัง่ และยัง่ ยืน

กรอบวิสัยทัศน์ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12


ให้ความสาคัญกับการกาหนดทิศทางการพัฒนาที่มุ่งสู่ การเปลี่ยนผ่านประเทศไทยจากประเทศที่มีรายได้
ปานกลางไปสู่ ประเทศที่มีรายได้สูง มีความมัน่ คง และยัง่ ยืน สังคมอยูร่ ่ วมกันอย่างมีความสุ ข

กรอบวิสัยทัศน์ และเป้ าหมาย


1. กรอบวิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 จากสถานะของประเทศและบริ บทการเปลี่ยนแปลงต่าง
ๆ ที่ประเทศกาลังประสบอยู่ทาให้การกาหนดวิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ยังคงมีความต่อเนื่ องจาก
วิสัยทัศน์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 และ กรอบหลักการของการวางแผนที่น้อมนาและประยุกต์ใช้หลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพียง ยึดคนเป็ นศูนย์กลางของการพัฒนาอย่างมีส่วนร่ วม การพัฒนาที่ยดึ หลักสมดุล ยัง่ ยืน
โดยวิสัยทัศน์ของการพัฒนาในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ต้องให้ความสาคัญกับการกาหนดทิศทางการพัฒนา
ที่มุ่งสู่ การเปลี่ยนผ่านประเทศไทยจากประเทศที่มีรายได้ปานกลางไปสู่ ประเทศที่มีรายได้สูง มีความมัน่ คง
และยัง่ ยืน สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุ ข และนาไปสู่ การบรรลุ วิสัยทัศน์ระยะยาว “มัน่ คง มัง่ คัง่ ยัง่ ยืน”
ของประเทศ
2. การกาหนดตาแหน่ งทางยุทธศาสตร์ ของประเทศ (Country Strategic Positioning) เป็ นการกาหนด
ตาแหน่งทางยุทธศาสตร์ ของประเทศที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ชาติที่สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ(สศช.) ได้จดั ทาขึ้น ประเทศไทยเป็ นประเทศรายได้สูงที่มีการกระจายรายได้

5
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

อย่างเป็ นธรรม เป็ นศูนย์กลางด้านการขนส่ งและโลจิสติกส์ของภูมิภาคสู่ ความเป็ นชาติการค้าและบริ การ


(Trading and Service Nation) เป็ นแหล่งผลิตสิ นค้าเกษตรอินทรี ยแ์ ละเกษตรปลอดภัย แหล่ง
อุตสาหกรรมสร้างสรรค์และมีนวัตกรรมสู งที่เป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อม
เป้ าหมาย
1. การหลุดพ้นจากกับดักประเทศรายได้ปานกลางสู่ รายได้สูง
2. การพัฒนาศักยภาพคนให้สนับสนุนการเจริ ญเติบโตของประเทศและการสร้าง สังคมสู งวัยอย่า
มีคุณภาพ
3. การลดความเหลื่อมล้ าในสังคม
4. การสร้างการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมที่เป็ นมิตรกับสิ่ งแวดล้อม
5. การบริ หารราชการแผ่นดินที่มีประสิ ทธิ ภาพ

*** วางรากฐานการพัฒนาประเทศไปสู่ สังคมทีม่ ีความสุ ขอย่ างมั่นคง มั่งคั่ง และยัง่ ยืน

แผนพัฒนาเศรษฐกิ จและสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉบับ ที่ 12 ได้ก าหนดเป้ า หมาย ยุท ธศาสตร์ และแนว
ทางการพัฒนาประเทศในระยะ 5 ปี ซึ่ งจะเป็ นแผนที่มีความสาคัญในการวางรากฐานการพัฒนาประเทศไปสู่
สังคมที่มีความสุ ขอย่างมัน่ คง มัง่ คัง่ และยัง่ ยืน สอดคล้องตามยุทธศาสตร์ ชาติ 20 ปี ที่เป็ นกรอบการพัฒนา
ประเทศในระยะยาว
รัฐบาลมีนโยบายในการสร้างความมัน่ คงและเข้มแข็งให้กบั ระบบเศรษฐกิจของประเทศ รวมทั้งเร่ ง
สร้ างสังคมที่มีคุณภาพ โดยการขจัดอุปสรรคต่าง ๆ ที่มีต่อการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิ จและการลดความ
เหลื่ อมล้ าทางสังคม ตลอดจนการวางแผนการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ในระยะยาว ครอบคลุ มถึ งการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน การสร้างความมัน่ คง มัง่ คัง่ ทางเศรษฐกิจและสังคม
ของประเทศ เป็ นสิ่ งสาคัญที่ประเทศจะต้องมีทิศทางและเป้ าหมายการพัฒนาระยะยาวที่ชดั เจน โดยทุกภาค
ส่ วนในสังคมต้องร่ วมมือกันอย่างเข้มแข็ง เพื่อผลักดันให้เกิดผลสัมฤทธิ์ อย่างต่อเนื่ อง และสอดรับกับการ
ปฏิรูปประเทศที่มุ่งสู่ ความ “มัน่ คง มัง่ คัง่ และยัง่ ยืน” ในอนาคต

เน้ นให้ “คนเป็ นศูนย์ กลางการพัฒนา” สร้ างความมั่นคงของชาติ พัฒนาคนทุกวัยให้ เป็ น คนดี คนเก่ ง

6
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”


สาหรับแผนพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติของประเทศในระยะ 5 ปี จะยึดหลัก “ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง” ต่อเนื่ องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับก่อนหน้า เพื่อให้การพัฒนาในทุกมิติมีการบูรณาการบน
ทางสายกลาง มีความพอประมาณ มีเหตุผล รวมถึงมีระบบภูมิคุม้ กันที่ดี สอดคล้องกับภูมิสังคม การพัฒนา
ทุกด้าน มีดุลยภาพ ทั้งมิติเศรษฐกิ จ สังคม และระบบนิ เวศน์ มีความสอดรับ เกื้อกูล และพึ่งพาอาศัยซึ่ งกัน
และกัน โดยการพัฒนาในมิติหนึ่ งต้องไม่ส่งผลกระทบทางลบต่อมิติอื่นๆ รวมทั้งต้องมุ่งเน้นให้ “คนเป็ น
ศู นย์ก ลางการพัฒนา” สร้ า งความมัน่ คงของชาติ พัฒนาคนทุ ก วัย ให้เป็ น คนดี คนเก่ ง มี ศ กั ยภาพ และ
ความคิดสร้ างสรรค์ ซึ่ งเป็ นหัวใจสาคัญในการเพิ่มศักยภาพการแข่งขันทั้งในภาคการผลิ ตและภาคบริ การ
เพื่อสร้างความเข้มแข็ง มีคุณธรรมจริ ยธรรม มีจิตสานึ กรับผิดชอบต่อส่ วนรวมนาไปสู่ การสร้างสังคมที่พึง
ปรารถนา รวมถึงมีจิตอนุ รักษ์ รักษา ฟื้ นฟู และใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมอย่าง
ถูกต้องและเหมาะสม

7
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

คาสั่ งหัวหน้ าคณะรักษาความสงบแห่ งชาติ ที่ 1 / 2560


เรื่ อง การแก้ ไขปัญหาการบริหารงานบุคคลของกระทรวงศึกษาธิการ
.............................................................................................................................................
โดยที่ปัจจุบนั กระทรวงศึกษาธิ การมี อ.ก.พ. กรม ที่ปฏิบตั ิหน้าที่ อ.ก.พ. กระทรวง จ านวนห้าคณะ
ตามที่กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริ หารราชการกระทรวงศึกษาธิ การกาหนดไว้ แต่ การดาเนินการในลักษณะ
ดังกล่ าวส่ งผลให้ การบริ หารงานบุคคลของกระทรวงศึกษาธิการมีความแตกต่ างและไม่ เป็ น เอกภาพในด้ าน
มาตรฐานของการบริหารงานบุคคล นอกจากนี้ ในการบริหารราชการของ กระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาคยัง
มีปัญหาเกี่ยวกับอัตรากาลังและการกาหนดตาแหน่ งศึกษาธิการภาค และรองศึกษาธิ การภาคเพื่อรองรับการ
จัดตั้งสานักงานศึกษาธิ การภาค ตามคาสั่งหัวหน้าคณะรักษา ความสงบแห่ งชาติ ที่ ๑๑/๒๕๕๙ เรื่ อง การ
บริหารราชการของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค ลงวันที่ ๒๑ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๕๙

*** ดั ง นั้ น เพื่ อ เป็ นการแก้ ไขปั ญหาดั ง กล่ าวโดยเร่ งด่ วน จึ ง จ าเป็ นต้ องก าหนดให้
กระทรวงศึกษาธิการมี อ.ก.พ. ขึ้นคณะหนึ่ง เพื่อทาหน้ าที่ อ.ก.พ. กระทรวง เพียงคณะเดียว และให้มีการ
เกลี่ ย อัตราก าลัง ในกระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารเพื่ อก าหนดตาแหน่ ง และแต่ ง ตั้ง เป็ น ศึ ก ษาธิ ก ารภาคและรอง
ศึ ก ษาธิ ก ารภาค อัน จะท าให้ ส ามารถขับ เคลื่ อ นการปฏิ รู ปการศึ ก ษาและการบริ หารราชการของ
กระทรวงศึกษาธิ การให้มีประสิ ทธิ ภาพยิง่ ขึ้น
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 44 ของรั ฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว)
พุทธศักราช 2557 หัวหน้ าคณะรักษาความสงบแห่ งชาติ โดยความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบ
แห่ งชาติจึงมีคาสั่ ง ดังต่ อไปนี้

ข้ อ 1 ให้ กระทรวงศึกษาธิการมี อ.ก.พ. กระทรวง คณะหนึ่ง ประกอบด้ วย


(1) รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงศึกษาธิ การ เป็ นประธาน
(2) ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็ นรองประธาน
(3) อนุกรรมการ( 5 คน)โดยตาแหน่ง ได้แก่
- เลขาธิการสภาการศึกษา
- เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
- เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
- ผูแ้ ทน ก.พ. ซึ่ งตั้งจากข้าราชการพลเรื อนในสานักงาน ก.พ. จานวนหนึ่งคน
8
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

(4) อนุกรรมการซึ่ งประธานแต่งตั้งจากผูท้ รงคุณวุฒิดา้ นการบริ หารทรัพยากรบุคคล ด้าน


การบริ หารและการจัดการ และด้านกฎหมาย ซึ่งมีผลงานเป็ นที่ประจักษ์ในความสามารถมาแล้ว
และมิได้เป็ นข้าราชการในกระทรวงศึกษาธิการ จานวนไม่ เกิน 3 คน
(5) อนุกรรมการซึ่งประธานแต่งตั้งจากข้าราชการพลเรื อนผูด้ ารงตาแหน่งประเภทบริ หาร
ระดับสู งในกระทรวงศึกษาธิ การซึ่ งต้องมิใช่อนุกรรมการตาม (๓) โดยให้คดั เลือกกันเองจาก
ข้าราชการ พลเรื อนผูด้ ารงตาแหน่งดังกล่าว จานวนไม่เกินห้าคน ให้ อ.ก.พ. นี้ ตง้ ั เลขานุ การ จานวน
หนึ่งคน ข้อ ๒ ให้ อ.ก.พ. กระทรวง มีอานาจหน้าที่ตามที่กาหนดไว้ใน

ข้ อ 4 ให้ สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ รับผิดชอบงานธุรการของ อ.ก.พ.


กระทรวง
ข้อ 5 มิให้นาความในมาตรา ๒๒ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพล
เรื อน พ.ศ. ๒๕๕๑ มาใช้บงั คับแก่ อ.ก.พ. กรม ของสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สานักงาน
เลขาธิ การสภาการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษา และสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ทั้งนี้ ให้ อ.ก.พ. กรม ดังกล่าวปฏิบตั ิ
หน้าที่ตามอานาจหน้าที่ของ อ.ก.พ. กรม ตามมาตรา ๑๘ แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพล
เรื อน พ.ศ. ๒๕๕๑

ข้ อ 6 ในวาระเริ่มแรกให้ อ.ก.พ. กระทรวง ประกอบด้ วยอนุกรรมการตามข้ อ ๑ (๑) (๒)


และ (๓) จนกว่าจะได้แต่งตั้งอนุกรรมการตามข้อ ๑ (๔) และ (๕) ซึ่งต้องดาเนินการให้แล้วเสร็ จ
ภายใน 90 วันนับ แต่วนั ที่คาสั่งนี้ใช้บงั คับ

ข้อ 8 การใดที่อยูใ่ นระหว่างการดาเนิ นการตามอานาจหน้าที่ของ อ.ก.พ. กรม ของ


สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และสานักงานคณะกรรมการการ
อาชีวศึกษา ที่ปฏิบตั ิหน้าที่ อ.ก.พ. กระทรวง ตามมาตรา ๒๒ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติ
ระเบียบข้าราชการพลเรื อน พ.ศ. ๒๕๕๑ อยูใ่ นวันก่อนวันที่คาสั่งนี้ใช้บงั คับ ให้ อ.ก.พ. กระทรวง
ตามคาสั่งนี้เป็ นผูด้ าเนิ นการต่อไป ให้คณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ หรื อคณะทางานอื่นใด ซึ่ ง
อ.ก.พ. กรม ที่ปฏิบตั ิ หน้าที่ อ.ก.พ. กระทรวง แต่งตั้งไว้อยูใ่ นวันก่อนวันที่คาสัง่ นี้ใช้บงั คับ ปฏิบตั ิ
หน้าที่ต่อไปจนกว่า อ.ก.พ. กระทรวง ตามคาสั่งนี้จะได้มีคาสั่งเป็ นอย่างอื่น

9
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ข้ อ 8 ให้ กระทรวงศึกษาธิการมีตาแหน่ งศึกษาธิการภาค จานวน 12 ตาแหน่ ง เป็ น


ข้ าราชการพลเรื อนสามัญตาแหน่ งประเภทบริ หารระดับสู ง

และมีตาแหน่ งรองศึกษาธิการภาค จานวน 12 ตาแหน่ ง เป็ นข้ าราชการพลเรื อนสามัญ


ตาแหน่ งประเภทบริหารระดับต้ น โดยให้ กระทรวงศึกษาธิ การดาเนินการเกลี่ยอัตรากาลังภายใน
กระทรวงศึกษาธิ การเพื่อนาไปใช้ในการกาหนด ตาแหน่ง

ข้ อ 9 ในกรณีเห็นสมควรนายกรัฐมนตรีหรื อคณะรัฐมนตรีอาจเสนอให้ คณะรักษาความ


สงบ แห่ งชาติแก้ไขเปลีย่ นแปลงคาสั่ งนีไ้ ด้

ข้ อ 10 คาสั่ งนีใ้ ห้ ใช้ บังคับตั้งแต่ วนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้ นไป

สั่ ง ณ วันที่ 10 มกราคม 2560


พลเอก ประยุทธ์ จันทร์ โอชา

หัวหน้ าคณะรักษาความสงบแห่ งชาติ

10
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ภาค ก. ส่ วนที่ 1 ( 50 ข้อ ) 50 นาที วิชาความรอบรู้ (กฎหมายการศึกษา)

คาสั่ งหัวหน้ าคณะรักษาความสงบแห่ งชาติ ที่ 10/2559


เรื่ อง การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค
หลักการและเหตุผล
1.โดยที่ได้ปรากฏข้อเท็จจริ งถึงสภาพปัญหาในการจัดการศึกษาในส่ วนภูมิภาคของประเทศ
2.เกิดจากปั ญหาการสั่งการและการบริ หารจัดการที่ไม่มีประสิ ทธิ ภาพและไม่เป็ นเอกภาพเป็ น
ปัญหาสาคัญ
3.เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูประบบการศึกษาให้สามารถขับเคลื่อนได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
4. เกิดประโยชน์สูงสุ ดต่อการพัฒนาประเทศ
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 44 ของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชัว่ คราว)
พุทธศักราช 2557 หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ โดยความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบ
แห่งชาติจึงมีคาสั่ง ดังต่อไปนี้
ข้อ 2 ให้คณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาคมีอานาจ
หน้าที่ ดังต่อไปนี้
(1) กาหนดทิศทางในการดาเนินงานของกระทรวงศึกษาธิ การในระดับภูมิภาคหรื อจังหวัด
(2) วางแผนงานเกี่ยวกับการบริ หารงานบุคคลของกระทรวงศึกษาธิ การในระดับภูมิภาค
หรื อจังหวัด
(3) พิจารณาการจัดสรรงบประมาณให้แก่หน่วยงานของกระทรวงศึกษาธิ การในระดับภูมิภาค
หรื อจังหวัด
(4) แต่งตั้ง โอน หรื อย้ายผูบ้ ริ หารสถานศึกษา ผูบ้ ริ หารเขตพื้นที่การศึกษา หรื อผูป้ ฏิบตั ิงาน
ในตาแหน่งต่าง ๆ ในหน่วยงานของกระทรวงศึกษาธิ การในระดับภูมิภาคหรื อจังหวัด ทั้งนี้ ตาม
ประเภทหรื อระดับตาแหน่งที่รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงศึกษาธิ การกาหนด
ื ่การศึกษา หรื อผูป้ ฏิบตั ิงานในตาแหน่งต่าง ๆใน
(5) สัง่ ให้ผบู ้ ริ หารสถานศึกษา ผูบ้ ริ หารเขตพ้นที
หน่วยงานของกระทรวงศึกษาธิ การในระดับภูมิภาคหรื อจังหวัด หยุดการปฏิบตั ิหน้าที่หรื อให้พน้ จาก
ตาแหน่ง
(6) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการและคณะทางานเพื่อช่วยเหลือการปฏิบตั ิงานได้ตามความจาเป็ น

11
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

(7) แต่งตั้งคณะอนุกรรมการและคณะทางานตามข้อ 7 (7)


(8) เชิ ญข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้าง หรื อผูป้ ฏิบตั ิงานอื่นในหน่วยงานของรัฐ หรื อบุคคล
ที่เกี่ยวข้องมาสอบถามข้อเท็จจริ ง รวมทั้งเรี ยกเอกสารจากหน่วยงานของรัฐหรื อบุคคลที่เกี่ยวข้องมา
เพื่อประกอบการพิจารณาในระหว่างที่ผบู ้ ริ หารสถานศึกษา ผูบ้ ริ หารเขตพื้นที่การศึกษา หรื อผูป้ ฏิบตั ิงานใน
ตาแหน่งต่าง ๆถูกสัง่ ให้หยุดการปฏิบตั ิหน้าที่หรื อถูกสัง่ ให้พน้ จากตาแหน่งตาม (5) บุคคลนั้นไม่อาจได้รับ
เงินค่าตอบแทนหรื อสิ ทธิประโยชน์ใด ๆ ในตาแหน่งที่ถูกสั่งให้หยุดการปฏิบตั ิหน้าที่หรื อถูกสั่งให้พน้ จาก
ตาแหน่งนับแต่วนั ที่ได้รับทราบคาสั่งในกรณี ที่มีบทบัญญัติใดในกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครู และ
บุคลากรทางการศึกษากาหนดให้องค์กรใดมีอานาจหน้าที่ตาม (4) มิให้นาบทบัญญัติน้ นั มาใช้บงั คับแก่
องค์กรซึ่ งมีอานาจหน้าที่ดงั กล่าว
ข้ อ 3 ให้ สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ รับผิดชอบงานธุรการของคณะกรรมการ
ขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค คณะอนุกรรมการ และคณะทางาน
ตามข้อ 2 (6) และให้การเบิกจ่ายเบี้ยประชุมเป็ นไปตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยเบี้ยประชุมกรรมการและการ
เบิกจ่ายค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องกับการบริ หารจัดการอื่น ๆ ที่จาเป็ น ให้เบิกจ่ายได้ตามระเบียบของทางราชการ
โดยเบิกจ่ายจากงบประมาณของสานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิ การ
ข้อ 4 ให้ยบุ เลิกคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
และกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริ หารราชการกระทรวงศึกษาธิ การ และให้โอนอานาจหน้าที่ของ
คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาของแต่ละเขตพื้นที่การศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติและ
กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริ หารราชการกระทรวงศึกษาธิ การ ไปเป็ นอานาจหน้ าทีข่ อง กศจ. ของจังหวัดนั้น
ๆตามคาสั่ งนี้
บรรดาบทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คาสัง่ หรื อมติคณะรัฐมนตรี ใด
ที่อา้ งถึงคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติและกฎหมายว่าด้วยระเบียบ
บริ หารราชการกระทรวงศึกษาธิ การ ให้มีผลใช้บงั คับต่อไปเท่าที่ไม่ขดั หรื อแย้งกับคาสั่งนี้
ข้ อ 5 ให้ ยุบเลิก อ.ก.ค.ศ. เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาตามกฎหมายว่ าด้ วยระเบียบข้ าราชการครู
และบุคลากรทางการศึกษา และให้โอนอานาจหน้าที่ของ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาตามกฎหมาย
ว่าด้วยระเบียบข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ไปเป็ นอานาจหน้าที่ของ กศจ. ของจังหวัดนั้น ๆ
ตามคาสั่งนี้บรรดาบทบัญญัติแห่งกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คาสั่ง หรื อมติคณะรัฐมนตรี ใด
ที่อา้ งถึง อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
ให้มีผลใช้บงั คับต่อไปเท่าที่ไม่ขดั หรื อแย้งกับคาสัง่ นี้

12
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ข้ อ ๖ ในแต่ ละจังหวัด ให้ มีคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด เรียกโดยย่ อ


ว่ า “กศจ.” จานวนไม่ เกิน 22 ประกอบด้ วย
(1) ผู้ว่าราชการจังหวัด หรื อรองผู้ว่าราชการจังหวัดทีไ่ ด้ รับมอบหมาย เป็ นประธานกรรมการ
(2) ศึกษาธิการภาคในพื้นที่ที่รับผิดชอบ เป็ นรองประธานกรรมการ
(3) - ผูแ้ ทนสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- ผูแ้ ทนสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
- ผูแ้ ทนสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
- ผูแ้ ทนสานักงานคณะกรรมการข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
- ผูแ้ ทนสานักงานคณะกรรมการส่ งเสริ มการศึกษาเอกชน
- ผูแ้ ทนสานักงานส่ งเสริ มการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เป็ นกรรมการ
(4) - ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด
- ท้องถิ่นจังหวัด ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัด
- ประธานหอการค้าจังหวัด
- ผูอ้ านวยการสานักงานพระพุทธศาสนาจังหวัด
- และวัฒนธรรมจังหวัดเป็ นกรรมการ
(5) ผู้แทนภาคประชาชนในท้ องถิ่น ซึ่ งรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงศึกษาธิ การแต่งตั้งโดยความเห็นชอบ
ของคณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค จานวน 2 คน
เป็ นกรรมการ
(6) ผูแ้ ทนข้าราชการครู ในท้องถิ่นซึ่ งรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงศึกษาธิ การแต่งตั้งโดยความเห็นชอบ
ของคณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค จานวน 2 คน
เป็ นกรรมการ
(7) กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิซ่ ึ งรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงศึกษาธิ การแต่งตั้งจากผูท้ รงคุณวุฒิดา้ นกฎหมาย ด้าน
บริ หารงานบุคคล หรื อด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูป
การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค จานวนไม่ เกิน 3 คน เป็ นกรรมการ
(8) ศึกษาธิการจังหวัด เป็ นกรรมการและเลขานุการ

>>>> สาหรับกรุ งเทพมหานคร ให้ คณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ


ในภูมิภาคทาหน้ าที่เป็ น กศจ.

13
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

กศจ. มีอานาจหน้ าทีใ่ นแต่ ละเขตจังหวัด ดังต่ อไปนี้


(1) กาหนดยุทธศาสตร์ แนวทางการจัดการศึกษา และการส่ งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษา
ทุกระดับและทุกประเภท ประสานและส่ งเสริ มการบริ หารและการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่ วน
ท้องถิ่น
รวมทั้งส่ งเสริ มและสนับสนุ นการจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน
องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่นที่จ ดั การศึกษาในรู ปแบบ
ที่หลากหลายในจังหวัด
(2) พิจารณาและให้ ความเห็นชอบแผนพัฒนาการศึกษาของจังหวัด ***
(3) พิจารณาและให้ ความเห็นชอบกรอบการประเมินผลการปฏิบัติงานและตัวชี้วดั ในการดาเนินงาน
ในลักษณะตัวชี้ วดั ร่ วมของส่ วนราชการหรื อหน่ วยงาน และสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิ การใน
จังหวัด
(4) เสนอความเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
ในจังหวัด ต่อคณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิ การในภูมิภาคเพื่อใช้อานาจ
ตามข้อ 2 (4)
(5) กากับ เร่ งรัด ติดตาม และประเมินผลการปฏิบตั ิงานของส่ วนราชการหรื อหน่วยงาน
และสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิ การในจังหวัด
(6) วางแผนการจัดการศึกษาในจังหวัดและพิจารณาเสนอแนะการจัดสรรงบประมาณให้แก่
สถานศึกษา
(7) เสนอคณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาคเพื่อ
แต่ งตั้งคณะอนุกรรมการศึกษาธิการจังหวัด
(8) ปฏิบัติหน้ าทีอ่ ื่นตามทีก่ ฎหมายกาหนด หรื อตามที่คณะกรรมการขับเคลื่อนการปฏิรูป
การศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาคมอบหมาย

14
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ข้ อ 8 เพื่อให้ การบริหารงานบุคคลของข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาในจังหวัด


เป็ นไปด้ วยความเรียบร้ อย
>>ให้ มีคณะอนุกรรมการศึกษาธิการจังหวัด เรี ยกโดยย่ อว่ า “อกศจ.”เพื่อปฏิบัติหน้ าที่ตามทีไ่ ด้ รับ
มอบหมายจาก กศจ. <<
***ให้ อกศจ. ประกอบด้ วย (ไม่ เกิน 9 คน )
(๑) บุคคลซึ่ ง กศจ. แต่งตั้งจากผูซ้ ่ ึ งเป็ น กศจ. เป็ นประธานอนุกรรมการ
(๒) บุคคลซึ่ ง กศจ. แต่งตั้งจากผูซ้ ่ ึ งเป็ น กศจ. จานวน 2 คน เป็ นอนุกรรมการ
(๓) ผูอ้ านวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรื อผูอ้ านวยการสถานศึกษา ซึ่ ง กศจ. แต่ งตั้ง
จานวน 2 คน เป็ นอนุกรรมการ
(๔) ผูท้ รงคุณวุฒิ ซึ่ ง กศจ. แต่งตั้ง จานวนไม่ เกิน 3 คน เป็ นอนุกรรมการ
(๕) ศึกษาธิการจังหวัด เป็ นอนุกรรมการและเลขานุการ 1 คน
กรณีความจาเป็ น กศจ. อาจเสนอแต่ งตั้ง ข้ าราชการในสานักงานศึกษาธิการจังหวัด หรื อ สานักงาน
เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาในจังหวัด จานวนไม่ เกิน 2 คนเป็ นผู้ช่วยเลขานุการได้
ข้ อ 9 ให้ การเบิกจ่ ายเบีย้ ประชุ มของ กศจ. อกศจ. รวมทั้งคณะอนุกรรมการและคณะทางาน
ตามข้อ 7 (7) เป็ นไปตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยเบี้ยประชุมกรรมการ และการเบิกจ่ายค่าใช้จ่าย
ที่เกี่ยวข้องกับการบริ หารจัดการอื่น ๆ ที่จาเป็ น ให้เบิกจ่ายได้ตามระเบียบของทางราชการ โดยเบิกจ่าย
จากงบประมาณของสานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงศึกษาธิการ
ข้ อ 10 บรรดาบทบัญญัติแห่ งกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้ อบังคับ ประกาศ คาสั่ ง หรื อมติคณะรัฐมนตรี
ใดที่อ้างถึงคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึ กษาตามกฎหมายว่ าด้ วยการศึ กษาแห่ งชาติ และกฎหมายว่าด้วย
ระเบียบบริ หารราชการกระทรวงศึกษาธิ การ และ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบ
ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้ถือว่าอ้างถึง กศจ. ตามคาสั่งนี้ท้ งั นี้ เท่าที่ไม่ขดั หรื อแย้งกับคาสั่ง
นี้
ข้อ 11 ในกรณีที่มี ปั ญ หาเกี่ย วกับ การปฏิ บั ติ ต ามค าสั่ ง นี้ ให้ เป็ นไปตามค าวินิจ ฉั ย ของรั ฐมนตรี ว่ า การ
กระทรวงศึกษาธิการ
ข้อ 12 คาสั่ งนีใ้ ห้ ใช้ บังคับตั้งแต่ วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้ นไป
สั่ ง ณ วันที่ ๒๑ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๕๙
พลเอก ประยุทธ์ จันทร์ โอชา
หัวหน้ าคณะรักษาความสงบแห่ งชาติ

15
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

คาสั่ งหัวหน้ าคณะรักษาความสงบแห่ งชาติ ที่ 11/2559


เรื่ อง การบริ หารราชการของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาค
หลักการและเหตุผล
1.เพื่อให้ การปฏิรูปการศึกษาและการบริ หารราชการของกระทรวงศึกษาธิการในภูมิภาคเป็ นไปด้ วย
ความเรียบร้ อย มีเอกภาพ
2.และสามารถประสานเชื่อมโยงและบูรณาการภารกิจในเรื่ องการศึกษาของประเทศโดยเน้นการมี
ส่ วนร่ วมของทุกภาคส่ วนให้สอดรับกับแนวทางการบริ หารงานโดยประชารัฐ
3.เพื่อประโยชน์ในการปฏิรูปการศึกษาอันจะส่ งผลในการพัฒนาประเทศที่ยง่ั ยืน

>> อาศัยอานาจตามความในมาตรา ๔๔ ของรัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชัว่ คราว)


พุทธศักราช 2557 หัวหน้ าคณะรักษาความสงบแห่ งชาติโดยความเห็นชอบของคณะรักษาความสงบแห่ งชาติ
จึงมีคาสั่ ง ดังต่ อไปนี้

ข้ อ 2 ให้ มีสานักงานศึกษาธิการภาค จานวน 18 ภาค


>> สั งกัดสานักงานปลัดกระทรวงกระทรวงศึกษาธิการ ตามบัญชีที่รัฐมนตรี วา่ กา
กระทรวงศึกษาธิการ ประกาศกาหนด เพื่อปฏิบตั ิภารกิจของกระทรวงศึกษาธิ การในระดับพื้นที่ ทาหน้าที่
ขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัดโดยการอานวยการ ส่ งเสริ ม สนับสนุน และพัฒนาการศึกษา
แบบร่ วมมือและบูรณาการกับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงศึกษาธิ การและหน่วยงานอื่นหรื อภาคส่ วนที่
เกี่ยวข้องในพื้นที่น้ นั ๆ
ให้ มีอานาจหน้ าทีด่ ังต่ อไปนี้
(1) กาหนดยุทธศาสตร์ และบทบาทการพัฒนาภาคต่ างๆ ให้เชื่ อมโยงและสอดคล้องกับทิศทางการ
พัฒนาประเทศ นโยบายและยุทธศาสตร์ ของกระทรวงศึกษาธิ การ และยุทธศาสตร์ การพัฒนากลุ่มจังหวัด
รวมทั้งการพัฒนาด้านอื่น ๆ ในพื้นที่รับผิดชอบ ตามศักยภาพและโอกาสของบุคคลและชุมชนในแต่ละพื้นที่
(2) สนับสนุนการพัฒนาจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบเกี่ยวกับงานด้านวิชาการ การวิจยั และพัฒนา
(3) กากับดูแล ติดตาม และประเมินผลการดาเนิ นงานของสานักงานศึกษาธิ การจังหวัดในพื้นที่
รับผิดชอบ
(4) สนับสนุนการตรวจราชการ และติดตามประเมินผลการดาเนินงานตามนโยบายและยุทธศาสตร์
ของกระทรวงศึกษาธิ การในพื้นที่รับผิดชอบ

16
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

(5) ประสานการบริ หารงานระหว่ างราชการส่ วนกลางและส่ วนภูมิภาคให้เกิดการพัฒนาอย่างบูรณา


การในระดับพื้นที่ของหลายจังหวัด โดยยึดการมีส่วนร่ วมและประโยชน์สุขของประชาชนเป็ นหลัก
(6) ปฏิบัติงานร่ วมกับหรื อสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่ วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรื อที่ได้รับ
มอบหมาย

ข้อ 3 ให้มีศึกษาธิการภาค เป็ นผูบ้ งั คับบัญชาข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้างในสานักงาน


ศึกษาธิ การภาค ขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงศึกษาธิ การ โดยอาจให้มีรองศึกษาธิ การภาคจานวนไม่
เกิน 1 คนเพื่อช่วยเหลืองานศึกษาธิ การภาค

>> ให้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการแต่ งตั้งศึกษาธิการภาคและรองศึกษาธิการภาค


จากข้ าราชการในกระทรวงศึกษาธิการตามทีป่ ลัดกระทรวงศึกษาธิการเสนอ

ข้ อ 4 ในแต่ ละจังหวัด ให้ มีสานักงานศึกษาธิการจังหวัด สั งกัดสานักงานปลัดกระทรวงกระทรวงศึกษาธิการ


เพื่อปฏิบตั ิภารกิจของกระทรวงศึกษาธิ การเกี่ยวกับการบริ หารและการจัดการศึกษาตามที่กฎหมายกาหนด
การปฏิบตั ิราชการตามอานาจหน้าที่ นโยบาย และยุทธศาสตร์ ของส่ วนราชการต่างๆ
ที่มอบหมาย และ
ให้ มีอานาจหน้ าที่ ดังต่ อไปนี้
(1) รับผิดชอบงานธุรการของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด และการปฏิบตั ิงานราชการ
ให้เป็ นไปตามอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด และตามที่คณะกรรมการศึกษาธิการ
จังหวัดมอบหมาย
(2) ส่ งเสริ ม สนับสนุน และพัฒนางานด้านวิชาการของกระทรวงศึกษาธิ การในระดับจังหวัด
(3) สั่งการ กากับ เร่ งรัด ติดตาม และประเมินผลการปฏิบตั ิงานของส่ วนราชการหรื อหน่วยงาน
และสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิ การในจังหวัด ให้เป็ นไปตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิ การ
(4) จัดทากรอบการประเมินผลการปฏิบตั ิงาน และกาหนดตัวชี้วดั การดาเนินงานในลักษณะ
ตัวชี้วดั ร่ วมของส่ วนราชการหรื อหน่วยงาน และสถานศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิ การในจังหวัด
(5) ปฏิบตั ิภารกิจตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิ การหรื อตามที่ได้รับมอบหมาย รวมทั้ง
ปฏิบตั ิภารกิจเกี่ยวกับราชการประจาทัว่ ไปของกระทรวงศึกษาธิ การ และประสานงานต่างๆ ในระดับจังหวัด

17
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ข้ อ 5 ให้ มีศึกษาธิการจังหวัด เป็ นผู้บังคับบัญชาข้ าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้ าง


ในสานักงานศึกษาธิการจังหวัด อยูภ่ ายใต้การกากับดูแลของศึกษาธิ การภาค โดยอาจให้มีรองศึกษาธิ การ
จังหวัดจานวนไม่เกิน 1 คนเพื่อช่วยเหลืองานศึกษาธิ การจังหวัด
>>> ให้ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการแต่ งตั้งศึกษาธิการจังหวัดและรองศึกษาธิการจังหวัดจากข้ าราชการ
ในกระทรวงศึกษาธิการ
ข้อ 6 ให้โอนอานาจหน้าที่ของผูอ้ านวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
และอานาจหน้าที่ของผูอ้ านวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เฉพาะงานที่เกี่ยวกับ อ.ก.ค.ศ
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาตามกฎหมายว่าด้วย
ระเบียบข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ไปเป็ นอานาจหน้าที่ของศึกษาธิการจังหวัด

ข้อ 7 ให้โอนบรรดากิจการ ทรัพย์สิน งบประมาณ สิ ทธิ หนี้ ภาระผูกพัน ข้าราชการ


พนักงานราชการ ลูกจ้าง และอัตรากาลังของสานักงานศึกษาธิ การภาคที่จดั ตั้งขึ้นตามประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เรื่ อง จัดตั้งสานักงานศึกษาธิ การภาค 1-13 สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ลงวันที่ 17 กันยายน 2555 ไปเป็ นของสานักงานศึกษาธิการภาคตามข้อ ๒ ทั้งนี้ ตามบัญชีที่
รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงศึกษาธิ การประกาศกาหนด

ข้อ 8 ในระหว่างที่ยงั มิได้มีการจัดตั้งสานักงานศึกษาธิ การจังหวัด ให้สานักงานเขตพื้นที่


การศึกษาประถมศึกษาหรื อสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเขต ๑ ในจังหวัดต่าง ๆ
ทาหน้าที่เป็ นสานักงานศึกษาธิ การจังหวัดในจังหวัดนั้น ๆ ไปพลางก่อน แล้วแต่กรณี

ข้อ 9 ในกรณี ที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบตั ิตามคาสัง่ นี้ ให้เป็ นไปตามคาวินิจฉัยของ


รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงศึกษาธิ การ
ข้อ 10 คาสั่งนี้ให้ใช้บงั คับตั้งแต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป

สั่ง ณ วันที่ ๒๑ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๕๙


พลเอก ประยุทธ์ จันทร์ โอชา
หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ

18
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542


แก้ ไขเพิม่ เติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545 และ ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2553
ประกาศ : วันที่ 19 สิ งหาคม 2542
มีผลบังคับใช้ : วันที่ 20 สิ งหาคม 2542
( 9 หมวด 78 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล (เกิดจาก รธน. ฉบับที่ 16 พ.ศ. 2540 มาตรา 81 )
หมวดที่ 1 บททัว่ ไป (ความมุ่งหมายและหลักการการจัดการศึกษา
หมวดที่ 2 สิ ทธิและหน้าที่ทางการศึกษา
หมวดที่ 3 ระบบการศึกษา
หมวดที่ 4 แนวทางการจัดการศึกษา *** หัวใจ *** มาตรา 22
หมวดที่ 5 การบริ หารและการจัดการศึกษา
หมวดที่ 6 มาตรฐานและประกันคุณภาพทางการศึกษา
หมวดที่ 7 ครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
หมวดที่ 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
หมวดที่ 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

มาตรา 4 ในพระราชบัญญัติน้ ี “การศึกษา” หมายความว่า กระบวนการเรี ยนรู้ เพื่อความเจริ ญงอก


งามของบุ ค คลและสั งคม โดยการถ่ า ยทอดความรู ้ การฝึ ก การอบรม การสื บ สานทางวัฒ นธรรม การ
สร้างสรรค์จรรโลงความก้าวหน้า ทางวิชาการ การสร้างองค์ความรู ้อนั เกิดจากการจัดสภาพแวดล้อม สังคม
การเรี ยนรู ้และปั จจัยเกื้อหนุนให้ บุคคลเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวติ

“การศึกษาขั้นพืน้ ฐาน” หมายความว่า การศึกษาก่ อนระดับอุดมศึกษา


“การศึกษาตลอดชีวติ ” หมายความว่า การศึกษาที่เกิดจากการผสมผสานระหว่างการศึกษา ในระบบ
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อให้สามารถพัฒนาคุณภาพชี วิตได้อย่างต่อเนื่ อง ตลอด
ชีวติ

19
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

“สถานศึกษา” หมายความว่า
- สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
- โรงเรี ยน
- ศูนย์การเรี ยน
- วิทยาลัย
- สถาบัน
- มหาวิทยาลัย
-หน่ วยงานการศึกษาหรื อหน่ วยงานอื่นของรัฐหรื อของเอกชน ทีม่ ีอานาจหน้ าที่
หรื อมี วัตถุประสงค์ ในการจัดการศึกษา

“สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน” หมายความว่า สถานศึกษาทีจ่ ัดการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

“มาตรฐานการศึกษา” หมายความว่า ข้อกาหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพ ทีพ่ งึ ประสงค์ และ


มาตรฐานทีต่ ้ องการให้ เกิดขึน้ ในสถานศึกษาทุกแห่ ง และเพื่อใช้เป็ นหลักในการเทียบเคียงสาหรับการ
ส่ งเสริ มและกากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการประกันคุณภาพทางการศึกษา
“การประกันคุณภาพภายใน” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ คุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นเอง หรื อโดย หน่ วยงานต้ น
สั งกัดทีม่ ีหน้ าทีก่ ากับดูแลสถานศึกษานั้น
“การประกันคุณภาพภายนอก” หมายความว่า การประเมินผลและการติดตามตรวจสอบ คุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน คุณภาพ
การศึกษาหรื อบุคคลหรื อหน่ วยงานภายนอกทีส่ านักงานดังกล่ าวรับรอง เพื่อเป็ นการประกันคุณภาพ และให้
มีการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
“ผู้สอน” หมายความว่า ครู และคณาจารย์ ในสถานศึกษาระดับต่าง ๆ
“ครู ” หมายความว่า บุคลากรวิชาชี พซึ่ง ทาหน้าที่หลักทางด้ านการเรียนการสอนและการส่ งเสริ ม
การเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนด้วยวิธีการต่าง ๆ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน
“คณาจารย์ ” หมายความว่า บุคลากรซึ่งทาหน้าที่หลักทางด้ านการสอนและการวิจัยใน สถานศึกษา
ระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาของรัฐและเอกชน
“ผู้บริหารสถานศึกษา” หมายความว่า บุคลากรวิชาชี พ ที่รับผิดชอบการบริ หารสถานศึกษา แต่ละ
แห่ง ทั้งของรัฐและเอกชน

20
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

“ผู้บริหารการศึกษา” หมายความว่า บุคลากรวิชาชี พที่รับผิดชอบการบริ หารการศึกษานอก


สถานศึกษาตั้งแต่ระดับเขตพื้นที่การศึกษาขึ้นไป
“บุคลากรทางการศึกษา” หมายความว่า ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา ผูบ้ ริ หารการศึกษา รวมทั้ง
ผูส้ นับสนุนการศึกษา ซึ่งเป็ นผูท้ าหน้าที่ให้บริ การ หรื อปฏิบตั ิงานเกีย่ วเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียน
การ สอน การนิเทศ และการบริ หารการศึกษาในหน่วยงานการศึกษาต่าง ๆ

หมวด 1 บททัว่ ไป ความมุ่งหมายและหลักการ


มาตรา 6 การจัดการศึกษาต้องเป็ นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็ น มนุ ษย์ ที่สมบูรณ์ ท้ ังร่ างกาย จิตใจ
สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม มีจริ ยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวติ สามารถอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นได้ อย่าง
มีความสุ ข
มาตรา 7 ในกระบวนการเรี ยนรู้ ต้องมุ่งปลูกฝังจิตสานึกที่ถูกต้ องเกี่ยวกับการเมืองการ ปกครองใน
ระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ย์ทรงเป็ นประมุข รู ้ จกั รั กษาและส่ งเสริ มสิ ทธิ หน้าที่ เสรี ภาพ
ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ ศรี ความเป็ นมนุ ษย์ มีความภาคภูมิใจในความเป็ นไทย รู ้จกั
รักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ รวมทั้งส่ งเสริ มศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ การ
กี ฬา ภูมิปัญญาท้องถิ่ น ภูมิปัญญาไทย และความรู ้ อนั เป็ นสากล ตลอดจนอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ งแวดล้อม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รู ้จกั พึ่งตนเอง มีความริ เริ่ มสร้างสรรค์ ใฝ่ รู ้และเรี ยนรู ้ดว้ ย
ตนเองอย่างต่อเนื่อง

มาตรา 8 การจัดการศึกษาให้ยดึ หลักดังนี้


(1) เป็ นการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน
(2) ให้สังคมมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษา
(3) การพัฒนาสาระและกระบวนการเรี ยนรู ้ให้เป็ นไปอย่างต่อเนื่อง

เทคนิคการจา >>> ตลอด + ร่ วม + ต่อ หรื อ ประชาชน + สังคม + สาระ

21
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

มาตรา 9 การจัดระบบ โครงสร้าง และกระบวนการจัดการศึกษา ให้ยดึ หลักดังนี้


(1) มีเอกภาพด้านนโยบาย และมีความหลากหลายในการปฏิบตั ิ
(2) มีการกระจายอานาจไปสู่ เขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครองส่ วน ท้องถิ่น
(3) มีการกาหนดมาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและ ประเภท
การศึกษา
(4) มีหลักการส่ งเสริ มมาตรฐานวิชาชีพครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา และการ พัฒนาครู
คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
(5) ระดมทรัพยากรจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ในการจัดการศึกษา
(6) การมีส่วนร่ วมของบุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น เอกชน
องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น

หมวด 2 สิ ทธิและหน้ าทีท่ างการศึกษา


มาตรา 10 การจัดการศึ กษา ต้องจัดให้บุคคลมี สิทธิ และโอกาสเสมอกันในการรั บการศึ กษา ขั้น
พืน้ ฐานไม่ น้อยกว่าสิ บสองปี ที่รัฐต้องจัดให้อย่างทัว่ ถึงและมีคุณภาพโดย ไม่ เก็บค่ าใช้ จ่าย

การจัดการศึกษาสาหรับบุคคลซึ่งมี ความบกพร่ องทางร่ างกาย จิตใจ สติปัญญาอารมณ์ สังคม การ


สื่ อสารและการเรี ยนรู ้ หรื อมีร่างกายพิการ หรื อทุพพลภาพหรื อบุคคลซึ่ งไม่สามารถพึ่งตนเองได้ หรื อไม่มี
ผูด้ ูแลหรื อด้อยโอกาส ต้องจัดให้บุคคลดังกล่าวมีสิทธิ และโอกาสได้ รับการศึกษาขั้นพืน้ ฐานเป็ นพิเศษ

การศึ กษาสาหรั บคนพิการ ให้จัดตั้งแต่ แรกเกิดหรื อพบความพิการโดยไม่ เสี ย ค่ าใช้ จ่าย และให้
บุคคลดังกล่ าวมีสิทธิได้ รับสิ่ งอานวยความสะดวก สื่ อ บริ การ และความช่วยเหลืออื่นใดทาง การศึกษา ตาม
หลักเกณฑ์และวิธีการที่กาหนดในกฎกระทรวง

การจั ด การศึ ก ษาส าหรั บ บุ ค คลซึ่ ง มี ค วามสามารถพิ เ ศษ ต้ อ งจั ด ด้ ว ยรู ป แบบที่ เ หมาะสมโดย
คานึงถึงความสามารถของบุคคลนั้น

22
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

เงินอุดหนุนรายหัวในสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
1. อนุบาล คนละ 1,700 บาทต่ อปี
2. ประถมศึกษา คนละ 1,900 บาทต่ อปี
3. มัธยมต้ น คนละ 3,500 บาทต่ อปี
4. มัธยมปลาย คนละ 3,800 บาทต่ อปี

มาตรา 12 นอกเหนือจากรัฐ เอกชน และองค์ กรปกครองส่ วนท้ องถิ่น ให้ บุคคล ครอบครัว
- องค์กรชุมชน
- องค์กรเอกชน
- องค์กรวิชาชีพ
- สถาบันศาสนา
- สถานประกอบการ
- และสถาบันสังคมอื่น
+++มีสิทธิใน การจัดการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ทั้งนีใ้ ห้ เป็ นไปตามทีก่ าหนดใน กฎกระทรวง

มาตรา ๑๓ บิดา มารดา หรื อผูป้ กครองมีสิทธิได้รับสิ ทธิ ประโยชน์ ดังต่อไปนี้


(๑) การสนับสนุนจากรั ฐ ให้มีความรู ้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู และการให้การศึกษา แก่
บุตรหรื อบุคคลซึ่ งอยูใ่ นความดูแล
(๒) เงินอุดหนุนจากรั ฐสาหรั บการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของบุตรหรื อบุคคลซึ่ งอยูใ่ นความ ดูแล
ที่ครอบครัวจัดให้ ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายกาหนด
(๓) การลดหย่อนหรื อยกเว้นภาษีสาหรับค่ าใช้ จ่ายการศึกษาตามทีก่ ฎหมายกาหนด

23
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

มาตรา ๑๔ บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบัน ศาสนา สถาน
ประกอบการ และสถาบันสังคมอืน่ ซึง่ สนับสนุนหรื อจัดการศึกษาขันพื
้ ้นฐาน มีสทิ ธิได้ รับสิทธิ ประโยชน์ตามควรแก่กรณี
ดังต่อไปนี ้
(๑) การสนับสนุ นจากรั ฐให้ มีความรู้ความสามารถในการอบรมเลี ้ยงดูบค ุ คลซึง่ อยูใ่ นความ ดูแลรับผิดชอบ
(๒) เงินอุดหนุนจากรั ฐสาหรับการจัดการศึกษาขันพื
้ ้นฐานตามที่กฎหมายกาหนด
(๓) การลดหย่ อนหรื อยกเว้ นภาษีสาหรับค่าใช้ จ่ายการศึกษาตามทีก่ ฎหมายกาหนด

คาสั่ งหัวหน้ าคณะรักษาความสงบแห่ งชาติ (ม.44 ) เรื่ อง ให้ จัดการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน 15


ปี โดยมาเก็บค่ าใช้ จ่าย
รายการที่จดั ให้ฟรี
1. ค่าจัดการเรี ยนการสอน
2. ค่าหนังสื อเรี ยน
3. ค่าอุปกรณ์การเรี ยน
4. ค่าเครื่ องแบบนักเรี ยน
5. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยน
6.ค่ าใช้ จ่ายอื่นตามทีค่ ณะรัฐมนตรีเห็นชอบ ***

หมวด 3 ระบบการศึกษา มี 3 รู ปแบบ


มาตรา 15 การจัดการศึกษามีสามรู ปแบบ คือ การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ
การศึกษาตามอัธยาศัย
(๑) การศึกษาในระบบ ( Fomal Education ) เป็ นการศึกษาที่กาหนดจุดมุ่งหมาย วิธีการศึกษา
หลักสู ตร ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็ นเงื่อนไขของการสาเร็ จการศึกษาที่ แน่ นอน
(๒) การศึกษานอกระบบ ( non - Fomal Education ) เป็ นการศึกษาที่มีความยืดหยุ่นในการ
กาหนดจุดมุ่งหมาย รู ปแบบ วิธีการจัดการศึกษา ระยะเวลาของการศึกษา การวัดและประเมินผล ซึ่งเป็ น
เงื่อนไขสาคัญของการสาเร็ จ การศึกษา โดยเนื้ อหาและหลักสู ตรจะต้องมีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพ
ปัญหาและความต้องการของ บุคคลแต่ ละกลุ่ม

24
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

(๓) การศึกษาตามอัธยาศัย ( inFomal Education ) เป็ นการศึกษาที่ให้ผเู ้ รี ยนได้เรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง
ตามความสนใจ ศักยภาพ ความพร้อม และโอกาส โดยศึกษาจากบุคคล ประสบการณ์ สังคม สภาพแวดล้อม
สื่ อ หรื อแหล่ง ความรู ้อื่น ๆ

เทคนิคการจา >>> ในแน่ นอน + นอกยึดหยุ่น + อัธสนใจ ( ใน นอก อัธ )

สถานศึกษาอาจจัดการศึกษาในรู ปแบบใดรู ปแบบหนึ่งหรื อทั้งสามรู ปแบบก็ได้

การศึกษา ในระบบมี 2 ระดับ คือ


1.การศึกษาขั้นพื้นฐานซึ่ งจัด ไม่ น้อยกว่า 12 ปี ก่ อนระดับอุดมศึกษา
2.การศึกษาระดับอุดมศึกษาแบ่ งเป็ น 2 ระดับคือ
คือ ระดับต่ากว่าปริญญา และระดับปริญญา

***การแบ่งระดับหรื อการเทียบระดับการศึกษานอกระบบหรื อการศึกษาตามอัธยาศัย ให้เป็ นไป


ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง

มาตรา ๑๗ ให้มี การศึ กษาภาคบังคับจานวน 9 ปี โดยให้เด็กซึ่ งมี อายุย่างเข้ า ปี ที่ 7 เข้ า เรี ยนใน
สถานศึกษาขั้นพื้นฐานจนอายุย่างเข้ าปี ที่ 16 เว้นแต่สอบได้ช้ นั ปี ที่เก้าของการศึกษาภาคบังคับ หลักเกณฑ์
และวิธีการนับอายุให้เป็ นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง >>> ( ป.1 – ม. 3 )
การนับอายุเด็กเข้ าเรียน เช่ น เด็กที่จะเข้าเรี ยนในปี การศึกษาที่ 1 พ.ศ. 2560
2560 – 7 = 2553 ( คือ เด็กทีเ่ กิดปี พ.ศ. 2553 ต้ องเข้ าเรียนในปี การศึกษาปี ที่ 1 พ.ศ. 2560
*** การนับอายุเด็กเข้ าเรียนให้ นับตามปี ปฏิทนิ

การจัดการศึกษาปฐมวัยและการศึกษาขั้นพื้นฐานให้จดั ในสถานศึกษา ดังต่อไปนี้


(1) สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ได้แก่ ศูนย์เด็กเล็ก ศูนย์พฒั นาเด็กเล็ก ศูนย์พฒั นาเด็กก่อน เกณฑ์ของ
สถาบันศาสนา ศูนย์บริ การช่วยเหลือระยะแรกเริ่ มของเด็กพิการและเด็กซึ่ งมีความต้องการพิเศษ หรื อสถาน
พัฒนาเด็กปฐมวัยที่เรี ยกชื่ออย่างอื่น
(2) โรงเรียน ได้แก่ โรงเรี ยนของรัฐ โรงเรี ยนเอกชน และโรงเรี ยนที่สังกัดสถาบันพุทธศาสนา หรื อ
ศาสนาอื่น

25
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

(3) ศู นย์ การเรี ยน ได้แก่ สถานที่ เรี ยนที่ หน่ วยงานจัดการศึ กษานอกโรงเรี ยน บุ คคล ครอบครั ว
ชุ มชน องค์กรชุ มชน องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่ น องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชี พ สถาบันศาสนา สถาน
ประกอบการ โรงพยาบาล สถาบันทางการแพทย์ สถานสงเคราะห์ และสถาบันสังคมอื่นเป็ นผูจ้ ดั

หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา
***มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผูเ้ รี ยนทุกคนมีความสามารถเรี ยนรู ้และพัฒนา ตนเอง
ได้ และถือว่าผูเ้ รี ยนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนสามารถพัฒนา ตาม
ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
***มาตรา 23 การจัดการศึ กษา ทั้งการศึ กษาในระบบ การศึ กษานอกระบบ และการศึ กษา ตาม
อัธยาศัย ต้องเน้นความสาคัญ ทั้งความรู้ (k) คุณธรรม(A) กระบวนการเรี ยนรู้ (P) และบูรณาการตามความ
เหมาะสม ของแต่ละระดับการศึกษา
*** มาตรา 30 ให้ สถานศึ กษาพัฒนากระบวนการเรี ยนการสอนที่มีประสิ ทธิภาพ รวมทั้งการ
ส่ งเสริมให้ ผ้ ู สอนสามารถวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ที่เหมาะสมกับนักเรี ยนในแต่ละระดับการศึกษา

หมวด 5 การบริหารและการจัดการศึกษา
มาตรา 31 กระทรวงมีอานาจหน้ าที่เกี่ยวกับการส่ งเสริ ม และกากับดูแลการศึ กษาทุกระดับและทุก
ประเภท กาหนดนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา สนับสนุ นทรัพยากรเพื่อการศึกษา ส่ งเสริ มและ
ประสานงานการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และการกี ฬาเพื่อการศึกษา รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบ และ
ประเมินผลการจัดการศึกษาและราชการอื่นตามที่มีกฎหมายกาหนดให้เป็ นอานาจหน้าที่ของ กระทรวงหรื อ
ส่ วนราชการที่สังกัดกระทรวง

มาตรา 32 การจัดระเบียบบริหารราชการในกระทรวงให้ มี
>> องค์ กรหลักทีเ่ ป็ นคณะบุคคล ในรู ปสภาหรื อในรู ปคณะกรรมการจานวน 4 องค์ กร ดังนี้
1) สภาการศึกษา 59 คน รมต.กระทรวงศึกษาเป็ นประธาน
2)คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไม่เกิน 27 คน
3) คณะกรรมการการอาชีวศึกษา ไม่เกิน 32 คน
และคณะกรรมการการอุดมศึกษา ไม่เกิน 28 คน
4 ) องค์ กรหลัก เป็ น นิติบุคคล >> ภา+ขั้น+อุ+อา
26
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

สภาการศึกษา มีหน้ าที่


(1) พิจ ารณาเสนอแผนการศึ ก ษาแห่ ง ชาติ ที่ บู ร ณาการศาสนา ศิ ล ปะ วัฒ นธรรม และกี ฬ ากับ
การศึกษาทุกระดับ
(2) พิจารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษาเพื่อดาเนินการให้เป็ นไปตามแผน ตาม (1)
(3) พิ จ ารณาเสนอนโยบายและแผนในการสนับ สนุ น ทรั พ ยากรเพื่ อ การศึ ก ษา ให้ เ สนอต่ อ
คณะรัฐมนตรี***
เทคนิคการจา >>> แผน + นโยบาย + มาตรฐาน = สภาการศึกษา

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน (สพฐ.) มีหน้ าที่


1.พิ จ ารณาเสนอนโยบาย แผนพัฒ นามาตรฐานและหลัก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้น
พื้นฐานที่สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติและแผนการศึกษาแห่งชาติ
2.การสนับสนุ นทรั พยากร การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการ จัดการศึกษาขัน
้ พืน้ ฐาน

มาตรา 37 การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพืน้ ฐานให้ ยดึ เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาโดย คานึงถึงดังต่ อไปนี้


1.ระดับของการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
2.จานวนสถานศึกษา
3.จานวนประชากร
4.วัฒนธรรมและความเหมาะสม
5.ด้ านอื่นด้ วย

ให้ รั ฐ มนตรี โ ดยค าแนะน าของสภาการศึ ก ษา มี อ านาจประกาศในราชกิ จ จานุ เ บกษา


กาหนดเขตพื้นที่ก ารศึ ก ษาเพื่ อ การบริ หารและการจั ด การศึ กษาขั้นพื้นฐาน แบ่ ง เป็ นเขตพื้ น ที่
การศึกษาประถมศึกษา และเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
เขตพืน้ ทีป่ ระถมศึกษา 183 เขต
เขตมัธยมศึกษา 42 เขต

27
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ในกรณี ที่สถานศึกษาใดจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานทั้งระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา การ


กาหนดให้สถานศึกษาแห่ งนั้นอยู่ในเขตพื้นที่การศึกษาใด ให้ยึดระดับการศึกษาของสถานศึกษานั้นเป็ น
สาคัญ ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรี ประกาศกาหนดโดยคาแนะนาของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ในกรณี ที่เขตพืน้ ที่การศึกษาไม่อาจบริ หารและจัดการได้ ตามวรรคหนึ่ง กระทรวงอาจจัดให้ มี การศึกษาขัน้


พื ้นฐานดังต่อไปนี ้เพื่อเสริ มการบริ หารและการจัดการของเขตพื ้นที่การศึกษาก็ได้

มาตรา 38 ในแต่ละเขตพื้นที่การศึกษา ให้มีคณะกรรมการและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามีอานาจ


หน้าที่ (คาสั่ ง คสช.ที่ 10 / 2559 ยุบเลิกคณะกรรมการเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาและ โอนอานาจนีใ้ ห้ กศจ.)
ดัง่ ต่อไปนี้
>> ให้ กศจ. และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีอานาจหน้าที่ การกากับดูแลจัดตั้ง ยุบ รวมและ
เลิ ก สถานศึ ก ษาขั้นพื้ นฐานการศึ ก ษาประสาน ส่ ง เสริ ม และสนับ สนุ นสถานศึ ก ษาเอกชนในเขตพื้ น ที่
การศึกษา

ให้กระทรวงกระจายอานาจการบริ หารและการจัดการศึกษา ดังต่อไปนี้


๑.ทั้งด้านวิชาการ
๒.งบประมาณ
๓.การบริ หารงานบุคคล
๔.การบริ หารทัว่ ไป >> ไปยัง 1.คณะกรรมการ 2.สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
3.สถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาโดยตรง

มาตราที่ 40 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

รร. ขนาดเล็ก มีจานวนนักเรียน ไม่ เกิน 300 คน มีกรรมการ 9 คน


รร. ขนาดใหญ่ มีจานวนนักเรียน เกิน 300 คน มีกรรมการ 15 คน

28
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐานประกอบด้ วย (เล็ก 9 . ใหญ่ 15 คน)


1)ประธานกรรมการ >> มาจากคณะกรรมการ ผู้ทรงคุณวุฒิ
2)ผู้แทนผู้ปกครอง 1 คน
3.ผู้แทนครู 1 คน
4.ผู้แทนองค์ กรชุ มชน 1 คน
5.ผู้แทนองค์ กร (ท้องถิ่น) 1 คน
6.ผู้แทนศิษย์ เก่ าของสถานศึกษา 1 คน
7.ผู้แทนพระภิกษุสงฆ์ หรื อผู้แทนองค์ กรศาสนาอื่นในพืน้ ที่ จานวน 1 รู ปและจานวน 2 รู ป
สาหรับโรงเรียนขนาดใหญ่
8.และผู้ทรงคุณวุฒิ 1 คน และ โรงเรียนขนาดใหญ่ จานวน 6 คน
9, ผู้อานวยการเป็ นกรรมการและเลขานุการ

ภาคี 4 ฝ่ ายประกอบด้ วย
1.ผู้แทนครู 2.ผู้แทนผู้ปกครอง 3.ผู้แทนชุ มชน 4.ผู้แทนกรรมการนักเรียน

หมวด 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา
มาตรา 47 ให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาทุก
ระดับ ประกอบด้วย ระบบการประกันคุณภาพภายใน และระบบการประกันคุณภาพภายนอก

1)ให้หน่ วยงานต้ นสั งกัดและสถานศึกษาจัดให้ มีระบบการประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาและ


ให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายใน ดังต่อไปนี้
1.เป็ นส่ วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา
2.ต้ องดาเนินการอย่างต่ อเนื่อง โดยมีการจัดทารายงานประจาปี เสนอต่ อหน่ วยงานต้ นสั งกัด
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

29
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

3.เปิ ดเผยต่ อสาธารณชน เพื่อพัฒนาไปสู่ การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา และเพื่อรองรับ


การประกัน คุณภาพภายนอก (SAR) = รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษาประเมินตนเองทุกๆปี
สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาตรวจสอบมทบทวน >>> อย่ างน้ อย 1 ครั้งในทุกๆ 3 ปี

2.ให้ มกี ารประเมินคุณภาพนอกของสถานศึกษาทุกแห่ ง


>>> อย่างน้ อย 1 ครั้งทุก 5 ปี
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.) มีฐานะเป็ น องค์ การมหาชน
ทาหน้าที่
1.พัฒนาเกณฑ์ วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก
2.ทาการประเมินผลการจัด การศึกษาเพื่อให้มีการตรวจสอบคุณภาพของสถานศึกษา โดยคานึงถึง
ความมุ่งหมายและหลักการและแนวการ
ในกรณี ที่ผลการประเมินภายนอกของสถานศึกษาใดไม่ได้ตามมาตรฐานที่ กาหนด ให้สานักงาน
รับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา จัดทาข้ อเสนอแนะ การปรับปรุ งแก้ ไข ต่ อหน่ วยงานต้ น
สั งกัด เพื่อให้สถานศึกษาปรับปรุ งแก้ไขภายในระยะเวลาที่กาหนด หากมิได้ดาเนินการ ดังกล่าว ให้
สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษารายงานต่ อคณะกรรมการการศึกษาขั้น พืน้ ฐาน
คณะกรรมการการอาชี วศึกษา หรื อคณะกรรมการการอุดมศึกษา เพื่อดาเนินการให้ มีการปรับปรุ ง แก้ไข

หมวด 7 ครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา


มาตรา 52 ให้กระทรวงส่ งเสริ มให้มีระบบ กระบวนการผลิต การพัฒนาครู คณาจารย์ และ บุคลากร
ทางการศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานที่เหมาะสมกับการเป็ นวิชาชีพชั้นสู ง โดยการกากับและประสานให้
สถาบันที่ทาหน้าที่ผลิตและพัฒนาครู คณาจารย์ รวมทั้งบุคลากรทางการศึกษาให้มีความพร้อม และมีความ
เข้มแข็งในการเตรี ยมบุคลากรใหม่และการพัฒนาบุคลากรประจาการอย่างต่อเนื่อง รัฐพึงจัดสรรงบประมาณ
และจัดตั้งกองทุนพัฒนาครู คณาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา อย่างเพียงพอ
หมวด 8 ทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา
มาตรา 58 ให้มีการระดมทรัพยากรและการลงทุนด้านงบประมาณ การเงิน และทรัพย์สิน ทั้งจากรัฐ
องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น บุคคล ครอบครัว ชุ มชน องค์กรชุ มชนเอกชน องค์กรเอกชน องค์กร วิชาชีพ
สถาบันศาสนา สถานประกอบการ สถาบันสังคมอื่น และต่างประเทศมาใช้จดั การศึกษาดังนี้
(1) ให้รัฐและองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่ นระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา โดยอาจจัดเก็บภาษี เพื่อ
การศึกษาได้ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ ให้เป็ นไปตามที่กฎหมายกาหนด

30
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

(2) ให้บุคคล ครอบครัว ชุ มชน องค์กรชุ มชน องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นเอกชน องค์กร เอกชน
องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่น ระดมทรัพยากรเพื่อการศึกษา โดย
เป็ นผูจ้ ดั และมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษา บริ จาคทรัพย์สินและทรัพยากรอื่นให้แก่สถานศึกษา และมี ส่ วน
ร่ วมรับภาระค่าใช้จ่ายทางการศึกษาตามความเหมาะสมและความจาเป็ น
ทั้งนี้ ให้รัฐและองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่ น ส่ งเสริ มและให้แรงจู งใจในการระดมทรั พ ยากร
ดังกล่าว โดยการสนับสนุ น การอุดหนุ นและใช้มาตรการลดหย่อนหรื อยกเว้นภาษี ตามความเหมาะสมและ
ความจาเป็ น ทั้งนี้ ให้เป็ นไปตามที่กฎหมายกาหนด
มาตรา 59 ให้สถานศึกษาของรัฐที่เป็ นนิติบุคคล มีอานาจในการปกครอง ดูแล บารุ งรักษา ใช้ และ
จัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของสถานศึกษา ทั้งที่เป็ นที่ราชพัสดุ ตามกฎหมายว่าด้วยที่ราชพัสดุ และที่
เป็ นทรัพย์สินอื่น รวมทั้งจัดหารายได้จากบริ การของสถานศึกษา และเก็บค่าธรรมเนี ยมการศึกษาที่ไม่ขดั
หรื อแย้งกับนโยบาย วัตถุประสงค์ และภารกิจหลักของสถานศึกษา
หมวด 9 เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
มาตรา 63 รั ฐ ต้อ งจัด สรรคลื่ น ความถี่ สื่ อ ตัว น าและโครงสร้ า งพื้ น ฐานอื่ น ที่ จ าเป็ นต่ อ การส่ ง
วิท ยุก ระจายเสี ยง วิท ยุโทรทัศ น์ วิท ยุโทรคมนาคม และการสื่ อสารในรู ปอื่ น เพื่ อใช้ประโยชน์สาหรับ
การศึกษา ในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การทะนุบารุ งศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
ตามความ จาเป็ น
มาตรา 64 รั ฐต้องส่ งเสริ มและสนับสนุ นให้มีการผลิ ต และพัฒนาแบบเรี ยน ตารา หนังสื อ ทาง
วิชาการ สื่ อสิ่ งพิมพ์อื่น วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่น โดยเร่ งรัดพัฒนาขีดความสามารถใน
การผลิต จัดให้มีเงินสนับสนุ นการผลิตและมีการให้แรงจูงใจแก่ผผู ้ ลิต และพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ทั้งนี้ โดยเปิ ดให้มีการแข่งขันโดยเสรี อย่างเป็ นธรรม
ผู้รับสนองพระบรมราชโองการ
พรบ. การศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2542
ชวน หลีกภัย นายกรัฐมนตรี
พรบ. การศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2545
พันตารวจโททักษิณ ชิณวัตร นายกรัฐมนตรี
พรบ.การศึกษาแห่งชาติ ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2553
นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
วิธีจา ชวนทักสิ ทธิ์ 42 / 45 / 53

31
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

พระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖
ประกาศ = 6 กรกฎาคม 2546
มีผลบังคับใช้เมื่อ 7 กรกฎาคม 2546
มีท้ งั หมด 5 หมวด 82 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล

มาตรา 6 ให้ จัดระเบียบราชการกระทรวงศึกษาธิการ ดังนี้


(1) ระเบียบบริ หารราชการในส่ วนกลาง
(2) ระเบียบบริ หารราชการเขตพืน้ ที่การศึกษา
(3) ระเบียบบริ หารราชการในสถานศึกษาของรัฐที่จดั การศึกษาระดับปริญญาที่เป็ นนิติบุคคล
เทคนิคการจา = กลาง + เขต + ญา

หมวด 1 การจัดระเบียบบริหารราชการในส่ วนกลาง

มาตรา 9 ให้ จัดระเบียบบริหารราชการในส่ วนกลาง ดังนี้


(1) ส านักงานปลัดกระทรวง
(2) ส่ วนราชการที่มีหวั หน้าส่ วนราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงศึกษาธิ การ
มาตรา 10 การแบ่งส่ วนราชการในส่ วนกลางของกระทรวงศึกษาธิการให้เป็ นไปตาพระราชบัญญัติน้ ี โดยให้
มีหวั หน้าส่ วนราชการขึ้นตรงต่อรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงศึกษาธิ การ ดังนี้
(1) สานักงานรัฐมนตรี **ไม่ ใช่ กรม**
(2) สานักงานปลัดกระทรวง
(3) สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
(4) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(5) สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
(6) สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
***ส่ วนราชการตาม (2) (3) (4) (5) และ (6) มีฐานะเป็ นนิ ติบุคคลและเป็ นกรมตามกฎหมายว่าด้วย
ระเบียบบริ หารราชการแผ่นดิน นั้นออกเป็ น กฎกระทรวง

32
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

กฎกระทรวง แบ่ งส่ วนราชการสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน


กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2556
ให้ แบ่ งส่ วนราชการสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน ดังต่ อไปนี้
(1) สานักอานวยการ
(2) สานักการคลังและสิ นทรัพย์
(3) สานักติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(4) สานักทดสอบทางการศึกษา
(5) สานักเทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนการสอน
(6) สานักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(7) สานักบริ หารงานการศึกษาพิเศษ
(8) สานักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
(9) สานักพัฒนาระบบบริ หารงานบุคคลและนิติการ
(10) สานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา

*** หมายเหตุเพิม่ อีก 2 กลุ่มตาม กฎกระทรวง แบ่งส่ วนราชการสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น


พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิ การ พ.ศ. 2556

1.กลุ่มตรวจสอบภายใน
2.กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร

มาตรา 14 ให้ มีสภาการศึกษา ( 59 คน ) มีหน้ าที่


(1) พิจารณาเสนอแผนการศึกษาแห่งชาติที่บูรณาการศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม และกีฬากับ
การศึกษาทุกระดับ
(2) พิจารณาเสนอนโยบาย แผน และมาตรฐานการศึกษา
(3) พิจารณาเสนอนโยบายและแผนในการสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา

33
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

มาตรา 15 ให้มีคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหน้ าที่ พิจารณาเสนอนโยบายแผนพัฒนา


มาตรฐาน และหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐานที่สอดคล้ องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสั งคม
แห่ งชาติและแผนการศึกษาแห่ งชาติ
- การสนับสนุนทรัพยากร การติดตามตรวจสอบและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- เสนอแนะในการออกระเบียบ หลักเกณฑ์ และประกาศที่เกี่ยวกับการบริ หารงานของสานักงาน

มาตรา 21 ให้ กระทรวงศึกษาธิการ


กาหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการประเมินความพร้ อมในการจัดการศึกษาขององค์ กรปกครองส่ วน
ท้ องถิ่น และมีหน้าที่ในการประสานและส่ งเสริ มองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นให้สามารถจัดการศึกษา
สอดคล้องกับนโยบายและได้มาตรฐานการศึกษา รวมทั้งการเสนอแนะการจัดสรรงบประมาณอุดหนุนการ
จัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
หลักเกณฑ์ และวิธีการประเมินความพร้อมในการจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นให้
เป็ นไปตามที่กาหนดในกฎกระทรวง

หมวดที่ 2 การจัดระเบียบราชการในสานักงานปลัดกระทรวง
มาตรา ๓๓ การบริหารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ ........ยึดเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา โดยคานึงถึง
1.ระดับของการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
2.จานวนสถานศึกษา
3.จานวนประชากร
4.วัฒนธรรม
5.และความเหมาะสมด้ านอื่น
***เว้นแต่การจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามกฎหมายว่าด้วยการอาชีวศึกษา**

***ให้ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการโดย คาแนะนา ของสภาการศึกษามีอานาจประกาศใน


ราชกิจจานุเบกษากาหนดเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
เพื่อการบริ หารและการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานแบ่งเป็ นเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและเขต
พื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา

34
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

มาตรา 34 ให้ จัดระเบียบบริหารราชการของเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ดังนี้


(1) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
(2) สถานศึกษาที่จดั การศึกษาขั้นพื้นฐานหรื อส่ วนราชการที่เรี ยกชื่ออย่างอื่น
การแบ่งส่ วนราชการภายในตาม (1) ให้จดั ทาเป็ นประกาศกระทรวงและให้ระบุอานาจหน้าที่ของ
แต่ละส่ วนราชการไว้ในประกาศกระทรวง ทั้งนี้ โดย คาแนะนาของคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
(กพฐ.)
มาตรา 36 ในแต่ ละเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ให้ มีคณะกรรมการและสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา มี
อานาจหน้ าที่ (คาสั่ ง คสช.ที่ 10/ 2559 ยุบเลิกคณะกรรมการเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาและให้ โอนอานาจไปที่ กศจ.)
ดังนี้
1.การกากับดูแล จัดตั้ง ยุบ รวม หรื อเลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
2.ประสานส่ งเสริม และสนับสนุนสถานศึกษาเอกชนในเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
3.ประสานและส่ งเสริมองค์ กรปกครองส่ วน ท้องถิ่น ให้ สามารถจัดการศึกษาสอดคล้องกับนโยบาย
และมาตรฐานการศึกษา
4.ส่ งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาของบุคคล ครอบครัว องค์กรชุมชน องค์กรเอกชน
องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันสังคมอื่นที่จดั การศึกษาในรู ปแบบที่
หลากหลายในเขตพื้นที่การศึกษา

หมวด 3 การจัดระเบียบบริหารราชการในสถานศึกษาของรัฐทีจ่ ัดการศึกษาระดับปริญญาทีเ่ ป็ นนิติ


บุคคล
มาตรา 40 ระเบียบปฏิ บตั ิราชการหรื อระเบียบปฏิ บตั ิงานของสถานศึกษาของรัฐที่ จดั การศึ ก ษา
ระดับอุดมศึกษาระดับปริ ญญาที่เป็ นนิติ บุคคลทั้งที่เป็ นสถานศึกษาในสังกัดและที่เป็ นสถานศึกษาในกากับ
ให้เป็ นไปตามกฎหมายว่าด้วยการดังกล่าว

35
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

หมวด 4 การปฏิบัติราชการแทน
มาตรา 44 ให้ปลัดกระทรวง เลขาธิการสภาการศึกษา เลขาธิ การคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เลขาธิ การคณะกรรมการการอุดมศึกษา และเลขาธิ การคณะกรรมการการอาชี วศึกษากระจายอานาจการ
บริ หารและการจัดการศึกษาทั้งด้านวิชาการ งบประมาณ การบริ หารงานบุคคล และการบริ หารทั่วไป ไปยัง
คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาโดยตรง (คาสั่ง คสช.ที่
10/ 2559 ยุบเลิกคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาและให้โอนอานาจไปที่ กศจ.)
*** ทั้ง นี้ ให้ ค านึ ง ถึ ง ความเป็ นอิส ระ และการบริ ห ารงานที่ค ล่ อ งตั ว ในการจั ด การศึ ก ษาของ
สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาและสถานศึกษา***

หมวด 5 การรักษาราชการแทน
มาตรา 48 ในกรณีที่ไม่ มี ผ้ ูด ารงต าแหน่ งรั ฐมนตรี ว่ าการกระทรวงศึ กษาธิ การ หรื อมี แต่ไ ม่ อ าจ
ปฏิบตั ิราชการได้ ให้รัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิ การเป็ นผู้รักษาราชการแทน ถ้ามีรัฐมนตรี ช่วยว่า
การ กระทรวงศึกษาธิ การหลายคน ให้คณะรัฐมนตรี มอบหมายให้รัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิ การ
คนใดคน หนึ่งเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน ถ้าไม่มีผดู ้ ารงตาแหน่งรัฐมนตรี ช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิ การ หรื อ
มีแต่ไม่อาจ ปฏิบตั ิราชการได้ ให้คณะรัฐมนตรี มอบหมายให้รัฐมนตรี คนใดคนหนึ่งเป็ นผูร้ ักษาราชการแทน

มาตรา 54 ในกรณีทไี่ ม่ มีผ้ ดู ารงตาแหน่ งผู้อานวยการสถานศึกษา หรื อมีแต่ ไม่ อาจปฏิบัติราชการได้


ให้รองผูอ้ านวยการสถานศึกษารักษาราชการแทน ถ้ามีรองผูอ้ านวยการสถานศึกษาหลายคน ให้ผอู ้ านวยการ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งรองผูอ้ านวยการสถานศึกษาคนใดคนหนึ่ งรักษาราชการแทน
ถ้าไม่มีผูด้ ารงตาแหน่ ง รองผูอ้ านวยการสถานศึ กษา หรื อมี แต่ไ ม่ อาจปฏิ บ ตั ิ ราชการได้ ให้ผูอ้ านวยการ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งข้าราชการในสถานศึกษาคนใดคนหนึ่งเป็ นผูร้ ักษาราชการแทนก็ได้

สรุ ป การรักษาราชการแทน กับ ปฏิบัติราชการแทน


การรักษาราชการแทน ใช้ในกรณี = ผูด้ ารงตาแหน่ งไม่มี หรื อ ไม่อยู่ในสถานที่ทางาน ผูร้ ักษา
ราชการ มีอานาจเช่นเดียวกับผูท้ ี่ตนเองแทน
การปฏิบตั ิราชการแทน ใช้ในกรณี = ผูด้ ารงตาแหน่งมอบหมาย มอบอานาจ ให้ผดู ้ ารงตาแหน่งอื่น
ให้ปฏิบตั ิราชการแทน
เทคนิคการจา เพิม่ เติม คือ การมอบอานาจให้ ทาเป็ นหนังสื อ + การลงโทษให้ ทาเป็ นคาสั่ ง

36
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่ อง การแบ่ งส่ วนราชการภายในสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
พ.ศ. 2560
เพื่ อให้ก ารดาเนิ นการแบ่ ง ส่ วนราชการภายในส านัก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาเป็ นไปด้วยความ
เหมาะสมกับภารกิจ ปริ มาณ และคุณภาพการจัดการศึกษาในแต่ละเขตพื้นที่การศึกษาอาศัยอานาจตามความ
ในมาตรา 8 และมาตรา 34 วรรคสอง แห่ งพระราชบัญญัติระเบียบบริ หารราชการกระทรวงศึกษาธิ การ พ.ศ.
2546 กฎกระทรวงกาหนดหลักเกณฑ์การแบ่งส่ วนราชการภายในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2546
ข้อ ๓ และข้อ 4 ประกอบกับ ค าแนะนาของคณะกรรมการการศึ ก ษาขั้นพื้ นฐานและมติ ค ณะกรรมการ
การศึ ก ษาขั้น พื้ น ฐาน ในการประชุ ม ครั้ งที่ 2/2560 เมื่ อ วัน ที่ 22 กัน ยายน พ.ศ. 2560 รั ฐ มนตรี ว่ า การ
กระทรวงศึกษาธิ การจึงออกประกาศไว้ ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ประกาศนี้เรี ยกว่า “ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่ อง การแบ่งส่ วนราชการภายในสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา พ.ศ. 2560”
ข้อ 2 ประกาศนี้ให้ใช้บงั คับตั้งแต่วนั ที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็ นต้นไป
ข้อ ๓ ให้ยกเลิก
(1) ประกาศกระทรวงศึกษาธิ การ เรื่ อง การแบ่งส่ วนราชการภายในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษา พ.ศ. 2553
(2) ประกาศกระทรวงศึกษาธิ การ เรื่ อง การแบ่งส่ วนราชการภายในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา พ.ศ. 2553
(3) ประกาศกระทรวงศึกษาธิ การ เรื่ อง การแบ่งส่ วนราชการภายในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553
(4) ประกาศกระทรวงศึกษาธิ การ เรื่ อง การแบ่งส่ วนราชการภายในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2553
ข้อ 4 ในประกาศฉบับนี้
“สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา” หมายความว่า สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา
และสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษามัธยมศึกษา
ข้ อ 5 ให้ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามีอานาจหน้าที่ดาเนินการให้เป็ นไปตามอานาจหน้าที่ของสานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริ หารราชการกระทรวงศึกษาธิการ และมีอานาจหน้าที่
ดังต่อไปนี้ให้แบ่งส่ วนราชการภายในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ไว้ดงั ต่อไปนี้

37
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

(1) จัดทานโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการศึ กษาของเขตพื้นที่ การศึ กษาให้สอดคล้องกับนโยบาย


มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษา แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน และความต้องการของท้องถิ่น
(2) วิเคราะห์การจัดตั้งงบประมาณเงินอุดหนุนทัว่ ไปของสถานศึกษา และหน่วยงาน
ในเขตพื้นที่การศึกษา และแจ้งการจัดสรรงบประมาณที่ได้รับให้หน่วยงานข้างต้นรับทราบ รวมทั้งกากับ
ตรวจสอบ ติดตามการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานดังกล่าว
(3) ประสาน ส่ งเสริ ม สนับสนุน และพัฒนาหลักสู ตรร่ วมกับสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา
(4) กากับ ดูแล ติดตาม และประเมินผลสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและในเขตพื้นที่การศึกษา
(5) ศึกษา วิเคราะห์ วิจยั และรวบรวมข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา
(6) ประสานการระดมทรั พยากรด้านต่าง ๆ รวมทั้งทรั พยากรบุ คคล เพื่อส่ งเสริ ม สนับสนุ นการจัดและ
พัฒนาการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา
(7) จัดระบบประกันคุณภาพการศึกษา และประเมินผลสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา
(8) ประสาน ส่ งเสริ ม สนับสนุ น การจัดการศึ กษาของสถานศึ กษาเอกชน องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่ น
รวมทั้งบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันอื่นที่จดั การศึกษา
รู ปแบบที่หลากหลายในเขตพื้นที่การศึกษา
(9) ดาเนินการและประสาน ส่ งเสริ ม สนับสนุนการวิจยั และพัฒนาการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา
(10) ประสาน ส่ งเสริ ม การดาเนินการของคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ และคณะทางานด้านการศึกษา
(11) ประสานการปฏิ บ ตั ิ ราชการทัว่ ไปกับ องค์ก รหรื อหน่ วยงานต่ า ง ๆ ทั้ง ภาครั ฐ เอกชน และองค์ก ร
ปกครองส่ วนท้องถิ่น
(12) ปฏิบตั ิงานร่ วมกับหรื อสนับสนุนการปฏิบตั ิงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรื อที่ได้รับมอบหมาย
*** ข้ อ 6 ให้ แบ่ งส่ วนราชการภายในสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ไว้ดังต่ อไปนี้ ***
(1) กลุ่มอานวยการ
(2) กลุ่มนโยบายและแผน
(3) กลุ่มส่ งเสริมการศึกษาทางไกล เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
(4) กลุ่มบริหารงานการเงินและสิ นทรัพย์
(5) กลุ่มบริหารงานบุคคล
(6) กลุ่มพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา
(7) กลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา
(8) กลุ่มส่ งเสริมการจัดการศึกษา
(9) หน่ วยตรวจสอบภายใน

38
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

พระราชบัญญัติ
สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546
ประกาศใช้ 11 มิถุนายน 2546
มีผลบังคับใช้เมื่อ 12 มิถุนายน 2546 (ยังไม่เคยปรับปรุ งแก้ไข)
มีจานวน 4 หมวด 90 มาตรา 1 บทเฉพาะกาล

“กระทรวง” หมายความว่า กระทรวงศึกษาธิการ


“วิชาชี พ” หมายความว่า วิชาชี พทางการศึกษาที่ทาหน้ าที่หลักทางด้ านการเรี ยนการสอนและการส่ งเสริ ม
การเรี ยนรู้ ของผู้เรี ยนด้ วยวิธีการต่ างๆ รวมทั้งการรับผิดชอบการบริ หารสถานศึกษาในสถานศึกษาปฐมวัย
ขั้นพื้นฐาน และอุดมศึกษาที่ต่ากว่าปริ ญญาทั้งของรัฐและเอกชน และการบริ หารกาศึกษานอกสถานศึกษา
ในระดับเขตพื้นที่ศึกษา ตลอดจนการสนับสนุ นการศึกษา ให้บริ การหรื อปฏิ บตั ิงานเกี่ ยวเนื่ องกับการจัด
กระบวนการเรี ยนการสอน การนิเทศ และการบริ หารการศึกษาในหน่วยงานการศึกษาต่างๆ

“ผู้ประกอบวิชาชี พทางการศึกษา” หมายความว่า


1.ครู 2.ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
3.ผูบ้ ริ หารการศึกษา
4.บุคลากรทางการศึกษาอื่น (ศน.) ซึ่งได้รับใบอนุญาตเป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพตามพระราชบัญญัติน้ ี

“ครู ” หมายความว่า บุคคลซึ่งประกอบวิชาชีพหลักทางด้านการเรี ยนการสอนและการส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ของ


ผูเ้ รี ยนด้วยวิธีการต่างๆ ในสถานศึกษาปฐมวัย ขั้นพื้นฐาน และอุดมศึกษาที่ต่ากว่าปริ ญญา ทั้งของรัฐและ
เอกชน

“ผู้บริหารสถานศึกษา” หมายความว่า บุคคลซึ่งปฏิบัติงานในตาแหน่งผูบ้ ริ หารสถานศึกษาภายในเขตพื้นที่


การศึกษา และสถานศึกษาอื่นที่จดั การศึกษาปฐมวัย ขั้นพื้นฐาน และอุดมศึกษาต่ากว่าปริ ญญาทั้งของรัฐและ
เอกชน

“ผู้บริหารการศึกษา” หมายความว่า บุคคลซึ่งปฏิบัติงานในตาแหน่ งผู้บริ หารนอกสถานศึกษาในระดับเขต


พืน้ ทีก่ ารศึกษา

39
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

“บุคลากรทางการศึกษาอื่น” หมายความว่า บุคคลซึ่งทาหน้าที่สนับสนุนการศึกษา ให้บริ การหรื อปฏิบตั ิงาน


เกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรี ยนการสอน การนิ เทศและการบริ หารการศึกษาในหน่วยงานการศึกษา
ต่างๆ ซึ่ งหน่วยงานการศึกษากาหนดตาแหน่งให้ตอ้ งมีคุณวุฒิทางการศึกษา

“หน่ วยงานการศึกษา” หมายความว่า สถานศึกษาหรื อหน่วยงานอื่นที่มีหน้าที่กากับดูแล สนับสนุน ส่ งเสริ ม


ให้บริ การเกี่ยวกับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานและอุดมศึกษาต่ากว่าปริ ญญาทั้งของรัฐและเอกชน

“สถานศึกษา” หมายความว่า
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย
โรงเรี ยน
วิทยาลัย
++++ สถาบัน มหาวิทยาลัย หน่วยงานการศึกษาหรื อหน่วยงานอื่นของรัฐหรื อของเอกชน
++++ ที่มีอานาจหน้าที่ หรื อมีวตั ถุประสงค์ในการจัดการศึกษา

“ใบอนุญาต” หมายความว่า ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพซึ่ งออกให้ผปู ้ ฏิบตั ิงานในตาแหน่ง


1.ครู 2. ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
3.ผูบ้ ริ หารการศึกษา 4.บุคลากรทางการศึกษาอื่น

หมวด 1 สภาครู และบุคลากรทางการศึกษา


มาตรา 7 ให้มีสภาครู และบุคลากรทางการศึกษา เรี ยกว่า “คุรุสภา” มีวตั ถุประสงค์และอานาจหน้าที่
ตามที่บญั ญัติไว้ในพระราชบัญญัติน้ ี มีฐานะเป็ นนิ ติบุคคล ในกากับของกระทรวงศึกษาธิการ
มาตรา 8 คุรุสภามีวตั ถุประสงค์ดงั ต่อไปนี้
(1) กาหนดมาตรฐานวิชาชี พ ออกและเพิกถอนใบอนุญาต กากับดูแลการปฏิบตั ิตาม
มาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ รวมทั้งการพัฒนาวิชาชีพ
(2) กาหนดนโยบายและแผนพัฒนาวิชาชีพ
(3) ประสาน ส่ งเสริ มการศึกษาและการวิจัยเกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
มาตรา 9 คุรุสภามีอานาจหน้ าทีด่ ังต่ อไปนี้ +++
(1) กาหนดมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ (ต้ องจา)
(2) ควบคุมความประพฤติ และการดาเนินงานของผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาให้
เป็ นไปตามมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ

40
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

(3) ออกใบอนุญาตให้ แก่ ผ้ ขู อประกอบวิชาชี พ +++


(4) พักใช้ ใบอนุญาตหรื อเพิกถอนใบอนุญาต +++
(5) สนับสนุนส่ งเสริ มและพัฒนาวิชาชีพตามมาตรฐานวิชาชีพและจรรจาบรรณ
ของวิชาชีพ
(6) ส่ งเสริ ม สนับสนุน ยกย่อง และผดุงเกียรติผปู ้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา
(๗) รับรองปริ ญญา ประกาศนียบัตร หรื อวุฒิบตั รของสถาบันต่างๆ ตามมาตรฐานวิชาชีพ
(8) รับรองความรู้ และประสบการณ์ ทางวิชาชี พ รวมทั้งความชานาญในการประกอบ
วิชาชีพ +++
(9) ส่ งเสริ มการศึกษาและการวิจยั เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
(10) เป็ นตัวแทนผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาของประเทศไทย
(11) ออกข้ อบังคับของคุรุสภาว่าด้ วย *** ต้ องได้ รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีและเมื่อได้
ประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ วให้ ใช้ บังคับได้ ***
(12) ให้คาปรึ กษาหรื อเสนอแนะต่อคณะรัฐมนตรี เกี่ยวกับนโยบายหรื อปั ญหา
การพัฒนาวิชาชีพ
(13) ให้คาแนะนาหรื อเสนอความเห็นต่อรัฐมนตรี เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
หรื อการออกกฎกระทรวง ระเบียบ และประกาศต่างๆ
(14) กาหนดให้มีคณะกรรมการเพื่อกระทาการใดๆ อันอยูใ่ นอานาจหน้าที่ของ
คุรุสภา
(15) ดาเนินการให้เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ของคุรุสภา

***มาตรา 10 คุรุสภาอาจมีรายได้ ดังนี้


(1) ค่ าธรรมเนียมตามพระราชบัญญัติน้ ี
(2) เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน
(3) ผลประโยชน์ จากการจัดการทรัพย์สินและการดาเนินกิจการของคุรุสภา
(4) เงินและทรัพย์สินซึ่ งมีผอู ้ ุทิศให้แก่คุรุสภา
(5) ดอกผลของเงินและทรัพย์สินตาม (1) (2) (3) และ (4)
รายได้ของคุรุสภาไม่เป็ นรายได้ที่ตอ้ งนาส่ งกระทรวงการคลังตามกฎหมายว่าด้วยเงินคงคลังและ
กฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณ รวมทั้งไม่อยูใ่ นข่ายการบังคับตามกฎหมายภาษีอากร

41
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่ อง กาหนดการอัตราค่ าธรรมเนียมการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา

(1) ค่าขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตเป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพ (ฉบับละ 500 บาท)


(ครู ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา ผูบ้ ริ หารการศึกษาและวิชาชีพควบคุมอื่นๆ)
(2) ค่าต่อใบอนุ ญาตประกอบวิชาชีพ ครั้งละ 200 บาท
(3) ค่าหนังสื อรับรองการขึ้นทะเบียนเป็ นผูป้ ระกอบวิชาชี พ ฉบับละ 300 บาท
(4) ค่าหนังสื ออนุมตั ิ หรื อวุฒิบตั รแสดงความรู ้ความชานาญในการประกอบวิชาชีพ ฉบับละ 400 บาท
(5) ค่าใบแทนใบอนุญาต ฉบับละ 200 บาท

เทคนิควิธีจา = ต่ อ / แทน / รอง / อนุมัติ / ขึน้


200 200 300 400 500

ส่ วนที่ 2 คณะกรรมการคุรุสภา
มาตรา 12 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรี ยกว่า คณะกรรมการคุรุสภา จานวน 39 คน
ประกอบด้วย (คาสั่ ง คสช.มาตรา 44 เหลือ 11 คน )
(1) ประธานกรรมการ ซึ่ งคณะรัฐมนตรี แต่งตั้งจากผูท้ รงคุณวุฒิ ที่มีความรู ้ความเชี่ยวชาญ และ
ประสบการณ์สูงด้านการศึกษา มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ หรื อกฎหมาย
(2) กรรมการโดยตาแหน่ง ประกอบด้วย
ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
เลขาธิการสภาการศึกษา
เลขาธิ การคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
ผูอ้ านวยการสานักบริ หารงานคณะกรรมการส่ งเสริ มการศึกษาเอกชน

42
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

หัวหน้าสานักงานคณะกรรมการมาตรฐานการบริ หารงานบุคคลส่ วนท้องถิ่น


++ ( คาสั่ ง คสช. ที่ 7 / 2558 ให้ รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการเป็ นประธานกรรมการคุรุสภาและให้
มีคณะกรรมการคุรสภา 11 คน )
(3) กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิจานวน 7 คน ซึ่ งคณะรัฐมนตรี แต่งตั้งจากผูท้ ี่มีความรู ้ ความเชี่ยวชาญ
และประสบการณ์สูงด้านการบริ หารการศึกษา การอาชีวศึกษา การศึกษาพิเศษ มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกฎหมายด้านละหนึ่งคน ซึ่ งในจานวนนี้ ตอ้ งเป็ นผูท้ ี่เป็ นหรื อเคยเป็ นครู
ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา หรื อผูบ้ ริ หารการศึกษา ไม่ น้อยกว่า 3 คน
(4) กรรมการซึ่ งได้รับแต่งตั้งจากผูด้ ารงตาแหน่งคณบดีคณะครุ ศาสตร์ หรื อศึกษาศาสตร์ หรื อ
การศึกษา ซึ่ งเลือกกันเองจากสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ จานวน 3 คน และจากสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
จานวน 1 คน
(5) กรรมการจากผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา ซึ่ งเลือกตั้งมาจากผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา
จานวน 19 คน
ในจานวนนี้ตอ้ งเป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาที่ดารงตาแหน่งครู ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
ผูบ้ ริ หารการศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาอื่น และมาจากสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา สถาบันอาชีวศึกษา
สถานศึกษาเอกชน และองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นตามสัดส่ วนจานวนผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา
*******ให้ เลขาธิการคุรุสภาเป็ นเลขานุการ******

***ผู้ลงนามในใบอนุญาตประกอบวิชาชี พ
++ประธานคณะกรรมการคุรุสภา++
***ผ็ลงนามในบัตรประจาตัวสมาชิ กคุรุสภา
++เลขาธิการคุรุสภา++

วิธีจา = ใบประธาน + บัตรเลขา

43
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ส่ วนที่ 3 คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพ
มาตรา 21 ให้มีคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพจานวน 17 คน ประกอบด้วย
ประธานกรรมการซึ่งรัฐมนตรีแต่ งตั้งจากกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ในคณะกรรมการคุรุสภา***
กรรมการมาจากผู้ประกอบวิชาชี พทางการศึกษา
+++ซึ่ งเลือกตั้งมาจากผูป้ ระกอบวิชาชี พทางการศึกษาที่ดารงตาแหน่งครู ที่มีประสบการณ์ ดา้ นการ
สอนไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี หรื อดารงตาแหน่งอาจารย์ 3 หรื อมีวทิ ยฐานะเป็ นครู ชานาญการขึ้นไป
+++ผูป้ ระกอบวิช าชี พ ทางการศึ ก ษาที่ ดารงตาแหน่ ง ผูบ้ ริ หารสถานศึ ก ษาที่ มี ป ระสบการณ์ ใ น
ต าแหน่ ง ไม่ น้ อ ยกว่ า 10 ปี ผู ้ป ระกอบวิ ช าชี พ ทางการศึ ก ษาที่ ด ารงต าแหน่ ง ผู ้บ ริ หารการศึ ก ษาที่ มี
ประสบการณ์ในตาแหน่งไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี
++++บุคลากรทางการศึกษาอื่นที่มีประสบการณ์ในตาแหน่งไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี
ให้ เลขาธิการคุรุสภา เป็ นกรรมการและเลขานุการ

มาตรา 25 คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีอานาจและหน้ าที่ ดังต่ อไปนี้


(1) พิจารณาการออกใบอนุญาต ให้แก่ผปู ้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา และการ พักใช้ หรื อเพิกถอน
ใบอนุญาต
(2) กากับดูแลการปฏิบตั ิตามมาตรฐานและจรรยาบรรณของผูป้ ระกอบวิชาชีพ
ทางการศึกษา
(3) ส่ งเสริ ม พัฒนา และเสนอแนะคณะกรรมการคุรุสภากาหนดมาตรฐานและจรรยาบรรณในการประกอบ
วิชาชีพ
(4) ส่ งเสริ ม ยกย่อง และพัฒนาวิชาชีพไปสู่ ความเป็ นเลิศในสาขาต่างๆ ตามที่กาหนดในข้อบังคับของคุรุสภา

ส่ วนที่ 4 การดาเนินงานของคุรุสภา

เลขาธิการคุรุสภา มีหน้ าที่ ++ ดูแลรักษาทะเบียนผู้ได้ รับใบอนุญาต

44
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ส่ วนที่ 5 การประกอบวิชาชีพควบคุม
มาตรา 43 ให้วชิ าชีพครู ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา และผูบ้ ริ หารการศึกษาเป็ นวิชาชีพควบคุมตาม
พระราชบัญญัติน้ ี
การกาหนดวิชาชีพควบคุมอื่นให้เป็ นไปตามที่กาหนดใน กฎกระทรวง
+++ห้ ามมิให้ ผ้ ใู ดประกอบวิชาชี พควบคุม โดยไม่ ได้ รับใบอนุญาตตามพระราชบัญญัตินี้ เว้นแต่ กรณีอย่างใด
อย่างหนึ่ง ดังต่ อไปนี้
(1) ผูท้ ี่เข้ามาให้ความรู ้แก่ผเู ้ รี ยนในสถานศึกษาเป็ นครั้งคราวในฐานะวิทยากรพิเศษทางการศึกษา
(2) ผูท้ ี่ไม่ได้ประกอบวิชาชีพหลักทางด้านการเรี ยนการสอนแต่ในบางครั้งต้ องทาหน้ าที่สอนด้ วย
(3) นักเรียน นักศึกษา หรื อผูร้ ับการฝึ กอบรมหรื อผู้ได้ รับใบอนุญาตปฏิบัติการสอน ซึ่งทาการฝึ กหัด
หรื ออบรมในความควบคุมของผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาซึ่งเป็ นผูใ้ ห้การศึกษาหรื อฝึ กอบรม ทั้งนี้
ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการคุรุสภากาหนด
(4) ผู้ทจี่ ัดการศึกษาตามอัธยาศัย
(5) ผูท้ ี่ทาหน้าที่สอนในศูนย์การเรี ยนตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติหรื อสถานที่เรี ยนที่
หน่วยงานจัดการศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย บุคคล ครอบครัว ชุมชนองค์กรชุมชน องค์กรปกครอง
ส่ วนท้องถิ่น องค์กรเอกชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ โรงพยาบาล สถาบันทาง
การแพทย์ สถานสงเคราะห์ และสถาบันสังคมอื่นเป็ นผูจ้ ดั
(6) คณาจารย์ ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา และผูบ้ ริ หารการศึกษาในระดับอุดมศึกษาระดับปริ ญญาทั้งของ
รัฐและเอกชน
(7) ผู้บริหารการศึกษาระดับเหนือเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
(8) บุคคลอื่นตามที่คณะกรรมการคุรุสภากาหนด

***ผู้ได้ รับการยกเว้ นไม่ ต้องมีใบประกอบวิชาชี พ


- พระภิกษุทีทาหน้าที่สอนหรื อบริ หารการศึกษา
- ครุ ผสู ้ อนตามตามโครงการแลกเปลี่ยน
- ข้าราชการตารวจตระเวนชายแดนและข้าราชการสังกัดกระทรวงกลาโหม

45
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

มาตรา 44 ผูข้ อรับใบอนุญาตเป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพควบคุม ต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลกั ษณะต้องห้าม


ดังต่อไปนี้
คุณสมบัติ
(1) มีอายุไม่ ต่ากว่ า 20 ปี บริบูรณ์ ***
(2) มีวุฒิปริญญาทางการศึกษา หรื อเทียบเท่า หรื อมีคุณวุฒิอื่นที่คุรุสภารับรอง
(3) ผ่านการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาตามหลักสู ตรปริ ญญาทางการศึกษาเป็ นเวลาไม่นอ้ ยกว่า
1 ปี และผ่านเกณฑ์การประเมินปฏิบตั ิการสอนตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการคุรุสภา
กาหนด
ลักษณะต้ องห้ าม
(1) เป็ นผูม้ ีความประพฤติเสื่ อมเสี ยหรื อบกพร่ องในศีลธรรมอันดี
(2) เป็ นคนไร้ความสามารถหรื อคนเสมือนไร้ ความสามารถ
(3) เคยต้องโทษจาคุกในคดีที่คุรุสภาเห็นว่าอาจนามาซึ่ งความเสื่ อมเสี ยเกียรติศกั ดิ์แห่งวิชาชีพ

มาตรา 49 ให้มีขอ้ บังคับว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ ประกอบด้วย


(1) มาตรฐานความรู้ และประสบการณ์วชิ าชีพ
(2) มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน
(3) มาตรฐานการปฏิบตั ิตน

เทคนิคการจา = รู้ + งาน + ตน

มาตรา 50 มาตรฐานการปฏิบตั ิตน ให้กาหนดเป็ นข้อบังคับว่าด้วยจรรยาบรรณของวิชาชีพ


5 ด้าน ประกอบด้วย
(1) จรรยาบรรณต่อตนเอง
(2) จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
(3) จรรยาบรรณต่อผู้รับบริ การ
(4) จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชี พ
(5) จรรยาบรรณต่อสั งคม

เทคนิคการจา = ตน + ชีพ + รับ + ร่ วม + คม

46
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

มาตรา 51 บุคคลซึ่งได้รับความเสี ยหายจากการประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพของผูไ้ ด้รับใบอนุญาตมี


--- สิ ทธิ กล่าวหาผูไ้ ด้รับใบอนุญาตผูน้ ้ นั โดยทาเรื่ องยืน่ ต่อ คุรุสภา***

กรรมการคุรุสภา กรรมการมาตรฐานวิชาชีพ หรื อบุคคลอื่นมีสิทธิ กล่าวโทษผูป้ ระกอบวิชาชีพว่าผิด


จรรยาบรรณของวิชาชีพ โดยแจ้งเรื่ องต่อ คุรุสภา

สิ ทธิ การกล่าวโทษตามสิ้นสุ ดลงเมื่อพ้ น 1 ปี นับแต่วนั ที่ผไู ้ ด้รับความเสี ยหายหรื อผูก้ ล่าวโทษรู ้เรื่ องการ
ประพฤติผดิ จรรยาบรรณของวิชาชีพดังกล่าวและรู ้ตวั ผูป้ ระพฤติผดิ การถอนเรื่ องการกล่าวหาหรื อการ
กล่าวโทษที่ได้ยนื่ ไว้แล้วนั้นไม่เป็ นเหตุให้ระงับการดาเนิ นการตามพระราชบัญญัติน้ ี

มาตรา 52 เมื่อคุรุสภาได้ รับเรื่ องการกล่ าวหาหรื อการกล่ าวโทษ ให้ เลขาธิการคุรุสภาเสนอเรื่ อง


ดังกล่าวต่ อคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพโดยไม่ ชักช้ า

มาตรา 53 ให้ ประธานกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีหนังสื อแจ้งข้อกล่าวหาหรื อ


ข้อกล่าวโทษ พร้อมทั้งส่ งสาเนาเรื่ องที่กล่าวหาหรื อกล่าวโทษให้ผไู ้ ด้รับใบอนุ ญาตซึ่ งถูกกล่าวหา
หรื อกล่าวโทษล่วงหน้าไม่นอ้ ยกว่า 15 วันก่อนเริ่ มพิจารณา
ผูถ้ ูกกล่ าวหาหรื อถูกกล่ าวโทษมีสิทธิทาคาชี้แจงหรื อนาพยานหลักฐานใดๆ ส่ งให้คณะกรรมการ
มาตรฐานวิชาชีพ หรื ออนุกรรมการ ภายใน 15 วันนับแต่วนั ที่ได้รับแจ้งจากประธานกรรมการมาตรฐาน
วิชาชีพ หรื อภายในเวลาที่คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพกาหนด
มาตรา 54 คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีอานาจวินิจฉัยชี้ขาดอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้
(1) ยกข้อกล่าวหา
(2) ตักเตือน
(3) ภาคทัณฑ์
(4) พักใช้ใบอนุญาตมีกาหนดเวลาตามที่เห็นสมควร แต่ไม่เกิน 5 ปี
(5) เพิกถอนใบอนุญาต

เทคนิคการจา = ยก + ตัก + ภาค + พัก + เพิก


วินิจฉัยโทษ 5 สถาน // กรณี ที่ผดิ 4 สถาน

ผูไ้ ด้รับใบอนุญาตซึ่ งคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพวินิจฉัยชี้ขาดตามมาตรา 54 (2) (3) (4) หรื อ

(5) อาจอุทธรณ์ คาวินิจฉัยต่ อคณะกรมการคุรุสภาภายใน 30 วัน นับแต่วนั ได้รับแจ้งคาวินิจฉัย


47
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ผูไ้ ด้รับใบอนุญาตซึ่ งถูกสัง่ เพิกถอน จะยืน่ ขออีกไม่ได้ จนกว่าจะพ้น 5 ปี นับแต่วนั ที่ถูกสั่งเพิกถอน

ส่ วนที่ 6
สมาชิ กคุรุสภา
มาตรา 58 สมาชิกของคุรุสภามีสองประเภท ดังนี้
(1) สมาชิกสามัญ = ต้องเป็ นผูม้ ีใบอนุญาต
(2) สมาชิกกิตติมศักดิ์ = ผูท้ รงคุณวุฒิซ่ ึง คณะกรรมการคุรุสภาแต่ งตั้ง

อานาจหน้ าทีข่ องคณะกรรมการส่ งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา


มีจานวน 23 คน (คาสั่ ง คสช. ที่ 7 / 2558 ให้ มี 9 คน)
(1) ดาเนินงานด้านสวัสดิการ สวัสดิภาพ สิ ทธิ ประโยชน์เกื้อกูลอื่นของผูป้ ระกอบ วิชาชีพทางการ
ศึกษา
(2)ส่ งเสริ ม สนับสนุน ยกย่องและ ผดุงเกียรติของผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษา
(3) ส่ งเสริ มให้ผปู ้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาได้รับสวัสดิการต่างๆ
คณะกรรมการส่ งเสริ มสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา เป็ นองค์กรบริ หาร มี
จานวน 23 คน ( 23 คน ) ประกอบด้วย
(1) ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็ นประธาน
(2) กรรมการ โดยตาแหน่ง6 คน เลขาธิ การสภาการศึกษา เลขาธิ การคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน เลขาธิ การคณะกรรมการการอุดมศึกษา เลขาธิ การคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เลขาธิ การคุรุสภา
เลขาธิการคณะกรรมการข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
(3)กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ ซึ่ งคณะรัฐมนตรี แต่งตั้งจาก ผูเ้ ชี่ยวชาญด้านละ 1 คน รวม 3 คน ด้าน
สวัสดิการสังคม ด้านบริ หารธุ รกิจและ ด้านกฎหมาย
(4) กรรมการที่ได้รับเลือกตั้งจากผูป้ ระกอบวิชาชีพทางการศึกษาที่มาจากสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา
สถาบัน อาชีวศึกษา สถานศึกษาเอกชน และองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น 12 คน
+++เลขาธิการคณะกรรมการส่ งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษาเป็ น
กรรมการและเลขานุการ
>> (คาสั่ ง คสช. ที่ 7/ 2558 ให้ รมต.กระทรวงศึกษาธิการ เป็ น ประธาน สกสค. 9 คน)

48
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

หมวดที่ 3 การกากับดูแล

กล่าวถึงอานาจหน้ าที่ของ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ ในการกากับดูแลการดาเนินงาน


และการจัดสรรงบประมาณ ดังนี้
1.คุรุสภา
2.สานักงานคณะกรรมการส่ งเสริมสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา (สกสค.)

หมวดที่ 4 บทกาหนดโทษ

มาตรา 43 จะต้ องระวางโทษจาคุกไม่ เกิน 1ปี หรื อปรับไม่ เกิน 20,000 บาทหรื อทั้งจาทั้งปรับ
*** ประกอบอาชีพควบคุมโดยไม่ได้รับอนุญาต
มาตรา 79 ผู้ใดฝ่ าฝื นมาตรา 46หรื อ 56 ต้ องระวางโทษจาคุกไม่ เกิน 3 ปี หรื อปรับไม่ เกิน 60000 บาท
หรื อทั้งจาทั้งปรับ
*** แสดงด้วยวิธีใดๆๆ ให้ผอู ้ ื่นเข้าใจว่าตนมีสิทธิ หรื อพร้อมประกอบวิชาชีพโดยไม่ได้รับ
อนุญาตจาก คุรุสภา
*** รับผูไ้ ม่มีใบอนุ ญาตประกอบวิชาชีพเข้าประกอบวิชาชีพควบคุมในสถานศึกษา
*** อยูใ่ นระหว่างพักใช้ใบอนุญาตแล้วประกอบวิชาชีพควบคุม

49
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

พระราชบัญญัติ
ระเบียบข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
พ.ศ. 2547
แก้ไขเพิม่ เติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2547 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้
“ข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา” หมายความว่า บุคคลซึ่ งได้รับการบรรจุและแต่งตั้งตาม
พระราชบัญญัติน้ ีให้รับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณแผ่นดิน งบบุคลากรที่จ่ายในลักษณะ
เงินเดือนในกระทรวงศึกษาธิ การ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงวัฒนธรรม หรื อกระทรวงอื่นที่
กาหนดในพระราชกฤษฎีกา

“ข้ าราชการครู ” หมายความว่า ผูท้ ี่ประกอบวิชาชีพซึ่งทาหน้าที่หลักทางด้านการเรี ยนการสอนและ


ส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนด้วยวิธีการต่างๆ ในสถานศึกษาของรัฐ

“คณาจารย์ ” หมายความว่า บุคลากรซึ่งทาหน้าที่หลักทางด้านการสอนและการวิจยั ในสถานศึกษา


ระดับอุดมศึกษาระดับปริ ญญาของรัฐ

“บุคลากรทางการศึกษา” หมายความว่า ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา ผูบ้ ริ หารการศึกษา รวมทั้งผูส้ นับสนุน


การศึกษาซึ่งเป็ นผูท้ าหน้าที่ให้บริ การ หรื อปฏิบตั ิงานเกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรี ยนการสอน การ
นิเทศ การบริ หารการศึกษา และปฏิบตั ิงานอื่นในหน่วยงานการศึกษา

“วิชาชีพ” หมายความว่า วิชาชีพครู วิชาชีพบริ หารการศึกษา และวิชาชีพบุคลากรทางการศึกษาอื่น

“เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา” หมายความว่า เขตพื้นที่การศึกษาตามประกาศกระทรวง


“หน่วยงานการศึกษา” หมายความว่า
(1) สถานศึกษา
(2) สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
(3) สานักงานการศึกษานอกโรงเรี ยน
(4) แหล่งการเรี ยนรู ้ตามประกาศของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

50
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

(5) หน่วยงานตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริ หารราชการกระทรวงศึกษาธิ การหรื อตามประกาศ


กระทรวง หรื อหน่วยงานที่คณะกรรมการข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษากาหนด

“สถานศึกษา” หมายความว่า
สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรี ยน
ศูนย์การศึกษาพิเศษ ศูนย์การศึกษานอกระบบและตามอัธยาศัย
ศูนย์การเรี ยน วิทยาลัย วิทยาลัยชุมชน สถาบัน
หรื อสถานศึกษาทีเ่ รี ยกชื่ ออย่ างอื่นของรัฐทีม่ ีอานาจหน้ าที่หรื อมีวตั ถุประสงค์ ในการจัด
การศึกษาตามกฎหมายว่าด้ วยการศึกษาแห่ งชาติและตามประกาศกระทรวง

ใบอนุญาต หมายความว่ า ใบอนุญาตประกอบวิชาชี พซึงออกให้ ผ้ ปู ฏิบัติงาน


1.ครู 2.ผู้บริหารสถานศึกษา
3.ผู้บริหารการศึกษา 4.และบุคคลกรทางการศึกษาอื่น (ศน.)

หมวด 1 คณะกรรมการบริหารงานบุคคลของข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา


มาตรา 7 ให้มีคณะกรรมการบริ หารงานบุคคลของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาคณะ
หนึ่ง เรี ยกว่า “คณะกรรมการข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา” เรียกโดยย่อว่า “ก.ค.ศ.”
ประกอบด้วย (จานวนทั้งหมด 31 คน )
(1) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็ นประธานกรรมการ
(2) ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เป็ นรองประธานกรรมการ
(3) กรรมการโดยตาแหน่งจานวน 8 คน ได้แก่ ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬาปลัดกระทรวง
วัฒนธรรม เลขาธิ การ ก.พ. เลขาธิ การคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เลขาธิ การคณะกรรมการ
การอาชี วศึกษา เลขาธิ การคณะกรรมการการอุดมศึกษา เลขาธิ การ ก.ค.ศ. และเลขาธิ การคุ รุสภา
4.กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิจานวน 9 คน ซึ่ง คณะรัฐมนตรีแต่ งตั้ง
5.กรรมการผูแ้ ทนข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาซึ่ งมาจากการเลือกตั้งจานวน 12 คน จาก
บุคคลที่มีความรู ้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์สูงทางด้านการศึกษา ด้านการบริ หารงานบุคคล
ด้าน กฎหมาย ด้านการบริ หารการจัดการภาครัฐ ด้านการบริ หารองค์กร ด้านการศึกษาพิเศษ ด้าน
การบริ ห ารธุ ร กิ จ หรื อ ด้า นเศรษฐศาสตร์ ด้า นการผลิ ต และพัฒ นาครู และด้า นเทคโนโลยี
สารสนเทศหรื อด้านการบริ หารจัดการความรู ้หรื อด้านการวิจยั และประเมินผล ด้านละหนึ่งคน

51
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

(5) กรรมการผูแ้ ทนข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาซึ่ งมาจากการเลือกตั้งจานวน 12 คน


ประกอบด้วย
- ผูแ้ ทนผูอ้ านวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและมัธยมศึกษาฝ่ ายละ 1 คน
สพป. 1 คน , สพม. 1 คน
- ผูแ้ ทนผูบ้ ริ หารสถานศึกษาหรื อผูบ้ ริ หารสถานศึกษา ที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นในหน่วยงานการศึกษา
ตามที่ ก.ค.ศ. กาหนดซึ่ งสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาและมัธยมศึกษาฝ่ ายละ 2 คน = สพป. 1 คน , สพม. 1 คน
ผู้แทนข้ าราชการครู จานวน 6 คนซึ่งเลือกจาก
- ข้าราชการครู สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาจานวน 3 คน
- ข้าราชการครู สังกัดสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษาจานวน 3 คน
- ข้าราชการครู สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจานวน 1 คน
ผูแ้ ทนข้าราชการครู สังกัดสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิ การสังกัดสานักงาน คณะกรรมการ
การอุดมศึกษา สังกัด กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา หรื อสังกัดกระทรวงวัฒนธรรม จานวน 1 คน
-ผูแ้ ทนบุคลากรทางการศึกษาอื่นจานวน 2 คน

มาตรา 19 ให้ ก.ค.ศ. มีอานาจและหน้ าทีด่ ังต่ อไปนี้


(1) เสนอแนะและให้ คาปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรี เกี่ยวกับนโยบายการผลิตและการบริ หารงานบุคคล
ของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาตามพระราชบัญญัติน้ ี
(2) กาหนดนโยบาย วางแผน และกาหนดเกณฑ์อตั รากาลังของข้าราชการครู และบุคลากรทางการ
ศึกษา รวมทั้งให้ความเห็นชอบจานวนและอัตราตาแหน่งของหน่วยงานการศึกษา
(3) เสนอแนะและให้ คา ปรึ กษาแก่คณะรัฐมนตรี ในกรณี ที่ค่าครองชีพเปลี่ยนแปลงไปมาก หรื อการ
จัดสวัสดิการหรื อประโยชน์เกื้อกูลสาหรับข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษายังไม่เหมาะสมเพื่อให้
คณะรัฐมนตรี พิจารณาในอันที่จะปรับปรุ งเงินเดือน เงินวิทยฐานะ เงินประจาตาแหน่ ง เงินเพิม่ ค่าครองชีพ
สวัสดิการ หรื อประโยชน์เกื้อกูลสาหรับข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาให้เหมาะสม
(4) ออกกฎ ก.ค.ศ. ระเบียบ ข้ อบังคับ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการบริหารงานบุคคลของ
ข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา กฎ ก.ค.ศ. เมื่อได้ รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรีและประกาศในราช
กิจจานุเบกษาแล้ ว ให้ ใช้ บังคับได้
52
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

(5) พิจารณาวินิจฉัยตีความปั ญหาที่เกิดขึ้นเนื่องจากการใช้บงั คับพระราชบัญญัติน้ ี เมื่อ ก.ค.ศ. มีมติ


เป็ นประการใดแล้วให้หน่วยงานการศึกษาปฏิบตั ิตามนั้น
(6) พัฒนาหลักเกณฑ์ วิธีการ และมาตรฐานการบริ หารงานบุคคล รวมทั้งการพิทักษ์ ระบบคุณธรรม
ของข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
(7) กาหนดวิธีการและเงื่อนไขการจ้างเพื่อบรรจุและแต่งตั้งบุคคลเพื่อปฏิบตั ิหน้าที่ในตาแหน่งครู
และบุคลากรทางการศึกษาในหน่วยงานการศึกษา รวมทั้งกาหนดอัตราเงินเดือนหรื อค่าตอบแทน
(8) ส่ งเสริ ม สนับสนุนการพัฒนา การเสริ มสร้างขวัญกาลังใจ และการยกย่องเชิดชูเกียรติขา้ ราชการ
ครู และบุคลากรทางการศึกษา
(9) ส่ งเสริม สนับสนุนให้ มีการจัดสวัสดิการและสิ ทธิประโยชน์ เกือ้ กูลอื่นแก่ ข้าราชการครู และ
บุคลากรทางการศึกษา
(10) พิจารณาตั้ง อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา และคณะอนุกรรมการอื่นเพื่อปฏิบตั ิหน้าที่ตามที่
ก.ค.ศ. มอบหมาย
(11) ส่ งเสริ ม สนับสนุน ประสานงาน ให้คาปรึ กษา แนะนาและชี้แจงด้านการบริ หารงานบุคคลแก่
หน่วยงานการศึกษา
(12) กาหนดมาตรฐาน พิจารณา และให้คาแนะนาเกี่ยวกับการดาเนิ นการทางวินยั การออกจาก
ราชการ การอุทธรณ์และการร้องทุกข์ตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติน้ ี
(13) กากับ ดูแล ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการบริ หารงานบุคคลของข้าราชการครู และ
บุคลากรทางการศึกษาเพื่อรักษาความเป็ นธรรมและมาตรฐานด้านการบริ หารงานบุคคล ตรวจสอบและ
ปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัติน้ ี ในการนี้ให้มีอานาจเรี ยกเอกสารและหลักฐานจากหน่วยงานการศึกษาให้
ผูแ้ ทนของหน่วยงานการศึกษา ข้าราชการ หรื อบุคคลใด มาชี้แจงข้อเท็จจริ ง และให้มีอานาจออกระเบียบ
ข้อบังคับ รวมทั้งให้ส่วนราชการหน่วยงานการศึกษา ข้าราชการหรื อบุคคลใดรายงานเกี่ยวกับการ
บริ หารงานบุคคลของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาที่อยูใ่ นอานาจหน้าที่ไปยัง ก.ค.ศ.
(14)ในกรณี ที่ปรากฏว่าส่ วนราชการ หน่วยงานการศึกษา อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา
คณะอนุกรรมการหรื อผูม้ ีหน้าที่ปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัติน้ ี ไม่ปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัติน้ ี หรื อปฏิบตั ิการ
โดยไม่ถูกต้องและไม่เหมาะสม หรื อปฏิบตั ิการโดยขัดหรื อแย้งกับกฎหมาย กฎ ก.ค.ศ. ระเบียบ ข้อบังคับ
หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขตามที่ ก.ค.ศ. กาหนดให้ ก.ค.ศ. มีอานาจยับยั้งการปฏิบตั ิการดังกล่าวไว้เป็ น
การชัว่ คราว เมื่อ ก.ค.ศ. มีมติเป็ นประการใดแล้ว ให้ส่วนราชการหน่วยงานการศึกษา อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่
การศึกษา คณะอนุกรรมการหรื อผูม้ ีหน้าที่ปฏิบตั ิตามพระราชบัญญัติน้ ีปฏิบตั ิไปตามนั้น
(15) พิจารณารับรองคุณวุฒิของผูไ้ ด้รับปริ ญญา ประกาศนียบัตรวิชาชีพ หรื อคุณวุฒิอย่างอื่นเพื่อ
ประโยชน์ในการบรรจุและแต่งตั้งเป็ นข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาและการกาหนดอัตรา
เงินเดือนหรื อค่าตอบแทนที่ควรได้รับ

53
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

มาตราที่ 21 ให้ มี อ.ก.ค.ศ. (จานวน 10 คน)


(ได้ ทคี าสั่ ง คสช. ที่ 10 / 2559 ยุบเลิก อ.ก.ค.ศ.)

**** มาตราที่ 23. อ.ก.ค.ศ. เขตพืน้ ที่ ถูกยุบ และยกเลิก โดยโอนอานาจหน้ าทีน่ ีใ้ ห้ กศจ.
มีอานาจหน้ าที่ ต่ อไปนี้

1) พิจารณากาหนดนโยบายการบริหารงานบุคคลสาหรับข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา
ในเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งการกาหนดจานวนและอัตราตาแหน่งและเกลี่ยอัตรากาลังให้สอดคล้องกับ
นโยบาย การบริ หารงานบุคคล ระเบียบ หลักเกณฑ์และวิธีการที่ก.ค.ศ. กาหนด
(2) พิจารณาให้ ความเห็นชอบการบรรจุและแต่ งตั้งข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาในเขต
พืน้ ทีก่ ารศึกษา
(3) ให้ ความเห็นชอบเกีย่ วกับการพิจารณาความดีความชอบของผู้บริ หารสถานศึกษา ผู้บริหาร
การศึกษาในหน่ วยงานการศึกษาในเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา และข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาในเขต
พืน้ ทีก่ ารศึกษา
(4) พิจารณาเกีย่ วกับเรื่ องการดาเนินการทางวินัย การออกจากราชการ การอุทธรณ์ และการร้ อง
ทุกข์ ตามที่กาหนดไว้ในพระราชบัญญัติน้ ี
(5) ส่ งเสริม สนับสนุนการพัฒนา การเสริมสร้ างขวัญกาลังใจ การปกป้องคุม้ ครองระบบคุณธรรม
การจัดสวัสดิการ และการยกย่องเชิดชูเกียรติขา้ ราชการครู และบุคลากรทางกาศึกษาในหน่วยงานการศึกษา
ของเขตพื้นที่การศึกษา
(6) กากับ ดูแล ติดตามและประเมินผลการบริ หารงานบุคคลของข้ าราชการครู และบุคลากรทางการ
ศึกษาในหน่ วยงานการศึกษาในเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
(7) จัดทาและพัฒนาฐานข้ อมูลข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาในหน่วยงานการศึกษาใน
เขตพื้นที่การศึกษา
(8) จัดทารายงานประจาปี ที่เกี่ยวกับการบริ หารงานบุคคลของข้าราชการครู และบุคลากรทางการ
ศึกษาในหน่วยงานการศึกษาเพื่อเสนอ ก.ค.ศ.
(9) พิจารณาให้ ความเห็นชอบเรื่ องการบริ หารงานบุคคลในเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาทีไ่ ม่อยูใ่ นอานาจและ
หน้าที่ของผูบ้ ริ หารของหน่วยงานการศึกษา
(10) ปฏิบัติหน้ าทีอ่ ื่นตามที่บญั ญัติไว้ในพระราชบัญญัติน้ ี กฎหมายอื่น หรื อตามที่ ก.ค.ศ.
มอบหมาย

54
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

มาตรา 24 ให้ ผู้อานวยการสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา เป็ นผู้บริ หารราชการในสานักงานเขต


พืน้ ทีก่ ารศึกษาและเป็ นผู้บังคับบัญชาของข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาในเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
และมีอานาจหน้ าที่ดงั ต่ อไปนี้
(1) รับผิดชอบในการปฏิบตั ิงานราชการที่เป็ นอานาจและหน้าที่ของ อ.ก.ค.ศ.เขตพื้นที่การศึกษา
และตามที่ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษามอบหมาย
(2) เสนอแนะการบรรจุและแต่ งตั้ง และการบริ หารงานบุคคลในเรื่ องอื่นที่อยูใ่ นอานาจและหน้าที่
ของ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นที่การศึกษา
(3) พิจาณาเสนอความดีความชอบของผู้บริ หารสถานศึกษา ผูบ้ ริ หารการศึกษาในหน่วยงาน
การศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา และข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
(4) จัดทาแผนและส่ งเสริ มการพัฒนาข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาในหน่วยงาน
การศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา
(5) จัดทาทะเบียนประวัติข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาในเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา (กคศ.16)
(6) จัดทามาตรฐานคุณภาพงาน กาหนดภาระงานขั้นต่า และเกณฑ์การประเมินผลงานสาหรับ
ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

มาตรา 26 ให้ คณะกรรมการสถานศึกษามีอานาจและหน้ าทีเ่ กีย่ วกับการบริ หารงานบุคคลสาหรับ


ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา ดังต่อไปนี้
**(1) กากับ ดูแลการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาให้ สอดคล้ องกับนโยบายกฎ ระเบียบ ข้ อบังคับ
หลักเกณฑ์ และวิธีการตามที่ ก.ค.ศ. และ กศจ. เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษากาหนด

**(2) เสนอความต้ องการจานวนและอัตราตาแหน่ งของข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาใน


สถานศึกษาเพื่อเสนอ กจศ. เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาพิจารณา

**(3) ให้ ข้อคิดเห็นเกีย่ วกับการบริหารงานบุคคลของข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาใน


สถานศึกษาต่ อผู้บริ หารสถานศึกษา

55
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

*** มาตรา 27 ให้ผ้ บู ริหารสถานศึกษาเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาของข้าราชการครู และบุคลากรทางการ


ศึกษาในสถานศึกษา และมีอานาจและหน้ าที่ ดังต่อไปนี้
(1) ควบคุม ดูแลให้ การบริ หารงานบุคคลในสถานศึกษาสอดคล้องกับนโยบายกฎระเบียบ ข้อบังคับ
หลักเกณฑ์และวิธีการตามที่ ก.ค.ศ. และ กศจ. เขตพื้นที่การศึกษากาหนด
(2) พิจารณาเสนอความดีความชอบของข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา
(3) ส่ งเสริม สนับสนุนข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษาให้ มีการพัฒนาอย่าง
ต่ อเนื่อง
(4) จัดทามาตรฐาน ภาระงานสาหรับข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา
(5) ประเมินผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานของข้ าราชการครู และบุคลากรทางกาศึกษาเพื่อเสนอ
กศจ. เขตพืน้ ที่การศึกษา

ข้ อคิดควรจา (เรื่ องทีค่ ุณครู สนใจ)


- ผอ.รร เสนอ ขั้นเงินเดือนให้ ครู + บุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียน
- ผอ.เขต เสนอ ขั้นเงินเดือนให้ ผู้บริ หาร + ศึกษานิเทศก์ และบุคลากรในสานักงานเขตพืน้ ที่
การศึกษา
>>>>>กศจ. เป็ นผู้พจิ ารณาให้ ความเห็นชอบ อนุมัติ เลื่อนขั้นเงินเดือน<<<<<

หมวด 2
บททัว่ ไป

มาตรา 30 ภายใต้บงั คับกฎหมายว่าด้วยสภาครู และบุคลากรทางการศึกษาสาหรับการเป็ นผูป้ ระกอบ


วิชาชีพครู และบุคลากรทางการศึกษา
+++ ผู้ซึ่งจะเข้ ารับราชการเป็ นข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาได้ ต้องมี
คุณสมบัติทวั่ ไป ดังต่ อไปนี้
(1) มีสัญชาติไทย *********
(2) มีอายุไม่ ต่ากว่า 18 ปี บริบูรณ์ *********
(3) เป็ นผู้เลื่อมใสในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุขตาม
รัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย
56
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

(4) ไม่ เป็ นผู้ดารงตาแหน่ งทางการเมือง สมาชิกสภาท้องถิ่น หรื อผูบ้ ริ หารท้องถิ่น


(5) ไม่ เป็ นคนไร้ ความสามารถ หรื อจิตฟั่นเฟื อนไม่ สมประกอบ หรื อเป็ นโรคตามทีก่ าหนดในกฎ
ก.ค.ศ.

กฎ ก.ค.ศ. ว่าด้ วยโรค พ.ศ. 2549

----------------------------------------------------

โรคตามมาตรา 30 (5) คือ


(1) โรคเรื้อนในระยะติดต่ อหรื อในระยะที่ปรากฏอาการเป็ นที่รังเกียจแก่สังคม
(2) วัณโรคในระยะติดต่ อ
(3) โรคเท้าช้ างในระยะทีป่ รากฏอาการเป็ นที่รังเกียจแก่ สังคม
(4) โรคติดยาเสพติดให้ โทษ
(5) โรคพิษสุ ราเรื้ อรัง ( วิธีการจา เรื้ อน วัณ ช้ าง ติด สุ รา )

(6) ไม่ เป็ นผู้อยู่ในระหว่ างถูกสั่ งพักราชการ ถูกสั่ งให้ ออกจากราชการไว้ก่อนตามพระราชบัญญัติน้ ี


หรื อตามกฎหมายอื่น หรื อถูกสั่งพัก หรื อเพิกถอนใบอนุ ญาตประกอบวิชาชีพตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดใน
กฎหมายองค์กรวิชาชีพนั้นๆ
(7) ไม่ เป็ นผู้บกพร่ องในศีลธรรมอันดีสาหรับการเป็ นผูป้ ระกอบวิชาชีพครู และบุคลากรทางการ
ศึกษา
(8) ไม่ เป็ นกรรมการบริหารพรรคเมืองหรื อเจ้ าหน้ าทีใ่ นพรรคการเมือง
(9) ไม่ เป็ นบุคคลล้ มละลาย
(10) ไม่ เป็ นผู้เคยต้ องโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงทีส่ ุ ดให้ จาคุก เว้นแต่เป็ นโทษสาหรับความผิดที่
ได้กระทาโดยประมาทหรื อความผิดลหุโทษ
(11) ไม่ เป็ นผู้เคยถูกลงโทษให้ ออก ปลดออก หรื อไล่ออกจากรัฐวิสาหกิจองค์การมหาชน หรื อ
หน่วยงานอื่นของรัฐ หรื อองค์การระหว่างประเทศ
(12) ไม่ เป็ นผู้เคยถูกลงโทษให้ ออก ปลดออก หรื อไล่ออกเพราะกระทาผิดวินยั ตามพระราชบัญญัติน้ ี
หรื อตามกฎหมายอื่น
(13) ไม่ เป็ นผู้เคยกระทาการทุจริตในการสอบเข้ ารับราชการหรื อเข้ าปฏิบัติงานในหน่ วยงานของ
รัฐ****

57
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

หมวด 3
การกาหนดตาแหน่ ง วิทยฐานะ และกาให้ ได้ รับเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจาตาแหน่ ง
มาตรา 38 ตาแหน่งข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษามี 3 ประเภท ดังนี้
ก. ตาแหน่ งซึ่งมีหน้ าทีเ่ ป็ นผู้สอนในหน่ วยงานการศึกษา ได้ แก่ ตาแหน่ งดังต่ อไปนี้
(1) ครู ผชู ้ ่วย >> ตาแหน่ งแรกเริ่มบรรจุ
(2) ครู มี 4 วิทยฐานะ
(3) อาจารย์
(4) ผูช้ ่วยศาสตราจารย์
(5) รองศาสตราจารย์
(6) ศาสตราจารย์
ตาแหน่งใน (1) และ (2) จะมีในหน่ วยงานการศึกษาใดก็ได้ ส่ วนตาแหน่งใน (3) ถึง (6) ให้มีใน
หน่วยงานการศึกษาที่สอนระดับปริ ญญา

ข.ตาแหน่ งผู้บริ หารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา ได้แก่ ตาแหน่งดังต่อไปนี้


(1) รองผูอ้ านวยการสถานศึกษา มี 3 วิทยฐานะ
(2) ผูอ้ านวยการสถานศึกษา มี 4 วิทยฐานะ
(3) รองผูอ้ านวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มี 2 วิทยฐานะ
(4) ผูอ้ านวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มี 2 วิทยฐานะ
(5) ตาแหน่งที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด

ค. ตาแหน่ งบุคลากรทางการศึกษาอื่น มีดังต่ อไปนี้


(1) ศึกษานิเทศก์ >>> มี 4 วิทยฐานะ
(2) ตาแหน่งที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด หรื อตาแหน่งของ
ข้าราชการที่ ก.ค.ศ. นามาใช้กาหนดให้เป็ นตาแหน่งข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาตาม
พระราชบัญญัติน้ ี

มาตรา 39 ให้ ตาแหน่ งข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาดังต่ อไปนี้ เป็ นตาแหน่ งทีม่ ีวทิ ยฐานะ ได้ แก่
ก. ตาแหน่ งครู มีวทิ ยฐานะ ดังต่ อไปนี้
(1) ครู ชานาญการ คศ.2 วิทยาฐานะ 3,500
(2) ครู ชานาญการพิเศษ คศ. 3 วิทยาฐานะ 5,600 + ค่ าตอบแทนวิทยาฐานะ 5,600

58
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

(3) ครู เชี่ยวชาญ คศ. 4 วิทยาฐานะ 9,900 + ค่ าตอบแทนวิทยาฐานะ 9,900


(4) ครู เชี่ยวชาญพิเศษ คศ. 5 วิทยาฐานะ13,000 + ค่ าตอบแทนวิทยาฐานะ 13,000
*** ตาแหน่ งครู (คศ.5) เงินเดือนเกินขั้น คศ. 4 *** เพิม่ เติม มติ ครม. 15,600 ***
*** วิทยฐานะแรกเริ่มต่าสุ ด คือ คศ.2 วิทยฐานะสู งสุ ด คือ คศ. 5 ***

ข. ตาแหน่ งผู้บริ หารสถานศึกษา มีวทิ ยฐานะ ดังต่ อไปนี้


(1) รองผู้อานวยการชานาญการ
(2) รองผู้อานวยการชานาญการพิเศษ
(3) รองผู้อานวยการเชี่ ยวชาญ
(4) ผูอ้ านวยการชานาญการ
(5) ผูอ้ านวยการชานาญการพิเศษ
(6) ผูอ้ านวยการเชี่ยวชาญ
(7) ผูอ้ านวยการเชี่ยวชาญพิเศษ

ค. ตาแหน่ งผู้บริหารการศึกษา มีวทิ ยฐานะ ดังต่ อไปนี้


(1) รองผูอ้ านวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาชานาญการพิเศษ
(2) รองผูอ้ านวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชี่ยวชาญ
(3) ผู้อานวยการสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาเชี่ ยวชาญ
(4) ผู้อานวยการสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาเชี่ ยวชาญพิเศษ

ง. ตาแหน่ งศึกษานิเทศก์ มีวทิ ยฐานะ ดังต่ อไปนี้


(1) ศึกษานิเทศก์ชานาญการ
(2) ศึกษานิเทศก์ชานาญการพิเศษ
(3) ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ
(4) ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญพิเศษ

จ. ตาแหน่งที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นตามที่ ก.ค.ศ. กาหนดให้มีวิทยฐานะ

59
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

มาตรา 40 ให้ ตาแหน่ งคณาจารย์ดังต่ อไปนี้ เป็ นตาแหน่ งทาง วิชาการ *******
(ก) อาจารย์
(ข) ผูช้ ่วยศาสตราจารย์
(ค) รองศาสตราจารย์
(ง) ศาสตราจารย์ ( ก-ง สอนในระดับปริ ญญา )

หมวด 4
การบรรจุและการแต่ งตั้ง

****** ผู้มีอานาจสั่ งบรรจุแต่ งตั้ง มาตรา 53 *****


การบรรจุและแต่งตั้งข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ผูม้ ีอานาจดังต่อไปนี้เป็ นผูม้ ีอานาจสั่ง
บรรจุและแต่งตั้ง

1.ผู้อานวยการสถานศึกษา โดยอนุมัติ จาก กศจ.


- ครู ผ้ ชู ่ วย -ครู
- บุคลากรในสถานศึกษา

2.ผู้อานวยการเขตพืน้ ที่การศึกษา โดยอนุมัติ จาก กศจ. เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา


- รองผูอ้ านวยการ -ผูอ้ านวยการ
- ศึกษานิเทศก์ - บุคลากรทางอื่นในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
*** ตาแหน่ งซางมีวิทยาฐานะ = ชานาญการ ชานาญการพิเศษ และเชี่ยวชาญ

3.เลขาธิ การคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยอนุมัติ ก.ค.ศ.


***ตาแหน่งมีวทิ ยฐานะ เชี่ ยวชาญพิเศษ (ครู + ผอ.รร + ผอ.เขต + ศึกษานิเทศก์) เมื่อได้รับการ
อนุมตั ิจาก ก.ค.ศ.

60
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

**เลขาธิ การคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็ นผูม้ ีอานาจสั่งบรรจุและให้ รมต.ศึกษาธิ การ


นาเสนอ นายกรัฐมนตรี เพื่อนากราบทูล เพื่อทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ แต่งตั้ง

มาตราที่ 56 ผู้ใดได้ รับการบรรจุและแต่ งตั้งให้ เข้ ารับราชการ เป็ นข้าราชการครู และบุคลากรทางการ


ศึกษาและแต่งตั้งให้ดารงตาแหน่งให้ทดลองปฏิบตั ิหน้าที่ราชการในตาแหน่งนั้นก่อนแต่ งตั้ง
ถ้าผูน้ ้ นั บรรจุให้แต่งตั้งตาแหน่ง ครู ผ้ ชู ่ วย
>>> และให้ ผ้ นู ้ ันเตรียมความพร้ อมและพัฒนาอย่ างเข้ ม เวลา 2 ปี
( ทุก 3 เดือนในระยะเวลา 1 ครั้ง เวลา 2 ปี ทั้งหมด รวม 8 ครั้ง)

หมวด 5
การเสริมสร้ างประสิ ทธิภาพในการปฏิบัติราชการ

มาตรา 72 ให้ผูบ้ งั คับ บัญชามี หน้าที่ ป ระเมิ นผลการปฏิ บ ัติง านของข้า ราชการครู และบุ ค ลากร
ทางการศึกษา โดยยึดหลักการปฏิบตั ิตนที่เหมาะสมกับการเป็ นข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาและ
ปฏิบตั ิราชการได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และเกิดประสิ ทธิ ผลมีผลงานเป็ นที่ประจักษ์ ถือว่าผูน้ ้ นั มีความชอบ
สมควรได้รับบาเหน็จความชอบ ซึ่ งอาจเป็ น บันทึกคาชมเชยรางวัล เครื่ องเชิ ดชู เกียรติ หรื อการเลื่อนขั้น
เงินเดือน
การเลื่ อ นขั้ นเงิ นเดื อ นของข้ า ราชการครู แ ละบุ ค ลากรทางการศึ ก ษา ให้ ผ้ ู บั งคั บ บั ญ ชาแต่ ง ตั้ ง
คณะกรรมการขึน้ พิจารณา โดยยึดหลักธรรม มีความเที่ยงธรรม เปิ ดเผย โปร่ งใสและพิจารณาจากผลการ
ปฏิบัติงานเป็ นหลัก ***และความปรพฤติในการรักษาวินัยคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชี พ

- ผู้อานวยการสถานศึกษษแต่ งตั้งกรรมการ ไม่ น้อยกว่ า 3 คนพิจารณาผลการปฏิบัติงาน


- มีการเลื่อนเงินเดือนปี ละ 2 ครั้ง

รอบครึ่งปี แรก 1 ต.ค. – 31 มี.ค. ให้ เลื่อนเงินเดือนวันที่ 1 เม.ย. ของปี ทีจ่ ะเลื่อน
รอบครึ่งปี หลัง 1 เม.ย. – 30 ก.ย. ให้ เลื่อนเงินเดือนวันที่ 1 ต.ค. ของปี ทีจ่ ะเลื่อน

การเลื่ อนขั้นเงินเดื อนให้ พิจารณาผลการปฏิบัติงานที่เป็ นประโยชน์ ต่อผู้เรี ยนเป็ นหลักตามแนว


ทางการจัดการศึกษาทีก่ าหนดไว้ในกฎหมายว่าด้ วยการศึกษาแห่ งชาติ
**** . ในกรณีผ้ บู ังคับบัญชาไม่ สั่งเลื่อนเงินเดือน

61
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ให้ แก่ ข้ าราชการและบุคลากรทางการศึกษา ผูใ้ ดให้ผบู ้ งั คับบัญชาแจ้งให้น้ นั ทราบพร้อมเหตุผลที่


ไม่ เลื่ อนขั้นเงิ น เดื อน >>> การเลื่ อนขั้น เงิ นเดื อ นของข้า ราชการครู และบุ คลากรทางการศึ ก ษาเมื่ อ ได้
ดาเนินการตามหลักเกณฑ์และวิธีการแล้ว ให้ ผ้ มู ีอานาจมาตรา 53 เป็ น ผู้สั่งเลื่อนขั้นเงินเดือน

การเลื่อนขั้นเงินเดือนข้ าราชการครู ให้ ผู้บังคับบัญชา แต่ งตั้งกรรมการขึน้ มา


พิจารณา ไม่ น้อยกว่า 3 คน พิจารณาเสนอ กศจ. ให้ เห็นชอบ อนุมัติ

กฎ ก.ค.ศ.
ว่ าด้ วยการเลื่อนขั้นเงินเดือนของข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2550

ข้อที่ 1“ปี ” หมายความว่า ปี งบประมาณ


“ครึ่งปี แรก” หมายความว่า ระยะเวลาตั้งแต่ วนั ที่ 1 ตุลาคม ถึงวันที่ 31 มีนาคม
“ครึ่งปี หลัง” หมายความว่า ระยะเวลาตั้งแต่ วนั ที่ 1 เมษายน ถึงวันที่ 30 กันยายน
“ครึ่ งปี ที่แล้วมา” หมายความว่า ระยะเวลาครึ่ งปี แรกหรื อครึ่ งปี หลัง ที่ผา่ นมา แล้วแต่กรณี
“หัวหน้าส่ วนราชการ” หมายความว่า ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เลขาธิการ อธิ บดีหรื อตาแหน่ง
ที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่า

“ผู้บังคับบัญชา” หมายความว่า หัวหน้าส่ วนราชการ ผูอ้ านวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา


ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา หรื อผูบ้ ริ หารหน่วยงานการศึกษาที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นตามที่ ก.ค.ศ. กาหนด

“คณะกรรมการ” หมายความว่า คณะกรรมการที่ผบู ้ งั คับบัญชาแต่งตั้งขึ้นเพื่อพิจารณาผลการ


ปฏิบตั ิงานและความประพฤติในการรักษาวินยั คุณธรรม จริ ยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ

ข้ อ 2 การเลื่อนขั้นเงินเดือนของข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้ ผ้ บู ังคับบัญชา


แต่ งตั้งคณะกรรมการไม่ น้อยกว่า 3 คน ขึ้นพิจารณาและเสนอความเห็นเพื่อประกอบการพิจารณาของผูม้ ี
อานาจสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือน โดยความเห็นชอบของ กศจ. เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา

ข้ อ 3 การพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือนของข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาให้ พจิ ารณา

62
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ผลการปฏิบัติงานทีเ่ ป็ นประโยชน์ ต่อผู้เรี ยนเป็ นหลัก

ข้ อ 4 การเลื่อนขั้นเงินเดือนของข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้ เลื่อนปี ละ


สองครั้ง ดังต่ อไปนี้

(1) ครั้งทีห่ นึ่งครึ่งปี แรก เลื่อนวันที่ 1 เมษายนของปี ทีไ่ ด้ เลื่อน


(2) ครั้งทีส่ องครึ่งปี หลัง เลื่อนวันที่ 1 ตุลาคมของปี ถัดไป

ข้ อ 5 การเลื่อนขั้นเงินเดือนของข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ให้ เลื่อนได้ ไม่ เกิน


ขั้นสู งของอันดับเงินเดือนทีไ่ ด้ รับแต่ งตั้ง

ข้อ 6 ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาซึ่งจะได้รับการพิจารณาเลื่อนขั้นเงินเดือน


ครึ่งขั้น ในแต่ ละครั้งต้ องอยู่ในหลักเกณฑ์ ดังต่ อไปนี้
(1) ในครึ่ งปี ที่แล้วมามีผลการปฏิบตั ิงาน ความประพฤติในการรักษาวินยั คุณธรรม จริ ยธรรม
และจรรยาบรรณวิชาชีพ ซึ่งคณะกรรมการได้พิจารณาประเมินตามข้อ 3 แล้วเห็นว่าอยูใ่ นเกณฑ์ที่สมควรจะ
ได้เลื่อนขั้นเงินเดือนครึ่ งขั้น
(2) ในครึ่ งปี ที่แล้วมาจนถึงวันออกคาสั่งเลื่อนขั้นเงินเดือนต้อง ไม่ ถูกสั่ งลงโทษทางวินัยที่หนักกว่ า
โทษภาคทัณฑ์ หรื อไม่ ถูกศาลพิพากษาในคดีอาญาให้ ลงโทษในความผิดทีเ่ กี่ยวกับการปฏิบัติหน้ าที่ราชการ
หรื อความผิดทีท่ าให้ เสื่ อมเสี ยเกียรติศักดิ์ต่อตาแหน่ งหน้ าทีร่ าชการของตน ซึ่ งมิใช่ความผิดที่ได้กระทาโดย

63
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ประมาทหรื อความผิดลหุ โทษในกรณี ที่ขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาผูใ้ ดอยูใ่ นหลักเกณฑ์ที่


สมควรได้เลื่อนขั้นเงินเดือน แต่ได้ถูกงดเลื่อนขั้นเงินเดือนเพราะถูกสั่งลงโทษทางวินยั หรื อถูกศาลพิพากษา
ในคดีอาญาให้ลงโทษในกรณี น้ นั มาแล้ว ให้ผบู ้ งั คับบัญชาเลื่อนขั้นเงินเดือนประจาครึ่ งปี ต่อไปให้ผนู ้ ้ นั
ตั้งแต่วนั ที่ 1 เมษายน หรื อวันที่ 1 ตุลาคมของครั้งที่จะได้เลื่อนเป็ นต้นไป
(3) ในครึ่งปี ที่แล้วมาต้องไม่ ถูกสั่ งพักราชการเกินกว่ าสองเดือน
(4) ในครึ่งปี ที่แล้วมาต้องไม่ขาดราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร
(5) ในครึ่งปี ที่แล้วมาได้รับการบรรจุเข้ารับราชการมาแล้วเป็ น เวลาไม่ น้อยกว่า 4 เดือน
(6) ในครึ่งปี ที่แล้วมาถ้าเป็ นผูไ้ ด้รับอนุญาตให้ไปศึกษาในประเทศ หรื อไปศึกษา ฝึ กอบรมหรื อดู
งาน ณ ต่างประเทศ ตามระเบียบว่าด้วยการให้ขา้ ราชการไปศึกษา ฝึ กอบรม และดูงาน ณ ต่างประเทศ ต้อง
ได้ปฏิบตั ิหน้าที่ราชการในครึ่ งปี ที่แล้วมาเป็ นเวลาไม่นอ้ ยกว่าสี่ เดือน
(7) ในครึ่งปี ที่แล้วมาต้องไม่ลาหรื อมาทางานสายเกินจานวนครั้งที่หวั หน้าส่ วนราชการกาหนด

(8) ในครึ่งปี ที่แล้วมาต้ องมีเวลาปฏิบัติราชการ 6 เดือน โดยมีวนั ลาไม่ เกิน 23 วัน


แต่ ไม่ รวมถึงวันลา ดังต่ อไปนี้ ***

(ก) ลาอุปสมบทหรื อลาไปประกอบพิธีฮัจญ์ ณ เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดีอาระเบีย


เฉพาะวันลาที่มีสิทธิ ได้รับเงินเดือนระหว่างลาตามกฎหมายว่าด้วยการกาหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการจ่ายเงิน
บางประเภทตามงบประมาณรายจ่าย ในส่ วนที่เกี่ยวกับการจ่ายเงินเดือน
(ข) ลาคลอดบุตรไม่ เกิน 90 วัน
(ค) ลาป่ วยซึ่งจาเป็ นต้ องรักษาตัวเป็ นเวลานานไม่ ว่าคราวเดียวหรื อหลายคราว รวมกันไม่ เกิน 60 วันทาการ
(ง) ลาป่ วยเพราะประสบอันตรายในขณะปฏิบัติราชการตามหน้ าที่หรื อในขณะเดินทาง
ไปหรื อกลับจากการปฏิบตั ิราชการตามหน้าที่
(จ) ลาพักผ่อน
(ฉ) ลาเข้ ารับการตรวจเลือกหรื อเข้ ารับการเตรียมพล_
(ช) ลาไปปฏิบัติงานในองค์ การระหว่างประเทศ
การนับจานวนวันลาไม่เกิน 23 วันสาหรับวันลากิจส่ วนตัวและวันลาป่ วยที่ไม่ใช่วนั ลาป่ วยตาม (๘)
(ง) ให้นบั เฉพาะวันทาการ

สรุ ปใจความสาคัญ
++ เลื่อนปี ละ 2 ครั้ง
++ ในครึ่ งปี ไม่ถูกสั่งพักราชการเกิน 2 เดือน

64
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

++ บรรจุรับราชการแล้วไม่นอ้ ยกว่า 4 เดือน (ผ่อน 3 เดือน 15 วัน)


++ ในครึ่ งปี ไม่เคยถูกลงโทษหนักกว่า ภาคทัณฑ์ (แต่ หากถูกลงโทษภาคทัณฑ์ ได้ เลื่อนขั้น
เงินเดือน)
++ ในครึ่งปี มีวันลากิจ ลาป่ าวย ไม่ เกิน 23 วัน แต่ไม่รวมถึง ลาบวช ไปประกอบพิธีฮจั , ลา
คลอดบุตร ลาพักผ่อน
++ ปี งบประมาณ เลื่อนขั้นเงินเดือน 2 ครั้งเท่านั้น

หลักเกณฑ์ และวิธีการให้ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษามีวทิ ยฐานะ

1.คุณสมบัติของผู้ขอมีวิทยฐานะครู ชานาญการ (คศ.2) >>กรณีปกติดารงตาแหน่ งครู มาแล้ ว


>> นับถึงวันทีย่ ื่นขอ
ปริ ญญาตรี ไม่นอ้ ยกว่า 6 ปี
ปริ ญญาโทไม่นอ้ ยกว่า 4 ปี
ปริ ญญาเอกไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี
>>> ถ้ านับเริ่มตาแหน่ งครู ผ้ ชู ่ วย ต้ องบวก 2 ปี เพราะครู ผ้ ชู ่ วยไม่ ใช่ ตาแหน่ งครู เช่ น ป.ตรี ไม่ น้อยกว่ า
6 ปี + ครู ผ้ ชู ่ วย 2 ปี = 8 ปี เป็ นต้ น
>> กรณีชานแดนภาคใต้
ปริญญาตรีไม่ น้อยกว่า 3 ปี ( + ครู ผ้ ชู ่ วย 2 ปี = 5 ปี )
ปริญญาโทไม่ น้อยกว่ า 2 ปี ( + ครู ผ้ ชู ่ วย 2 ปี = 4 ปี )
ปริญญาเอกไม่ น้อยกว่า 1 ปี ( + ครู ผ้ ชู ่ วย 2 ปี = 3 ปี )

- ทั้งนี้ วุฒิดงั กล่าวเป็ นวุฒิที่ ก.ค.ศ. รับรอง


- เป็ นวุฒินสาขาวิชาเดียวกับวุฒิระดับปริ ญญาตรี และปริ ญญาโทที่สาเร็ จการศึกษาแล้ว
2.ครู ชานาญการพิเศษ (คศ.3 )
>> ดารงตาแหน่ง “ครู ชานาญการ” มาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 1 ปี
>> นับถึงวันที่ยนื่ ขอ , ต้องผ่านเกณฑ์การตัดสิ นเฉลี่ย 70%

3.ครู เชี่ยวชาญ (คศ.4 )


>> ดารงตาแหน่ง “ครู ชานาญการพิเศษ” มาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 3 ปี
>> นับถึงวันที่ยนื่ ขอ , ต้องผ่านเกณฑ์การตัดสิ นเฉลี่ย 75%

65
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

4.ครู เชี่ยวชาญพิเศษ (คศ.5 )


>> ดารงตาแหน่ง “ครู เชี่ยวชาญ” มาแล้วไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี
>> นับถึงวันที่ยนื่ ขอ , ต้องผ่านเกณฑ์การตัดสิ นเฉลี่ย 80%

จาก 1-4 มีผลงานที่เกิดจากการปฏิบตั ิหน้าที่ยอ้ นหลัง 2 ปี >> นับถึงวันที่ยนื่ ขอ


*** การขอข้ามวิทยฐานะจาก ชานาญการ ไป เชี่ยญชาญ ( Fast Track) และต้อง เป็ นชานาญการมาแล้วไม่
น้อยกว่า 5 ปี
หมวด 6
วินัยและการรักษาวินัย
มาตรา 82 ข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาต้ องรั กษาวินัยที่บญั ญัติเป็ นข้ อห้ ามและข้ อ
ปฏิบัติไว้ในหมวดนี้ โดยเคร่ งครัดอยูเ่ สมอ

มาตรา 83 ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาต้องสนับสนุนการปกครองในระบอบประชาธิป


ไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุขตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยด้วยความบริ สุทธิ์ ใจและมี
หน้าที่วางรากฐานให้เกิดระบอบการปกครองเช่นว่านั้น

มาตรา 84 ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาต้องปฏิบตั ิหน้าที่ราชการด้วยความซื่อสัตย์สุจริ ต


เสมอภาคและเที่ยงธรรม มีความวิริยะ อุตสาหะ ขยันหมัน่ เพียร ดูแลเอาใจใส่ รักษาประโยชน์ของทาง
ราชการ และต้องปฏิบตั ิตนตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพอย่างเคร่ งครัดห้ามมิให้อาศัยหรื อยอมให้
ผูอ้ ื่นอาศัยอานาจและหน้าที่ราชการของตน ไม่วา่ จะโดยทางตรงหรื อทางอ้อม หาประโยชน์ให้แก่ตนเอง
หรื อผูอ้ ื่นการปฏิบตั ิหรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่ราชการโดยมิชอบ เพื่อให้ตนเองหรื อผูอ้ ื่นได้รับประโยชน์ที่
มิควรได้ เป็ นการทุจริ ตต่อหน้าที่ราชการ เป็ นความผิดวินยั อย่างร้างแรง

มาตรา 85 ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาต้องปฏิบตั ิหน้าที่ราชการให้เป็ นไปตามกฎหมาย


ระเบียบแบบแผนของทางราชการและหน่วยงานการศึกษา มติคณะรัฐมนตรี หรื อนโยบายของรัฐบาลโดยถือ
ประโยชน์สูงสุ ดของผูเ้ รี ยน และไม่ให้เกิดความเสี ยหายแก่ทางราชการการปฏิบตั ิหน้าที่ราชการโดยจงใจไม่
ปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการและหน่วยงานการศึกษา มติคณะรัฐมนตรี หรื อ
นโยบายของรัฐบาล ประมาทเลินเล่อหรื อขาดการเอาใจใส่ ระมัดระวังรักษาประโยชน์ของทางราชการ อัน
เป็ นเหตุให้เกิดความเสี ยหายแก่ราชการอย่างร้ายแรงเป็ นความผิดวินยั อย่างร้ายแรง

66
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

มาตรา 86 ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาต้องปฏิบตั ิตามคาสั่งของผูบ้ งั คับบัญชาซึ่ งสั่งใน


หน้าที่ราชการโดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบของทางราชการ โดยไม่ขดั ขืนหรื อหลีกเลี่ยงแต่ถา้ เห็นว่า
การปฏิบตั ิตามคาสั่งนั้นจะทาให้เสี ยหายแก่ราชการ หรื อจะเป็ นการไม่รักษาประโยชน์ของทางราชการจะ
เสนอความเห็นเป็ นหนังสื อภายในเจ็ดวัน เพื่อให้ผบู ้ งั คับบัญชาทบทวนคาสัง่ นั้นก็ได้และเมื่อเสนอความเห็น
แล้ว ถ้าผูบ้ งั คับบัญชายืนยันเป็ นหนังสื อให้ปฏิบตั ิตามคาสั่งเดิม ผูอ้ ยูใ่ ต้บงั คับบัญชาจะต้องปฏิบตั ิตามการขัด
คาสั่งหรื อหลีกเลี่ยงไม่ปฏิบตั ิตามคาสั่งของผูบ้ งั คับบัญชา ซึ่ งสั่งในหน้าที่ราชการโดยชอบด้วยกฎหมายและ
ระเบียบของทางราชการ อันเป็ นเหตุให้เสี ยหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง เป็ นความผิดวินยั อย่างร้ายแรง

มาตรา 87 ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาต้องตรงต่อเวลา อุทิศเวลาของตนให้แก่ทาง


ราชการและผูเ้ รี ยน จะละทิ้งหรื อทอดทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควรมิได้การละทิ้งหน้าที่หรื อ
ทอดทิง้ หน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร เป็ นเหตุให้เสี ยหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง หรื อการละทิง้
หน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกันเป็ นเวลาเกินกว่าสิ บห้าวัน โดยไม่มีเหตุผลอันสมควรหรื อโดยมี
พฤติการณ์อนั แสดงถึงความจงใจไม่ปฏิบตั ิตามระเบียบของทางราชการเป็ นความผิดวินยั อย่างร้ายแรง

มาตรา 88 ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาต้องประพฤติเป็ นแบบอย่างที่ดีแก่ผเู ้ รี ยน ชุมชน


สังคม มีความสุ ภาพเรี ยบร้อย รักษาความสามัคคี ช่วยเหลือเกื้อกูลต่อผูเ้ รี ยนและระหว่างข้าราชการด้วยกัน
หรื อผูร้ ่ วมปฏิบตั ิราชการ ต้อนรับ ให้ความสะดวก ให้ความเป็ นธรรมแก่ผเู ้ รี ยนและประชาชนผูม้ าติดต่อ
ราชการการกลัน่ แกล้ง ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ หรื อข่มเหงผูเ้ รี ยน หรื อประชาชนผูม้ าติดต่อราชการอย่าง
ร้ายแรง เป็ นความผิดวินยั อย่างร้ายแรง

มาตรา 89 ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่กลัน่ แกล้ง กล่าวหาหรื อร้องเรี ยนผูอ้ ื่น


โดยปราศจากความเป็ นจริ งการกระทาตามวรคหนึ่ง ถ้าเป็ นเหตุให้ผอู ้ ื่ได้รับความเสี ยหายอย่างร้ายแรง
เป็ นความผิดวินยั อย่างร้ายแรง

มาตรา 90 ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่กระทาการหรื อยอมให้ผอู ้ ื่นกระทาการหา


ประโยชน์อนั อาจทาให้เสื่ อมเสี ยความเที่ยงธรรมหรื อเสื่ อมเสี ยเกียรติศกั ดิ์ในตาแหน่งหน้าที่ราชการของตน
การกระทาตามวรรคหนึ่ง ถ้าเป็ นการกระทาโดยมีความมุ่งหมายจะให้เป็ นการซื้ อขาย หรื อให้ได้รับแต่งตั้ง
ให้ดารงตาแหน่งหรื อวิทยฐานะใดโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรื อเป็ นการกระทาอันมีลกั ษณะเป็ นการให้
หรื อได้มาซึ่งทรัพย์สินหรื อสิ ทธิประโยชน์อื่น เพื่อให้ตนเองหรื อผูอ้ ื่นได้รับการบรรจุและแต่งตั้งโดยมิชอบ
หรื อเสื่ อมเสี ยความเที่ยงธรรม เป็ นความผิดวินยั อย่างร้ายแรง

67
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

มาตรา 91 ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่คดั ลอกหรื อลอกเลียนผลงานทางวิชาการ


ของผูอ้ ื่นโดยมิชอบ หรื อนาเอาผลงานทางวิชาการของผูอ้ ื่น หรื อจ้าง วานใช้ผอู ้ ื่นทาผลงานทางวิชาการเพื่อ
ไปใช้ในการเสนอขอปรับปรุ งการกาหนดตาแหน่ง การเลื่อนตาแหน่ง การเลื่อนวิทยฐานะหรื อการให้ได้รับ
เงินเดือนในระดับที่สูงขึ้น การฝ่ าฝื นหลักการดังกล่าวนี้ เป็ นความผิดวินยั อย่างร้ายแรงข้าราชการครู และ
บุคลากรทางการศึกษาที่ร่วมดาเนินการคัดลอกหรื อลอกเลียนผลงานของผูอ้ ื่นโดยมิชอบ หรื อรับจัดทา
ผลงานทางวิชาการไม่วา่ จะมีค่าตอบแทนหรื อไม่ เพื่อให้ผอู ้ ื่นนาผลงานนั้นไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินการ
ตามวรรคหนึ่ง เป็ นความผิดวินยั อย่างร้ายแรง

มาตรา 92 ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่เป็ นกรรมการผูจ้ ดั การ หรื อผูจ้ ดั การ หรื อ


ดารงตาแหน่งอื่นใดที่มีลกั ษณะงานคล้ายคลึงกันนั้นในห้างหุ น้ ส่ วนหรื อบริ ษทั

มาตรา 93 ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาต้องวางตนเป็ นกลางทางการเมืองในการปฏิบตั ิ


หน้าที่ และในการปฏิบตั ิการอื่นที่เกี่ยวข้องกับประชาชน โดยต้องไม่อาศัยอานาจและหน้าที่ราชการของตน
แสดงการฝักใฝ่ ส่ งเสริ ม เกื้อกูล สนับสนุนบุคคล กลุ่มบุคคล หรื อพรรคการเมืองใดข้าราชการครู และ
บุคลากรทางการศึกษาต้องไม่เข้าไปเกี่ยวข้องกับการดาเนิ นการใดๆ อันมีลกั ษณะเป็ นการทุจริ ตโดยการซื้ อ
สิ ทธิ หรื อขายเสี ยงในการเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภาสมาชิกสภาท้องถิ่นผูบ้ ริ หารท้องถิ่น หรื อการเลือกตั้งอื่นที่มี
ลักษณะเป็ นการส่ งเสริ มการปกครองในระบอบประชาธิ ปไตยรวมทั้งจะต้องไม่ให้การส่ งเสริ ม สนับสนุน
หรื อชักจูงให้ผอู ้ ื่นกระทาการในลักษณะเดียวกัน การดาเนิ นการที่ฝ่าฝื นหลักการดังกล่าวนี้ เป็ นความผิดวินยั
อย่างร้ายแรง

**** มาตรา 94 ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาต้องรักษาชื่อเสี ยงของตนและรักษาเกียรติศกั ดิ์ของ


ตาแหน่งหน้าที่ราชการของตนมิให้เสื่ อมเสี ย โดยไม่กระทาการใดๆ อันได้ ชื่อว่ าเป็ นผู้ประพฤติชั่ว
การกระทาความผิดอาญาจนได้รับโทษจาคุก หรื อโทษที่หนักกว่าจาคุก โดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้
จาคุกหรื อให้รับโทษที่หนักกว่าจาคุก เว้นแต่เป็ นโทษสาหรับความผิดที่ได้กระทาโดยประมาท หรื อความผิด
ลหุโทษ หรื อกระทาการอื่นใดอันใดชื่ อว่าเป็ นผูป้ ระพฤติชวั่ อย่างร้ายแรง เป็ นความผิดวินยั อย่างร้ายแรง
ข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาที่
- เสพยาเสพติดหรื อสนับสนุน
- ให้ ผ้ อู ื่นเสพยาเสพติด
- เล่นการพนันเป็ นอาจิณ
- หรื อกระทาการล่ วงละเมิดทางเพศต่ อผู้เรียนหรื อนักศึกษาไม่ ว่าจะอยู่ในความดูแลรับผิดชอบ
ของตนหรื อไม่ เป็ นความผิดวินัยอย่างร้ ายแรง

68
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

มาตรา 95 ให้ผบู ้ งั คับบัญชามีหน้าที่เสริ มสร้างและพัฒนาให้ผอู ้ ยูใ่ ต้บงั คับบัญชามีวนิ ยั ป้ องกันมิให้


ผูอ้ ยูใ่ ต้บงั คับบัญชากระทาผิดวินยั และดาเนินการทางวินยั แก่ผอู ้ ยูใ่ ต้บงั คับบัญชาซึ่ งมีกรณี อนั มีมูลที่ควร
กล่าวหาว่ากระทาผิดวินยั

มาตรา 96 ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาผูใ้ ดฝ่ าฝื นข้อห้ามหรื อไม่ปฏิบตั ิตามข้อปฏิบตั ิ


ทางวินยั ตามที่บญั ญัติไว้ในหมวดนี้ ผูน้ ้ นั เป็ นผูก้ ระทาผิดวินยั จักต้องได้รับ โทษทางวินยั เว้นแต่มีเหตุอนั
ควรงดโทษตามที่บญั ญัติไว้ในหมวด 7

โทษทางวินัยมี 2 โทษ 5 สถาน คือ


วินัยไม่ ร้ายแรง
(1) ภาคทัณฑ์
(2) ตัดเงินเดือน
(3) ลดขั้นเงินเดือน
วินัยร้ ายแรง
(4) ปลดออก
(5) ไล่ออก
วิธีจา ภาค + ตัด + ลด + ปลด + ไล่

***ผูใ้ ดถูกลงโทษปลดออก ให้ผนู ้ ้ นั มีสิทธิ ได้รับบาเหน็จบานาญเสมือนว่าเป็ นผูล้ าออกจากราชการ

มาตรา 97 การลงโทษข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาให้ทาเป็ นคาสัง่

69
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

หมวด 7
การดาเนินการทางวินัย
มาตรา 98 การดาเนินการทางวินัยแก่ ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา ซึ่งมีกรณี อนั มีมูลที่
ควรกล่าวหาว่ากระทาผิดวินยั ให้ผ้ บู ังคับบัญชาตามมาตราที่ 53 แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนเพื่อ
ดาเนินการสอบสวนให้ได้ความจริ งและความยุติธรรมโดยมิชักช้ า

>> กรณีข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา กระทาความผิดวินัยผู้สั่งแต่ งตั้งกรรมการ


สอบสวนความผิด ดังนี้
>> ผิดวินยั ไม่ร้ายแรง >> ผูบ้ งั คับบัญชา
>> ผิดวินยั ร้ายแรง >> ผูม้ ีอานาจตามาตราที่ 53 (บรรจุแต่งตั้ง)

*** กรณีข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา กระทาความผิดวินัย / ผู้สั่งแต่ งตั้ง


กรรมการ
ครู ผ้ ชู ่ วย + ครู คศ. 1 ผิดวินัยไม่ ร้ายแรง >> ผอ.สถานศึกษา
ครู ผ้ ชู ่ วย + ครู คศ. 1 ผิดวินัยร้ ายแรง >> ผอ.สถานศึกษา

ครู คศ.2 คศ.3 คศ.4 คศ.5 ผิดวินัยไม่ ร้ายแรง >> ผอ.สถานศึกษา


ครู คศ.2 คศ.3 คศ.4 ผิดวินัยร้ ายแรง >> ผอ.สานักงาน.เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา
ครู คศ. 5 ผิดวินัยร้ ายแรง >>> เลขาฯ กพฐ.

>> ข้าราชการครู ฯ ในสถานศึกษาทุกคนกระทา ผิดวินัยไม่ ร้ายแรง >> ผู้แต่ งตั้งกรรมการ สอบสวน >>คือ
ผูบ้ งั คับบัญชา ในทีน่ ี้ คือ ผอ.สถานศึกษา

มาตรา 99 เมื่อได้ ดาเนินการสอบสวนผู้ถูกกล่ าวหา แล้ ว ถ้ าฟังได้ ว่าผู้ถูกกล่ าวหามิได้ กระทาผิดวินัย


ให้ สั่งยุติเรื่ อง
มาตรา 100 ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาผูใ้ ด กระทาผิดวินัยไม่ ร้ายแรง
ให้ผบู ้ งั คับบัญชาสั่งลงโทษ ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดขั้นเงินเดือน ตามควรแก่กรณี ให้เหมาะสมกับ
ความผิด
****ถ้ามีเหตุอนั ควรลดหย่อน (ได้รับโทษแต่เบาลง) จะนามาประกอบการพิจารณาลดโทษก็ได้ แต่
สาหรับการลงโทษภาคทัณฑ์ ให้ ใช้ เฉพาะกรณีกระทาผิดวินัยเล็กน้ อย หรื อมีเหตุอนั ควรลดหย่อนซึ่ งยังไม่
ถึงกับจะต้องถูกลงโทษตัดเงินเดือน

70
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ในกรณีกระทาผิดวินัยเล็กน้ อยและมีเหตุอันควรงดโทษ (จะงดโทษ)


++++ให้ ทาทัณฑ์ บนเป็ นหนังสื อหรื อว่ากล่าวตักเตือนก็ได้

กฎ ก.ค.ศ.
ว่าด้ วยอานาจการลงโทษภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน หรื อลดขั้นเงินเดือน

ข้ อ ๑ ผู้อานวยการสถานศึกษา หรื อตาแหน่งที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่า ซึ่งเป็ น


ผูบ้ งั คับบัญชาของข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาผู้กระทาผิดวินัยไม่ ร้ายแรง มีอานาจสั่ งลงโทษ
ภาคทัณฑ์ หรื อตัดเงินเดือนครั้งหนึ่งไม่ เกิน ๕ % ของอัตราเงินเดือนและเป็ นเวลาไม่ เกินหนึ่งเดือน
ข้ อ ๒ ผู้อานวยการสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา หรื อตาแหน่งที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะ
เทียบเท่า ซึ่งเป็ นผูบ้ งั คับบัญชาของข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาผู้กระทาผิดวินัยไม่ ร้ายแรง
มีอานาจสั่ งลงโทษภาคทัณฑ์ หรื อตัดเงินเดือนครั้งหนึ่งไม่ เกิน ๕ % ของอัตราเงินเดือนและเป็ นเวลา
ไม่ เกิน 2 เดือน หรื อลดขั้นเงินเดือนครั้งหนึ่งไม่ เกิน 1 ขั้น
ข้ อ ๓ นายกรัฐมนตรีในฐานะหัวหน้ ารัฐบาล รัฐมนตรีเจ้ าสั งกัด ปลัดกระทรวง เลขาธิการ
อธิบดีหรื อตาแหน่งที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่า หรื ออธิ การบดีหรื อตาแหน่งที่เรี ยกชื่ออย่างอื่นที่มี
ฐานะเทียบเท่า ซึ่งเป็ นผู้บังคับบัญชาของข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาผู้กระทาผิดวินัยไม่ ร้ายแรง
มีอานาจสั่ งลงโทษภาคทัณฑ์ หรื อตัดเงินเดือนครั้งหนึ่งไม่ เกิน ๕ % ของอัตราเงินเดือนและเป็ นเวลาไม่ เกิน
3 เดือน หรื อลดขั้นเงินเดือนครั้งหนึ่งไม่ เกิน 1 ขั้น

ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดขั้นเงินเดือน


ผู้อานวยการ ไม่ เกิน 5 % ไม่ เกิน 1
สถานศึกษา เดือน
ผู้อานวยการเขตพืน้ ที่ ไม่ เกิน 5 % ไม่ เกิน 2 ไม่ เกิน 1 ขั้น
การศึกษา เดือน
นายกรัฐมนตรี / ไม่ เกิน 5 % ไม่ เกิน 3 ไม่ เกิน 1 ขั้น
รัฐมนตรี / เลขา กพฐ เดือน

71
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

กฎ ก.ค.ศ.
ว่าด้ วยกรณีความผิดที่ปรากฏชัดแจ้ ง
พ.ศ. ๒๕๔๙
1.ความผิดชัดแจ้ งกรณีไม่ ร้ายแรง มี 2 กรณี (ไม่ ต้องตั้งกรรมการสอบสวนก็ได้ )
- ศาลพิพากษาถึงที่สุดกระทาผิด ยกเว้นความผิดโดยลหุโทษ
- การกระทาผิดวินยั ไม่ร้ายแรง แล้วทาหนังสื อสารภาพต่อผูบ้ งั คับบัญชา
2.ความผิดทีป่ รากฏชัดแจ้ งที่ร้ายแรง (ไม่ ต้องตั้งกรรมสอบสวนก็ได้ )
- กระทาความผิดอาญาจนได้ รับโทษจาคุกหรื อโทษทีห่ นักกว่ าจาคุก โดยคาพิพากษาถึง
ทีส่ ุ ดให้ จาคุกหรื อให้ ลงโทษทีห่ นักกว่ าจาคุก เว้นแต่เป็ นโทษสาหรับความผิดที่ได้กระทาโดยประมาท
หรื อความผิดลหุโทษ
- ละทิง้ หน้ าที่ราชการติดต่ อในคราวเดียวกันเป็ นเวลาเกิน 15 วัน และผูบ้ งั คับบัญชาได้ดาเนิ นการ
สื บสวนแล้วเห็นว่าไม่มีเหตุผลอันสมควรหรื อมีพฤติการณ์อนั แสดงถึงความจงใจไม่ปฏิบตั ิตามระเบียบของ
ทางราชการ
- กระทาผิดวินัยอย่ างร้ ายแรงและได้ รับสารภาพเป็ นหนั งสื อต่ อผู้บังคับบัญชา หรื อให้ถอ้ ยคารับ
สารภาพต่อผูม้ ีหน้าที่สืบสวนหรื อคณะกรรมการสอบสวน ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครู และ
บุคลากรทางการศึกษา และได้มีการบันทึกถ้อยคารับสารภาพเป็ นหนังสื อ

เทคนิคการจา = พิพากษา + สารภาพ + จาคุก + ละทิง้

หมวด ๘
การออกจากราชการ
มาตรา ๑๐๗ ข้ าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาออกจากราชการเมื่อ
(๑) ตาย
(๒) พ้นจากราชการตามกฎหมายว่าด้วยบาเหน็จบานาญข้าราชการ
(๓) ลาออกจากราชการและได้รับอนุญาตให้ลาออก
(๔) ถูกสั่ งให้ ออกตามมาตรา ๔๙ (ขาดคุณสมบัติ)
(๕) ถูกสั่ งลงโทษปลดออกหรื อไล่ ออก

72
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

(๖) ถู กเพิกถอนใบอนุ ญาตประกอบวิช าชี พ เว้ นแต่ ได้ รับ แต่ งตั้ งให้ ด ารงต าแหน่ งอื่ นที่ไ ม่ ต้ อ งมี
ใบอนุญาตประกอบวิชาชี พตามมาตรา ๑๐๙วันออกจากราชการตาม (๔) (๕) และ (๖) ให้ เป็ นไปตามระเบียบ
ที่ ก.ค.ศ. วางไว้
การต่อเวลาราชการให้ขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาที่ตอ้ งออกจากราชกาตาม (๒) รับ
ราชการต่อไป จะระทามิได้

การลาออกจากราชการ
การยื่นหนังสื อลาออกต้ องยื่นล่วงหน้ าก่อนวันขอลาออกไม่ น้อยกว่า 30 วัน
ยื่นต่ อ ---- ผู้บังคับบัญชา ---- ผู้พจิ ารณาอนุญาตการลาออก คือ ผู้มีอานาจตามมาตราที่ 53

***การยับยัง่ การลาออก >>>> ได้ เป็ นเวลาไม่ เกิน 90 วัน (ยับยัง่ ได้ ครั้งเดียว เพื่อประโยชน์ ทางราชการ)
เมื่อครบกาหนดเวลาทีย่ บั ยัง่ แล้ว ให้ การลาออกมีผลตั้งแต่ วนั ถัดจากวันครบกาหนดเวลายับยัง่

ถ้ าไม่ ได้ ยบั ยัง่ การอนุญาตการลาออกให้ การลาออกนั้นมีผล ตั้งแต่ วนั ขอลาออก


การลาออกไม่ ระบุวนั ลาออกให้ มีผลถัดจากครบ 30 วัน

การลาออกเพื่อดารงตาแหน่ งทางการเมือง หรื อ สมัครรับเลือกตั้งเป็ น อบจ. อบต. เทศบาล ให้ ยื่น


หนังสื อขอลาออกต่ อผู้บังคับบัญชา *** ให้ การออกมีผลนับตั้งแต่ วนั ที่ขอลาออก***

หมวดที่ 9 การอุทธรณ์ และร้ องทุกข์


การอุทธรณ์ หมายถึง การที่ผถู ้ ูกลงโทษทางวินยั ร้องขอให้ผมู ้ ีอานาจหน้าที่ตามกฎหมายกาหนดไว้
ได้ยกเรื่ องขึ้นมาพิจารณาใหม่ ให้เป็ นในทางให้คุณแก่ผถุ ้ ูกลงโทษ

สรุ ป การอุทธรณ์ หมายถึง กรณีถูก การลงโทษทางวินัย 5 สถานเท่านั้น

- โทษภาคทัณฑ์ / ตัดเงินเดือน / ลดขั้นเงินเดือน (วินัยไม่ ร้ายแรง) ทีส่ ั่ งโดย ผอ.สถานศึกษา ,


ผอ.สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา ให้อุทธรณ์ ต่อ >>>> กศจ. ภายใน 30 วัน นับตั้งแต่ ได้ รับแจ้ ง

- โทษภาคทัณฑ์ / ตัดเงินเดือน / ลดขั้นเงินเดือน (วินัยไม่ ร้ายแรง) ทีส่ ั่ งโดย นายกรัฐมนตรี ,


เลขาฯ กพฐ ให้อุทธรณ์ ต่อ >>>> กศจ. ภายใน 30 วัน นับตั้งแต่ ได้ รับแจ้ ง

73
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

- โทษปลดออก / ไถ่ ออก (วินัยร้ ายแรง) ให้ สิทธิ์อุธรณ์ ต่ อ >>> ก.ค.ศ. ภายใน 30 วัน นับตั้งแต่
ได้รับแจ้งคาสั่ง ให้ ก.ค.ศ. พิจารณาให้ แล้วเสร็จ ภายใน 90 วัน

.>>>> กรณีผ้ มู ีวทิ ยฐานะเชี่ ยวชาญพิเศษ ต้ องอุทธรต่ อ ก.ค.ศ. เท่ านั้น<<<<<

2.การร้ องทุกข์ หมายถึง การที่ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษา


1.เห็นว่า ไม่ ได้ รับความเป็ นธรรม จากคาสั่งของผูบ้ งั คับบัญชา
2.หรื อมีความ คับข้ องใจ เนื่องจากการกระทาของผูบ้ งั คับบัญชา
3.หรื อ กรณี ถูกต้ องคณะกรรมการสอบสวน

ธรรม + ข้ อง +สวน

ให้ ร้องทุกข์ ต่อ >>> กศจ. ภายใน 30 วัน นับตั้งแต่ วนั ทราบเรื่ องอันเหิดเหตุแห่ งการร้ องทุกข์
มติ กศจ. เป็ นทีส่ ิ้ นสุ ด

ถูกสั่ งให้ ออกจากราชการ , พักราชการ , ร้ องทุกข์ ต่อ >>> ก.ค.ศ. ภายใน 30 วัน นับตั้งแต่วนั ที่
ได้รับแจ้งคาสั่ง

**** กรณี ถูกสั่ งให้ ออกจากราชการ


1.ให้มีสิทธิ์ ร้องทุกข์ ต่อ >> ก.ค.ศ. (ภายใน 30 นับตั้งแต่วนั ที่ได้รับแจ้งคาสั่ง)
2.เห็นว่าไม่ได้รับความเป็ นธรรม ให้ >> ฟ้ องร้ องต่ อศาลปกครอง

74
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

พระราชบัญญัตคิ ุ้มครองเด็ก พ.ศ. 2546


มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้

เด็ก” หมายความว่ า บุคคลซึ่งมีอายุต่า กว่า 18 ปี บริบูรณ์


>>>แต่ ไม่ รวมถึงผู้ทบี่ รรลุนิติภาวะด้ วยการสมรส

“เด็กเร่ ร่อน” หมายความว่า เด็กทีไ่ ม่ มีบิดามารดาหรื อผู้ปกครองหรื อมีแต่ ไม่ เลีย้ งดูหรื อไม่ สามารถ
เลีย้ งดูได้ จนเป็ นเหตุให้เด็กต้องเร่ ร่อนไปในที่ต่าง ๆ หรื อเด็กที่มีพฤติกรรมใช้ชีวิตเร่ ร่อนจนน่าจะเกิด
อันตรายต่อสวัสดิภาพของตน

“เด็กกาพร้ า” หมายความว่า เด็กทีบ่ ิดาหรื อมารดาเสี ยชีวติ เด็กทีไ่ ม่ ปรากฏบิดามารดาหรื อไม่


สามารถสื บหาบิดามารดาได้

“เด็กทีอ่ ยู่ในสภาพยากลาบาก” หมายความว่า เด็กทีอ่ ยู่ในครอบครัวยากจนหรื อบิดามารดาหย่ าร้ าง


ทิง้ ร้ าง ถูกคุมขัง หรื อแยกกันอยูแ่ ละได้รับความลาบาก หรื อเด็กที่ตอ้ งรับภาระหน้าที่ในครอบครัวเกินวัย
หรื อกาลังความสามารถและสติปัญญา หรื อเด็กที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้

“เด็กพิการ” หมายความว่า เด็กทีม่ ีความบกพร่ องทางร่ างกาย สมอง สติปัญญาหรื อจิตใจ ไม่วา่
ความบกพร่ องนั้นจะมีมาแต่กาเนิดหรื อเกิดขึ้นภายหลัง

“เด็กทีเ่ สี่ ยงต่ อการกระทาผิด” หมายความว่า เด็กทีป่ ระพฤติตนไม่ สมควรเด็กที่ประกอบอาชีพหรื อ


คบหาสมาคมกับบุคคลทีน่ ่ าจะชั กนาไปในทางกระทาผิดกฎหมาย หรื อขัดต่อศีลธรรมอันดีหรื ออยูใ่ น
สภาพแวดล้อมหรื อสถานที่อนั อาจชักนาไปในทางเสี ยหาย ทั้งนี้ ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง

“นักเรี ยน” หมายความว่า เด็กซึ่งกาลังรับการศึกษาขั้นพืน้ ฐานระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา


ทั้งประเภทสามัญศึกษาและอาชี วศึกษาหรื อเทียบเท่ าอยู่ในสถานศึกษาของรัฐหรื อเอกชน

75
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

“นักศึกษา” หมายความว่ า เด็กซึ่งกาลังรับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหรื อเทียบเท่ าอยู่ในสถานศึกษา


ของรัฐหรื อเอกชน
“บิดามารดา” หมายความว่า บิดามารดาของเด็กไม่ ว่าจะสมรสกันหรื อไม่
“ผู้ปกครอง” หมายความว่า บิดามารดา ผูอ้ นุบาล ผูร้ ับบุตรบุญธรรม และผูป้ กครอง ตามประมวล
กฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ และให้หมายความรวมถึงพ่อเลี้ยงแม่เลี้ยง ผูป้ กครองสวัสดิภาพนายจ้าง ตลอดจน
บุคคลอื่นซึ่ งรับเด็กไว้ในความอุปการะเลี้ยงดูหรื อซึ่ งเด็กอาศัยอยูด่ ว้ ย

“ครอบครัวอุปถัมภ์ ” หมายความว่า บุคคลทีร่ ับเด็กไว้ อุปการะเลีย้ งดูอย่ างบุตร


“การเลีย้ งดูโดยมิชอบ” หมายความว่า การไม่ ให้ การอุปการะเลีย้ งดู อบรมสั่ งสอนหรื อพัฒนาเด็ก
ตามมาตรฐานขั้นต่าทีก่ าหนดในกฎกระทรวง จนน่ าจะเกิดอันตรายแก่ ร่างกายหรื อจิตใจของเด็ก

“ทารุ ณกรรม” หมายความว่า การกระทาหรื อละเว้ นการกระทาด้ วยประการใด ๆ จนเป็ นเหตุให้ เด็ก
เสื่ อมเสี ยเสรีภาพหรื อเกิดอันตรายแก่ ร่างกายหรื อจิตใจ การกระทาผิดทางเพศต่อเด็กการใช้เด็กให้กระทา
หรื อประพฤติในลักษณะที่น่าจะเป็ นอันตรายแก่ร่างกายหรื อจิตใจหรื อขัดต่อกฎหมายหรื อศีลธรรมอันดี
ทั้งนี้ ไม่วา่ เด็กจะยินยอมหรื อไม่ก็ตาม
“สื บเสาะและพินิจ” หมายความว่า การค้ นหาและรวบรวมข้ อเท็จจริงเกีย่ วกับบุคคลและนามา
วิเคราะห์วินิจฉัยตามหลักวิชาการทางสังคมสงเคราะห์ แพทย์จิตวิทยา กฎหมายและหลักวิชาการอื่นที่
เกี่ยวข้องกับบุคคลและครอบครัวของบุคคลนั้น

“สถานรับเลีย้ งเด็ก” หมายความว่า สถานที่รับเลีย้ งและพัฒนาเด็กทีม่ ีอายุไม่ เกิน6 ปี บริ บูรณ์ และมี
จานวนตั้งแต่ หก 6 คนขึน้ ไป
ซึ่ งเด็กไม่เกี่ยวข้องเป็ นญาติกบั เจ้าของหรื อผูด้ าเนินการสถานรับเลี้ยงเด็กดังกล่าว ทั้งนี้ ไม่รวมถึง
สถานพยาบาลหรื อโรงเรี ยนทั้งของรัฐและเอกชน

“สถานแรกรับ” หมายความว่า สถานทีร่ ับเด็กไว้ อุปการะเป็ นการชั่ วคราวเพื่อสื บเสาะและพินิจเด็ก


และครอบครัว เพื่อกาหนดแนวทางในการสงเคราะห์ และคุ้มครองสวัสดิภาพทีเ่ หมาะสมแก่ เด็กแต่ ละราย
“สถานสงเคราะห์ ” หมายความว่า สถานที่ให้การอุปการะเลี้ยงดูและพัฒนาเด็กที่จาต้องได้รับการ
สงเคราะห์ ซึ่งมีจานวนตั้งแต่ 6 คนขึน้ ไป

76
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

“สถานคุ้มครองสวัสดิภาพ” หมายความว่า สถานทีใ่ ห้ การศึกษา อบรม ฝึ กอาชีพเพื่อแก้ ไขความ


ประพฤติ บาบัด รักษา และฟื้ นฟูสมรรถภาพ ทั้งทางด้านร่ างกายและจิตใจแก่เด็กที่พึงได้รับการคุม้ ครอง
สวัสดิภาพ
“สถานพัฒนาและฟื้ นฟู” หมายความว่า สถานที่ โรงเรี ยน สถาบัน หรื อศูนย์ที่จดั ขึ้นเพื่อให้การ
บาบัดรักษา การฟื้ นฟูสมรรถภาพทั้งทางด้ านร่ างกายและจิตใจ ตลอดจนการศึกษา แนะแนวและการ
ฝึ กอบรมอาชีพ แก่เด็กที่จาต้องได้รับการสงเคราะห์หรื อคุม้ ครองสวัสดิภาพเป็ นกรณี พิเศษ

มาตรา 6 รัฐมนตรี ผรู ้ ักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี


1. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมัน่ คงของมนุษย์
2.รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงมหาดไทย
3.รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงศึกษาธิ การ
4.รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงยุติธรรม
เทคนิคการจา >> ศึก + มั่น + หาด + ยุติ

หมวดที่ 1 คณะกรรมการคุ้มครองเด็ก มี 3 คณะ >> ชาติ + เทพ + จังหวัด


มาตรา 7 ให้ มีคณะกรรมการคุ้มครองเด็กแห่ งชาติ มี 25 คน
ประกอบด้ วย รั ฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสั งคมและความมั่นคงของมนุษย์ เป็ นประธาน
กรรมการ
มาตรา 16 ให้ มีคณะกรรมการคุ้มครองเด็กกรุ งเทพมหานคร มี 25
ประกอบด้ วย ผู้ว่าราชการกรุ งเทพมหานคร เป็ นประธานกรรมการ
มาตรา 17 ให้ มีคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัด มี 24 คน
ประกอบด้ วย ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็ นประธานกรรมการ

หมวด ๒การปฏิบัติต่อเด็ก
มาตรา 22 การปฏิบตั ิต่อเด็กไม่วา่ กรณี ใด ให้คานึงถึงประโยชน์ สูงสุ ดของเด็กเป็ นสาคัญและไม่ให้มี
การเลือกปฏิบตั ิโดยไม่เป็ นธรรม

มาตรา 23 ผู้ปกครองต้ องให้ การอุปการะเลีย้ งดู อบรมสัง่ สอน และพัฒนาเด็กที่อยูใ่ นความปกครอง


ดูแลของตนตามควรแก่ ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมแห่ งท้องถิ่น

77
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

มาตรา 24 ปลัดกระทรวง ผูว้ า่ ราชการจังหวัด นายอาเภอ ปลัดอาเภอผูเ้ ป็ นหัวหน้าประจากิ่งอาเภอ


หรื อผูบ้ ริ หารองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น มีหน้าที่คุม้ ครองสวัสดิภาพเด็กที่อยูใ่ นเขตพื้นที่ที่รับผิดชอบ

มาตรา 25 ผู้ปกครองต้ องไม่ กระทาการ ดังต่ อไปนี้


(1) ทอดทิ้งเด็กไว้ในสถานรับเลี้ยงเด็กหรื อสถานพยาบาลหรื อไว้กบั บุคคลที่รับจ้างเลี้ยงเด็กหรื อที่
สาธารณะหรื อสถานที่ใด โดยเจตนาที่จะไม่รับเด็กกลับคืน
(2) ละทิง้ เด็กไว้ ณ สถานที่ใด ๆ โดยไม่จดั ให้มีการป้ องกันดูแลสวัสดิภาพหรื อให้การเลี้ยงดูที่
เหมาะสม
(3) จงใจหรื อละเลยไม่ให้ส่ิ งที่จ าเป็ นแก่การด ารงชี วติ หรื อสุ ขภาพอนามัยจนน่าจะเกิดอันตรายแก่
ร่ างกายหรื อจิตใจของเด็ก
(4) ปฏิบตั ิต่อเด็กในลักษณะที่เป็ นการขัดขวางการเจริ ญเติบโตหรื อพัฒนาการของเด็ก
(5) ปฏิบตั ิต่อเด็กในลักษณะที่เป็ นการเลี้ยงดูโดยมิชอบ
มาตรา 26 ภายใต้บงั คับบทบัญญัติแห่งกฎหมายอื่น ไม่วา่ เด็กจะยินยอมหรื อไม่ ห้ามมิให้ผใู ้ ดกระทา
การ ดังต่อไปนี้
(1) กระทาหรื อละเว้นการกระทาอันเป็ นการทารุ ณกรรมต่อร่ างกายหรื อจิตใจของเด็ก
(2) จงใจหรื อละเลยไม่ให้สิ่งจาเป็ นแก่การดารงชี วติ หรื อการรักษาพยาบาลแก่เด็กที่อยูใ่ นความดูแล
ของตนจนน่าจะเกิดอันตรายแก่ร่างกายหรื อจิตใจของเด็ก
(3) บังคับ ขู่เข็ญ ชักจูง ส่ งเสริ ม หรื อยินยอมให้เด็กประพฤติตนไม่สมควรหรื อน่าจะทาให้เด็กมี
ความประพฤติเสี่ ยงต่อการกระทาผิด
(4) โฆษณาทางสื่ อมวลชนหรื อเผยแพร่ ดว้ ยประการใด เพื่อรับเด็กหรื อยกเด็กให้แก่บุคคลอื่นที่มิใช่
ญาติของเด็ก เว้นแต่เป็ นการกระทาของทางราชการหรื อได้รับอนุญาตจากทางราชการแล้ว
(5) บังคับ ขู่เข็ญ ชักจูง ส่ งเสริ ม ยินยอม หรื อกระทาด้วยประการใดให้เด็กไปเป็ นขอทาน เด็กเร่ ร่อน
หรื อใช้เด็กเป็ นเครื่ องมือในการขอทานหรื อการกระทาผิด หรื อกระทาด้วยประการใดอันเป็ นการแสวงหา
ประโยชน์โดยมิชอบจากเด็ก
(6) ใช้ จ้าง หรื อวานเด็กให้ทางานหรื อกระทาการอันอาจเป็ นอันตรายแก่ร่างกายหรื อจิตใจมี
ผลกระทบต่อการเจริ ญเติบโต หรื อขัดขวางต่อพัฒนาการของเด็ก
(7) บังคับ ขู่เข็ญ ใช้ ชักจูง ยุยง ส่ งเสริ ม หรื อยินยอมให้เด็กเล่นกีฬาหรื อให้กระทาการใด เพื่อ
แสวงหาประโยชน์ทางการค้าอันมีลกั ษณะเป็ นการขัดขวางต่อการเจริ ญเติบโตหรื อพัฒนาการของเด็กหรื อมี
ลักษณะเป็ นการทารุ ณกรรมต่อเด็ก

78
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

(8) ใช้หรื อยินยอมให้เด็กเล่นการพนันไม่วา่ ชนิ ดใดหรื อเข้าไปในสถานที่เล่นการพนัน สถาน


ค้าประเวณี หรื อสถานที่ที่หา้ มมิให้เด็กเข้า
(9) บังคับ ขู่เข็ญ ใช้ ชักจูง ยุยง ส่ งเสริ ม หรื อยินยอมให้เด็กแสดงหรื อกระทาการอันมีลกั ษณะลามก
อนาจาร ไม่วา่ จะเป็ นไปเพื่อให้ได้มาซึ่ งค่าตอบแทนหรื อเพื่อการใด
(10) จาหน่าย แลกเปลี่ยน หรื อให้สุราหรื อบุหรี่ แก่เด็ก เว้นแต่การปฏิบตั ิทางการแพทย์
ถ้าการกระทาความผิดตามวรรคหนึ่งมีโทษตามกฎหมายอื่นที่หนักกว่าก็ให้ลงโทษตามกฎหมายนั้น

มาตรา 27 ห้ามมิให้ผใู ้ ดโฆษณาหรื อเผยแพร่ ทางสื่ อมวลชนหรื อสื่ อสารสนเทศประเภทใด ซึ่ งข้อมูล
เกี่ยวกับตัวเด็กหรื อผูป้ กครอง โดยเจตนาที่จะทาให้เกิดความเสี ยหายแก่จิตใจ ชื่ อเสี ยง เกียรติคุณ หรื อสิ ทธิ
ประโยชน์อื่นใดของเด็ก หรื อเพื่อแสวงหาประโยชน์สาหรับตนเองหรื อผูอ้ ื่นโดยมิชอบ
มาตรา 28 ในกรณี ผปู ้ กครองตกอยูใ่ นสภาพไม่อาจให้การอุปการะเลี้ยงดู อบรมสั่งสอนและพัฒนา
เด็กได้ไม่ว่าด้วยเหตุ ใด หรื อผูป้ กครองกระทาการใดอันน่ าจะเกิ ดอันตรายต่อสวัสดิ ภาพหรื อขัดขวางต่อ
ความเจริ ญเติบโตหรื อพัฒนาการของเด็กหรื อให้การเลี้ยงดูโดยมิชอบ หรื อมีเหตุจาเป็ นอื่นใดเพื่อประโยชน์
ในการสงเคราะห์หรื อคุม้ ครองสวัสดิภาพเด็ก หรื อป้ องกันมิให้เด็กได้รับอันตรายหรื อถูกเลือกปฏิบตั ิโดยไม่
เป็ นธรรมพนักงานเจ้าหน้าที่ตอ้ งดาเนิ นการให้การสงเคราะห์หรื อคุม้ ครองสวัสดิภาพตามพระราชบัญญัติน้ ี

หมวด 3การสงเคราะห์ เด็ก


------------------------
มาตรา 32 เด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์ มี 8 ประเภท ได้แก่
(1) เด็กเร่ ร่อน หรื อเด็กกาพร้า
(2) เด็กที่ถูกทอดทิ้งหรื อพลัดหลง ณ ที่ใดที่หนึ่ง
(3) เด็กที่ผปู ้ กครองไม่สามารถอุปการะเลี้ยงดูได้ดว้ ยเหตุใด ๆ เช่น ถูกจาคุก กักขัง พิการ ทุพพลภาพ
เจ็บป่ วยเรื้ อรัง ยากจน เป็ นผูเ้ ยาว์หย่า ถูกทิ้งร้าง เป็ นโรคจิตหรื อโรคประสาท
(4) เด็กที่ผปู ้ กครองมีพฤติกรรมหรื อประกอบอาชีพไม่เหมาะสมอันอาจส่ งผลกระทบต่อพัฒนาการทาง
ร่ างกายหรื อจิตใจของเด็กที่อยูใ่ นความปกครองดูแล
(5) เด็กที่ได้รับการเลี้ยงดูโดยมิชอบ ถูกใช้เป็ นเครื่ องมือในการกระทาหรื อแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ ถูก
ทารุ ณกรรม หรื อตกอยูใ่ นภาวะอื่นใดอันอาจเป็ นเหตุให้เด็กมีความประพฤติเสื่ อมเสี ยในทางศีลธรรมอันดี
หรื อเป็ นเหตุให้เกิดอันตรายแก่กายหรื อจิตใจ
(6) เด็กพิการ

79
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

(7) เด็กที่อยูใ่ นสภาพยากลาบาก


(8) เด็กที่อยูใ่ นสภาพที่จาต้องได้รับการสงเคราะห์ตามที่กาหนดในกฎกระทรวง

ในกรณี ที่บุคคลที่ไ ด้รับการสงเคราะห์มี อายุครบ 18 ปี บริ บูรณ์ แต่ยงั อยู่ในสภาพที่ จาเป็ นจะต้อง
ได้รับการสงเคราะห์ต่อไป ปลัดกระทรวงหรื อผูว้ ่าราชการจังหวัด แล้วแต่กรณี อาจสั่งให้บุคคลนั้นได้รับ
การสงเคราะห์ต่อไปจนอายุ 20 บริบูรณ์ กไ็ ด้ แต่ถา้ มีเหตุจาเป็ นต้องให้การสงเคราะห์ต่อไปอีกและบุคคลนั้น
มิได้คดั ค้านปลัดกระทรวงหรื อผูว้ ่าราชการจังหวัด แล้วแต่กรณี อาจสั่งให้สงเคราะห์บุคคลนั้นต่อไปตาม
ความจาเป็ นและสมควร แต่ท้ งั นี้ตอ้ งไม่เกินเวลาที่บุคคลนั้นมีอายุครบ 24 ปี บริบูรณ์

เทคนิคการจา >>> สภาพ 20 , มีเหตุ 24 // อยู่ได้ นานทีส่ ุ ด 24 ปี บริบูรณ์

หมวด 4 การคุ้มครองสวัสดิภาพเด็ก
*** มาตรา 40 เด็กทีพ่ งึ ได้ รับการคุ้มครองสวัสดิภาพได้ แก่
(1) เด็กทีถ่ ูกทารุ ณกรรม
(2) เด็กทีเ่ สี่ ยงต่ อการกระทาผิด
(3) เด็กทีอ่ ยู่ในสภาพทีจ่ าต้ องได้ รับการคุ้มครองสวัสดิภาพตามทีก่ าหนดในกฎกระทรวง
บทกาหนดโทษ พรบ. คุ้มครองเด็ก
****คุกไม่ เกิน 1 เดือน หรื อปรับไม่ เกิน 1 หมื่นบาท หรื อทั้ง จาทั้งปรับ***
- ผูใ้ ดขัดขวางไม่ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิ หรื อไม่ยอมส่ งเอกสารหรื อส่ งเอกสารโดยรู ้อยูว่ า่ เป็ น
เอกสารเท็จแก่พนักงานเจ้าหน้าที่ ผูใ้ ดไม่ยอมมาให้ถอ้ ยคา ไม่ยอมให้ถอ้ ยคา หรื อให้ถอ้ ยคาอันเป็ นเท็จต่อ
พนักงานเจ้าหน้าที่
- ผูใ้ ดฝ่ าฝื นข้อกาหนดของศาลในการคุมความประพฤติ ห้ามเข้าเขตกาหนดหรื อห้ามเข้าใกล้ตวั เด็ก
ต้องระวางโทษจา
- จัดตั้ง สถานรับเลี้ยงเด็ก สาถนแรกเกิด สถานสงเคราะห์ ไม่ได้รับอนุญาต อย่างถูกต้อง
- ****คุกไม่ เกิน 3 เดือน หรื อปรับไม่ เกิน 3 หมื่นบาท หรื อทั้ง จาทั้งปรับ***
ยุยง ส่ งเสริ ม ช่ วยเหลื อ หรื อสนั บสนุ นให้ นักเรี ยนหรื อนั กศึ กษาฝ่ าฝื น กระทาความผิดระเบียบ
โรงเรียน

80
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

บังคับ ขู่เข็ญ ยกเด็กให้ ไปเป็ น ขอทาน เล่ นการพนัน เป็ นการขัดขวางต่ อการเจริ ญเติบโตหรื อ
พัฒนาการของเด็กหรื อมีลกั ษณะเป็ นการทารุ ณกรรมเด็ก

____________________________________________________________________________

****คุกไม่ เกิน 6 เดือน หรื อปรับไม่ เกิน 6 หมื่นบาท หรื อทั้ง จาทั้งปรับ***
>> โฆษณา หรื อ เผยแพร่ ทางสื่ อมวลชน เจตนาให้ เสี ยหาย
>> เปิ ดเผยชื่ อตัว สกุล ข้ อมูลนักเรียนทาให้ เกิดความเสี ยหาย
>> ทาร้ ายร่ างกาย จิตใจ กักขัง ทอดทิง้ ลงโทษด้ วยวิธีรุนแรง

81
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้ วยการลาของข้ าราชการ พ.ศ.2555


๑. ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ ๒๔ มกราคม ๒๕๕๕ มีผลบังคับใช้ วนั ที่ ๒๕ มกราคม ๒๕๕๕
ปลัดสานักนายกรัฐมนตรี เป็ นผู้รักษาการตามระเบียบนี ้
๒. ผู้มีอานาจการลาไม่อยูห่ รื อไม่สามารถปฏิบตั ริ าชการได้ หากมีเหตุจาเป็ นเร่งด่วนให้ เสนอใบลาต่อผู้มี
อานาจเหนือขึ ้นไปพิจารณา
- การลาในช่วงก่อนและหลังวันหยุดราชการประจาสัปดาห์หรื อวันหยุดราชการประจาปี เพื่อให้ มี
วันหยุดต่อเนื่องกัน ให้ ผ้ มู ีอานาจใช้ ดลุ พินิจตามความเหมาะสม
๓. การนับวันลานับตามปี งบประมาณ
- การนับวันลาให้ นบั ต่อเนื่องกันรวมวันหยุดราชการที่อยูร่ ะหว่างวันลาประเภทเดียวกัน ยกเว้ น

ลาป่ วย ลาไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร ลากิจส่วนตัว ลาพักผ่อน นับเฉพาะวันทาการ


- การลาป่ วยหรื อลากิจส่วนตัวต่อเนื่องกัน ในปี งบประมาณเดียวกันหรื อไม่ก็ตาม นับเป็ นหนึง่ ครั ง้
- การลาไปช่วยเหลือภริยา ลากิจส่วนตัว (ไม่ใช่ลากิจเลี ้ยงดูบตุ ร) ลาพักผ่อน หากมีราชการจาเป็ น
ผู้บงั คับบัญชามีอานาจเรี ยกกลับมาปฏิบตั ริ าชการระหว่างลาได้ และถือว่าให้ สิ ้นสุดวันลาก่อนวันกลับมา
ปฏิบตั ริ าชการ แต่ถ้าผู้มีอานาจเห็นว่าการเดินทางต้ องใช้ เวลา ให้ ถือว่าสิ ้นสุดก่อนวันเดินทางกลับ
- การลาครึ่งวันเช้ าบ่าย นับเป็ นการลาครึ่งวัน
- การยกเลิกวันลา การลาสิ ้นสุดก่อนวันมาปฏิบตั ิราชการ
๔. การควบคุมการลา
- จัดทาบัญชีลงเวลาปฏิบตั ริ าชการ
- เครื่ องบันทึกเวลาการปฏิบตั ริ าชการ
- แบบอื่นตามที่เห็นสมควรได้
๕. การลาต้ องใช้ ใบลาตามแบบที่กาหนด เว้ นกรณีเร่งด่วนจาเป็ นใช้ วิธีการอื่นได้ แต่ต้องส่งใบลาตาม
แบบในวันแรกที่มาปฏิบตั ริ าชการ
ส่วนราชการอาจนาระบบอิเล็กทรอนิกส์มาประยุกต์ใช้ ในการเสนอ อนุญาต และยกเลิกวันลา
สาหรับวันลาป่ วย ลาพักผ่อน ลากิจส่วนตัว (เว้ นลากิจเลี ้ยงดูบตุ ร)
๖. การไปต่ างประเทศระหว่ างการลา หรือวันหยุดราชการ ให้ เสนอขออนุญาตต่อผู้บงั คับบัญชา
ตามลาดับจนถึงหัวหน้ าส่วนราชการ (ผวจ.) แล้ วรายงานให้ ปลัดกระทรวงทราบด้ วย
๗. การขออนุญาตไปต่ างประเทศซึ่งอยู่ตดิ เขตแดนประเทศไทย ผู้วา่ ราชการจังหวัดอนุญาตได้ ไม่
เกิน ๗ วัน นายอาเภอท้ องที่ที่มีอาณาเขตติดต่อประเทศนันอนุ ้ ญาตได้ ไม่เกิน ๓ วัน

82
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

๘. ข้ าราชการที่ไม่ สามารถมาปฏิบัตริ าชการเพราะพฤติการณ์ พเิ ศษ ให้ รีบรายงานพฤติการณ์ ปัญหา


อุปสรรคต่อผู้บงั คับบัญชาตามลาดับจนถึงหัวหน้ าส่วนราชการ (ผวจ.) ทันทีในวันแรกที่มาปฏิบตั ริ าชการ
แล้ วไม่ต้องนับเป็ นวันลา แต่ถ้าเห็นว่าไม่เป็ นพฤติการณ์พิเศษ ให้ ถือวันวันที่ไม่มาเป็ นวันลากิจส่วนตัว
๙.. การลาแบ่ งออกเป็ น ๑๑ ประเภท คือ
๑. การลาป่ วย
๒. การลาคลอดบุตร
๓. การลาไปช่ วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร
๔ การลากิจส่วนตัว
๕. การลาพักผ่อน
๖. การลาอุปสมบทหรื อการลาไปประกอบพิธีฮจั ย์
๗. การลาเข้ ารับการตรวจเลือกหรื อเข้ ารับการเตรี ยมพล
๘. การลาไปศึกษา ฝึ กอบรม ปฏิบตั งิ านวิจยั หรื อดูงาน
๙. การลาไปปฏิบตั งิ านในองค์กรระหว่างประเทศ
๑๐. การลาติดตามคูส่ มรส
๑๑. การลาไปฟื ้ นฟูสมรรถภาพด้ านอาชีพ
1. การลาป่ วย
- เสนอใบลาก่อนหรื อในวันที่ลาด ยกเว้ นจาเป็ น เสนอวันแรกที่มาปฏิบตั ริ าชการ
- ในกรณีที่ข้าราชการผู้ขอลามีอาการป่ วย จนไม่สามารถจะลงชื่อในใบลาได้ ให้ ผ้ อู ื่นลาแทนได้ แต่
เมื่อสามารถลงชื่อได้ แล้ วให้ เสนอใบลาโดยเร็ว
- การลาป่ วย ๓๐ วันขึ ้นไป ต้ องมีใบรับรองแพทย์
- การลาป่ วยไม่ถึง ๓๐ วัน ถ้ าผู้มีอานาจอนุญาตเห็นสมควรให้ เสนอใบรับรองแพทย์ประกอบการ
ลา หรื อสัง่ ให้ ไปตรวจร่างกายประกอบการพิจารณาอนุญาตได้
2. การลาคลอดบุตร (ไม่ ต้องมีใบรับรองแพทย์ )
- เสนอใบลาก่อนหรื อในวันที่ลา ถ้ าลงชื่อไม่ได้ ให้ ผ้ อู ื่นลาแทนได้ เมื่อลงชื่อได้ ให้ สง่ ใบลาโดยเร็ว
- ลาในวันที่คลอด ก่อนหรื อหลังคลอดก็ได้ แต่รวมแล้ วต้ องไม่เกิน ๙๐ วัน
- ลาไปแล้ วยังไม่คลอด ยกเลิกวันลาคลอดบุตรได้ ให้ นบั วันที่หยุดราชการไปแล้ วเป็ นวันลากิจ
- การลาคลอดบุตรคาบเกี่ยวการลาประเภทอื่น ให้ ถือว่าวันลานันสิ ้ ้นสุดลง และนับเป็ นวันลาคลอด
บุตรนับแต่วนั ลาคลอดบุตร
3. การลาไปช่ วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร (ที่ชอบด้ วยกฎหมาย)
- เสนอใบลาก่อนหรื อในวันที่ลา ภายใน ๙๐ วันนับแต่วนั ที่คลอดบุตร ลาครัง้ หนึง่ ติดต่อกันไม่เกิน
๑๕ วันทาการ

83
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

- ผู้มีอานาจอนุญาตอาจให้ แสดงหลักฐานประกอบการพิจารณาได้
4. การลากิจส่ วนตัว
- เสนอใบลาจนถึงผู้มีอานาจอนุญาต ได้ รับอนุญาตแล้ วจึงจะหยุดราชการได้
- ถ้ ามีเหตุจาเป็ น เสนอแล้ วระบุสาเหตุ แล้ วหยุดราชการไปก่อนได้ แต่ต้องรี บชี ้แจงโดยเร็ว
- ถ้ าไม่สามารถเสนอใบลาได้ ให้ สง่ ใบลาพร้ อมเหตุผลความจาเป็ นในวันแรกที่มาปฏิบตั ริ าชการ
- ลากิจส่วนตัวต่อเนื่องจากลาคลอดบุตรได้ ไม่เกิน ๑๕๐ วันทาการ
5. การลาพักผ่ อน
- เสนอใบลาจนถึงผู้มีอานาจอนุญาต ได้ รับอนุญาตแล้ วจึงจะหยุดราชการได้
- ลาได้ ปีงบประมาณละ ๑๐ วันทาการ
- ข้ าราชการที่บรรจุเข้ ารับราชการยังไม่ถึง ๖ เดือนไม่มีสิทธิลาพักผ่อนประจาปี ในปี ที่บรรจุ
- ปี ใดที่ไม่ได้ ลา หรื อลาแต่ไม่ครบ ๑๐ วัน ให้ สะสมวันที่ยงั ไม่ได้ ลารวมกับปี ตอ่ ๆ ไปได้ แต่รวมกับ
วันลาพักผ่อนในปี ปัจจุบนั แล้ วไม่เกิน ๒๐ วันทาการ ถ้ ารับราชการไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี สะสมไม่เกิน ๓๐ วัน
ทาการ
ปี แรก ลาพักผ่อน ๕ วัน เหลือ ๕ วัน
ปี ที่สอง สิทธิลา ๑๐ วัน สะสม ๕ วัน รวม ๑๕ วัน ลาพักผ่อน ๔ วัน เหลือ ๑๑ วัน
ปี ที่สาม สิทธิลา ๑๐ วัน สะสม ๑๐ วัน (รับราชการไม่ถึง ๑๐ ปี ) รวม ๒๐ วัน
สะสม ๑๑ วัน (รับราชการไม่น้อยกว่า ๑๐ ปี ) รวม ๒๑ วัน
6. การลาไปอุปสมบทหรื อการลาไปประกอบพิธีฮัจย์
- เสนอใบลาก่อนวันอุปสมบทหรื อวันเดินทาง ไม่น้อยกว่า ๖๐ วัน ถ้ าไม่ทนั ให้ อยู่ในดุลพินิจของผู้มี
อานาจอนุญาต
- ต้ องอุปสมบทหรื อเดินทาง ภายใน ๑๐ วันนับแต่วนั เริ่มลา และรายงานตัวภายใน ๕ วัน นับแต่
วันที่ลาสิกขาหรื อวันเดินทางกลับถึงประเทศไทย ทังนี ้ ้ นับรวมอยูใ่ นระยะเวลาที่ได้ รับอนุญาตการลา
- ถ้ ามีอปุ สรรค ยกเลิกวันลาและให้ นบั วันที่หยุดราชการไปแล้ วเป็ นลากิจส่วนตัว
7. การลาเข้ ารับการตรวจเลือกหรือเข้ ารับการเตรี ยมพล
- หมายเรี ยกเข้ ารับการตรวจเลือก รายงานลาต่อผู้บงั คับบัญชาก่อนวันเข้ ารับการตรวจเลือก
ภายใน ๔๘ ชัว่ โมง
- หมายเรี ยกเข้ ารับการเตรี ยมพล รายงานต่อผู้บงั คับบัญชาภายใน ๔๙ ชม. นับแต่เวลารับ
หมายเรี ยก
- รายงานลาแล้ วไปเข้ ารับการตรวจเลือกโดยไม่ต้องรออนุญาต ผู้บงั คับบัญชารายงาน ผวจ.ทราบ
- รายงานตัวกลับเข้ ารับราชการภายใน ๗ วัน
8. การลาไปศึกษา ฝึ กอบรม ปฏิบัตกิ ารวิจัย และดูงาน (ทัง้ ในประเทศและต่ างประเทศ)

84
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

- เสนอใบลาตามลาดับจนถึง อธิบดี เพื่อพิจารณาอนุญาต แล้ วรายงานปลัดกระทรวงทราบ


ศึกษาต่ อในประเทศ >> ผอ.รร อนุญาต
ศึกษาต่ อต่ างประเทศ >> เลขา สพฐ
9. การลาไปปฏิบัตงิ านในองค์ การระหว่ างประเทศ
- เสนอใบลาตามลาดับจนถึงรัฐมนตรี เจ้ าสังกัดเพื่อพิจารณาอนุญาต (นับเวลาเต็มเวลาราชการ)
- ลาไม่เกิน ๑ ปี รายงานตัวภายใน ๑๕ วันนับแต่วนั ครบกาหนดเวลา และรายงานผลภายใน ๓๐
วัน นับแต่วนั ที่กลับมาปฏิบตั ิราชการ
10. การลาติดตามคู่สมรส
- เสนอใบลาตามลาดับจนถึงปลัดกระทรวงเพื่อพิจารณาอนุญาต
- ลาได้ ไม่เกิน ๒ ปี จาเป็ นลาต่อได้ อีก ๒ ปี รวมแล้ วต้ องไม่เกิน ๔ ปี ถ้ าเกิน ๔ ปี ให้ ลาออก
11. การลาไปฟื ้ นฟูสมรรถภาพด้ านอาชีพ
- ได้ รับอันตรายหรื อเจ็บป่ วยเหตุปฏิบตั หิ น้ าที่ราชการจนทุพพลภาพหรื อพิการ
- ลาไปเข้ ารับการฝึ กอบรมหลักสูตรเกี่ยวกับการฟื น้ ฟูสมรรถภาพที่จาเป็ นต่อการปฏิบตั หิ น้ าที่
ราชการ หรื อจาเป็ นต่อการประกอบอาชีพ
- ลาได้ ครัง้ หนึง่ ตามระยะเวลาที่กาหนดไว้ ในหลักสูตรที่ประสงค์จะลา แต่ไม่เกิน ๑๒ เดือน
- ได้ รับอันตรายเพราะเหตุอื่นจนทุพพลภาพหรื อพิการ ผู้มีอานาจสัง่ บรรจุ (อธิบดี, ผวจ.) เห็นว่ายัง
รับราชการได้ สามารถลาไปอบรบหลักสูตรที่จาเป็ นต่อการปฏิบตั หิ น้ าที่ราชการได้ แต่ไม่เกิน ๑๒ เดือน
- ต้ องเป็ นหลักสูตที่สว่ นราชการ หน่วยงานอื่นของรัฐ องค์กรการกุศลอันเป็ นสาธารณะ สถาบันที่
ได้ รับการรับรองจากหน่วยงานของทางราชการ เป็ นผู้จดั หรื อร่วมจัด
- เสนอใบลา พร้ อมหลักฐานเกี่ยวกับหลักสูตรที่จะลา เอกสารที่เกี่ ยวข้ อง ตามลาดับ เมื่อได้ รับ
อนุญาตแล้ วจึงจะหยุดราชการเพื่อไปฟื น้ ฟูได้ (อธิบดี อนุญาตได้ ไม่เกิน ๖ เดือน, ปลัดกระทรวง,รมต.ไม่
เกิน ๑๒ เดือน)
ผู้มีอานาจพิจารณาหรื ออนุญาต
ผู้วา่ ราชการจังหวัด ลาป่ วยครัง้ หนึง่ ไม่เกิน ๑๒๐ วัน ลากิจส่วนตัวครัง้ หนึง่ ไม่เกิน ๔๕ วัน ลา
คลอดบุตร ลาไปช่วยเหลือภริยาฯ ลาพักผ่อน ลาเข้ ารับการตรวจเลือกฯ
พัฒนาการจังหวัด นายอาเภอ ลาป่ วยครัง้ หนึง่ ไม่เกิน ๖๐ วัน ลากิจส่วนตัวครัง้ หนึง่ ไม่เกิน ๓๐ วัน
ลาคลอดบุตร ลาพักผ่อน
พัฒนาการอาเภอ ลาป่ วยครัง้ หนึง่ ไม่เกิน ๓๐ วัน ลากิจส่วนตัวครัง้ หนึ่งไม่เกิน ๑๕ วัน

85
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ
ว่ าด้ วยกาหนดเวลาทางานและวันหยุดราชการของสถานศึกษา

1)ให้ สถานศึกษาเริ่มทางานตัง้ แต่ เวลา 08.30 น. ถึง 16.30 น.


>>วันหยุดประจาสัปดาห์ คือวันเสาร์ และวันอาทิตย์ หยุดเต็มวันทัง้ 2 วัน (เป็ น
วันหยุดราชการ)
>>เวลาทางานปกติ เริ่มตัง้ แต่ เวลา 8.30 ถึง 16.30 น. หยุดพักกลางวัน เวลา 12.00 ถึง 13.00 น.
(รวมทางานวันละ 7 ชั่วโมง)
>>ครู ต้องถึง โรงเรี ยนก่ อนอย่ างน้ อย 15 นาทีกลับไปไม่ น้อย 15 นาที

2)สถานศึกษาใดมีความจาเป็ น กาหนดเวลาเริ่มทางานหรือวันหยุดประจาสัปดาห์ นอกจากที่


กาหนดไว้
>>ให้ สถานศึกษาเป็ นผู้กาหนดและรายงานต่ อหน่ วยงานต้ นสังกัดทราบ
>>ทั่งนี ้ ต้ องมีเวลาทางานสัปดาห์ ละไม่ น้อยกว่ า 35 ชม.

3) วันปิ ดภาคเรียนให้ ถือเป็ นวันพักผ่ อนของนักเรียน ****

การทอดทิง้ หน้ าที่ราชการโดยไม่ มีเหตุอันสมควรเป็ นพฤติการณ์ การ


จะได้ รับโทษทางวินัย = ภาคทัณฑ์ ตัดเงินเดือน ลดขัน้ เงินเดือน

86
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ
ว่ าด้ วยการลงโทษนักเรียนและนักศึกษา
พ.ศ. 2548
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 6 และมาตรา 65 แห่งพระราชบัญญัตคิ ้ มุ ครองเด็ก พ.ศ. 2546
รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงศึกษาธิการ จึงวางระเบียบว่าด้ วยการลงโทษนักเรี ยนและนักศึกษาไว้ ดงั ต่อไปนี ้

ข้ อ 1 ระเบียบนี ้เรี ยกว่า “ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้ วยการลงโทษนักเรี ยนและนักศึกษา พ.ศ.


2548”
ข้ อ 2 ระเบียบนี ้ให้ ใช้ บงั คับตังแต่
้ วนั ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็ นต้ นไป
ข้ อ 3 ให้ ยกเลิกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้ วยการลงโทษนักเรี ยน หรื อนักศึกษา พ.ศ. 2543
ข้ อ 4 ในระเบียบนี ้ “
ผู้บริหารโรงเรี ยนหรื อสถานศึกษา” หมายความว่า ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ ผู้อานวยการ อธิการบดี หรื อ
หัวหน้ าของโรงเรี ยนหรื อสถานศึกษา หรื อตาแหน่งที่เรี ยก ชื่ออย่างอื่นของโรงเรี ยนหรื อสถานศึกษานัน้
“กระทาความผิด” หมายความว่า การที่นกั เรี ยนหรื อนักศึกษาประพฤติฝ่าฝื นระเบียบ ข้ อบังคับของ
สถานศึกษา หรื อของกระทรวงศึกษาธิการ หรื อกฎกระทรวงว่าด้ วยความประพฤติของนักเรี ยนและ
นักศึกษา
“การลงโทษ” หมายความว่า การลงโทษนักเรี ยนหรื อนักศึกษาที่กระทาความผิด โดยมีความมุง่ หมายเพื่อ
การอบรมสัง่ สอน
ข้ อ 5 โทษที่จะลงโทษแก่นกั เรี ยนหรื อนักศึกษาที่กระทาความผิด มี 4 สถานดังนี ้
5.1 ว่ากล่าวตักเตือน
5.2 ทาทัณฑ์บน
5.3 ตัดคะแนนความประพฤติ
5.4 กิจกรรมเพื่อให้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ข้ อ 6 ห้ ามลงโทษนักเรี ยน และนักศึกษาด้ วยวิธีรุนแรง หรื อแบบกลัน่ แกล้ ง หรื อลงโทษด้ วยความโกรธ หรื อ
ด้ วยความพยาบาท โดยให้ คานึงถึงอายุของนักเรี ยน หรื อนักศึกษา และความร้ ายแรงของพฤติการณ์
ประกอบการลงโทษด้ วย
การลงโทษนักเรี ยน หรื อนักศึกษาให้ เป็ นไป เพื่อเจตนาที่จะแก้ นิสยั และความประพฤติไม่ดีของนักเรี ยน
หรื อนักศึกษาให้ ร้ ูสานึกในความผิด และกลับประพฤติตนใน ทางที่ดีตอ่ ไป
ให้ ผ้ บู ริหารโรงเรี ยนหรื อสถานศึกษา หรื อผู้ที่ผ้ บู ริหารโรงเรี ยนหรื อสถานศึกษามอบหมายเป็ นผู้มีอานาจใน

87
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

การลงโทษนักเรี ยน นักศึกษา
ข้ อ 7 การว่ากล่าวตักเตือนใช้ ในกรณีนกั เรี ยน หรื อนักศึกษากระทาความผิด ไม่ร้ายแรง
ข้ อ 8 การทาทัณฑ์บนใช้ ในกรณีนกั เรี ยนหรื อนักศึกษาที่ประพฤติตนไม่เหมาะสม กับสภาพนักเรี ยนหรื อ
นักศึกษา ตามกฎกระทรวงว่าด้ วยความประพฤตินกั เรี ยน และนักศึกษา หรื อได้ รับโทษว่ากล่าวตักเตือน
แล้ ว แต่ยงั ไม่เข็ดหลาบ
การทาทัณฑ์บนให้ ทาเป็ นหนังสือ และเชิญบิดามารดาหรื อผู้ปกครองมาบันทึกรับทราบความผิดและ
รับรองการทาทัณฑ์บนไว้ ด้วย
ข้ อ 9 การตัดคะแนนความประพฤติ ให้ เป็ นไปตามระเบียบปฏิบตั วิ ่าด้ วยการ ตัดคะแนนความประพฤติ
นักเรี ยนและนักศึกษาของแต่ละสถานศึกษากาหนด และให้ ทาบันทึกข้ อมูลไว้ เป็ นหลักฐาน
ข้ อ 10 ทากิจกรรมเพื่อให้ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ใช้ ในกรณีที่นกั เรี ยน และนักศึกษากระทาความผิดที่
สมควร ต้ องปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การจัดกิจกรรมให้ เป็ นไปตามแนวทางที่กระทรวงศึกษาธิการกาหนด
ข้ อ 11 ให้ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ รักษาการให้ เป็ นไปตามระเบียบนี ้ และ ให้ มีอานาจตีความและวินิจฉัย
ปั ญหาเกี่ยวกับการปฏิบตั ติ ามระเบียบนี ้

ประกาศ ณ วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2548

อดิศยั โพธารามิก
รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงศึกษาธิการ

88
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

สถานศึกษาต้ องปฏิบัตใิ ห้ ถูกต้ องตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่ า


ด้ วยการชักธงชาติในสถานศึกษา พ.ศ. 2547
ธงชาติไทยถือว่าเป็ นสัญลักษณ์แห่งความเป็ นไทย ที่จะสร้างความรู ้สึกนิยมและภูมิใจในความเป็ น
ชาติไทย โดยกาหนดเวลาชักธงชาติข้ ึนและลง ดังต่อไปนี้
1. ในวันเปิ ดเรียน ชักขึน้ เวลาเข้ าเรียน และชักลง เวลา 18.00 น.
2. ในวันปิ ดเรียน ชักขึน้ เวลา 08.00 น.และชักลง เวลา 18.00 น.
สถานศึกษาใด มีความจาเป็ นไม่อาจจะชักธงชาติข้ ึนและลงตามเวลาที่กาหนดไว้ ให้หวั หน้า
สถานศึกษาเป็ นผูม้ ีอานาจพิจารณาตามความเหมาะสม การลดธงครึ่ งเสา ในกรณี ที่ทางราชการให้ลดธงครึ่ ง
เสา ให้ชกั ธงถึงยอดเสาแล้วจึงลดลงมาโดยให้อยูใ่ นระดับความสู ง 2 ใน 3 และเมื่อจะชักธงลงให้ชกั ขึ้น
จนถึงยอดเสาก่อน จึงชักลงตามปกติ
3. โอกาสและวันสาคัญ ให้ ชักและประดับธงชาติ ณ สถานศึกษาตามกาหนดวันและระยะเวลา ดังนี้
(1) วันขึ้นปี ใหม่ วันที่ 1 มกราคม 1 วัน
(2) วันมาฆะบูชา 1 วัน
(3) วันพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและวันที่ระลึกมหาจักรี บรมราชวงศ์ วันที่ 6
เมษายน 1 วัน
(4) วันสงกรานต์ วันที่ 13 เมษายน 1 วัน
(5) วันฉัตรมงคล วันที่ 5 พฤษภาคม 1 วัน
(6) วันพืชมงคล 1 วัน
(7) วันวิสาขบูชา 1 วัน
(8) วันอาสาฬหบูชา 1 วัน
(9) วันเข้าพรรษา 1 วัน
(10) วันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระบรมราชินีนาถวันที่ 12 สิ งหาคม 1 วัน
(11) วันสหประชาชาติ วันที่ 24 ตุลาคม 1 วัน
(12) วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั วันที่ 5,6 และ 7 ธันวาคม 3 วัน
(13) วันรัฐธรรมนูญ วันที่ 10 ธันวาคม 1 วัน
การชักและการประดับธงชาติในโอกาสและวันพิธีสาคัญอื่น ๆ ให้ เป็ นไปตามที่ทางราชการประกาศให้ ทราบ

89
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ภาค ก. ส่ วนที่ 2 ( 50 ข้ อ ) 50 นาที วิชาความถนัดทั่วไป

ความสามารถทั่วไปทางด้ านคณิตศาสตร์

90
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

91
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

92
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

แบบทดสอบ
1. 7 , 12 , 18 , 25 , 33 ............................ จำนวนต่อไปคือข้อใด
ก. 42 ข. 45 ค. 56 ง. 57

2. 100 , 89 , 80 , 73 ……………………….จำนวนต่อไปคือข้อใด
ก. 65 ข. 66 ค. 67 ง. 68

3. 4 , 40 , 360 , 2880 …………………………… จำนวนต่อไปคือข้อใด


ก. 20150 ข. 20160 ค. 20170 ง. 20180

4. 2 F 1 , 5 I 3 , 8 L 5 …………………….. จำนวนต่อไปคือข้อใด
ก. 10 N 7 ข. 12 O 3 ค. 11 O 7 ง. 11 N 8

5. 3 B 4 , 3 D 9 , 4 G 16 , 6 k 25 …………………. จำนวนต่อไปคือข้อใด
ก. 8 Q 32 ข. 8 P 32 ค. 9 Q 36 ง. 9 P 36
6. 2 , 1 , 2 , 2 , 2 , 3 , 2 , 4 , 2 , 5 , 2 ...............
ก. 8. ข. 9. ค. 7. ง. 6
7. 3 , 6 , 18 , 4 , 7 ...............
ก. 5 ข. 12 ค. 27 ง. 28
8. 500 , 400 , 200 , -100 , …………………
ก. 0 ข. 200 ค. -300 ง. -500

9. จงหำตัวอักษรที่หำยไป A , E , I , ………………………
ก. J ข. K ค. M ง. O

10. 41 , 42 , 83 , 125 , 208 , ……………………


ก. 222 ข. 333 ค. 444 ง. 555

11. 5 , 6 , 10 , 19 , 35 ……………………..
ก. 50 ข. 60 ค. 70 ง. 80

93
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

12. จงหำผลลัพท์ของ 1 + 2 + 3 + 4 + ………… + 81


ก. 1,945 ข. 2,890 ค. 3,231 ง. 3,321

13. ผลลัพธ์ของ 2.5 หำร 0.5 คือเท่ำใด


ก. 0.05 ข. 0.50 ค. 0.55 ง. 5.00

14. (-2 ) + (-3 ) - ( -8 ) = เท่ำใด


ก. -13 ข. -3 ค. 3 ง. 13

15. 0.7 , 1.3 , 1.9 , 2.5 , ……………………


ก. 2.8 ข. 3.1 ค. 3.9 ง. 4.2

16. คนไทยทุกคนเป็ นคนดี สมชำยเป็ นคนไทย ดังนั้น


ก. สมชำยอำจเป็ นคนดี ข. สมชำยเป็ นคนดี
ค. สมชำยจะต้องเป็ นคนดี ง. สรุ ปแน่นอนไม่ได้
17. ถ้ ำฝนตกแล้วน้ ำจะท่วม วันนี้ฝนตก ดังนั้น
ก. วันนี้น้ ำไม่ท่วม ข. วันนี้น้ ำท่วม
ค. พรุ่ งนี้น้ ำไม่ท่วม ง. สรุ ปแน่นอนไม่ได้
18. ถ้ำอำกำศหนำว ฉันจะห่ มผ้ำ วันนี้ฉนั ห่มผ้ำ ดังนั้น
ก. วันนี้อำกำศหนำว ข. วันนี้ฉนั รู ้สึกหนำว
ค. พรุ่ งนี้อำกำศร้อน ง. สรุ ปแน่นอนไม่ได้
19. เชียงใหม่ : อุบลรำชธำนี ? : ?
ก. แม่ฮ่องสอน : สงขลำ ข. นรำธิวำส : ตรัง
ค. น่ำน : ขอนแก่น ง. ปทุมธำนี : กรุ งเทพฯ
20. ครู : สอน ทหำร : ?
ก. ควบคุม ข. ปกครอง
ค. ยิงปื น ง. ป้ องกัน
21. ? : น้ ำ ? : ถนน
ก. เย็น : ร้อน ข. ล้อ : แก้ว
ค. เรื อ : รถยนต์ ง. เรื อ : คนขับ
22. แดงสู งกว่ำดำแต่เตี้ยกว่ำเขียว ดำสู งกว่ำขำวแต่เตี้ยกว่ำทอง ดังนั้น
ก. เขียวสู งกว่ำทอง ข. ดำสู งกว่ำทอง

94
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ค. แดงสู งกว่ำขำว ง. เขียวกับทองสู งเท่ำกัน


23. พัทลุงอยูเ่ หนือกรุ งเทพฯ กรุ งเทพฯอยูเ่ หนื อเพชรบุรี ดังนั้น
ก. เพชรบุรี อยูเ่ หนือ พัทลุง ข. พัทลุง อยูเ่ หนือ เพชรบุรี
ค. เพชรบุรี อยูร่ ะหว่ำงกรุ งเทพและพัทลุง ง. พัทลุงอยูใ่ ต้สุด
24. คน 4 คน ใช้เวลำ 10 วัน สร้ำงห้อง 1 ห้อง อยำกทรำบว่ำคน 5 คน สร้ำงห้องแบบเดียวกัน
จะไช้เวลำกี่วนั
ก. 6 วัน ข. 8 วัน ค. 12 วัน ง. 15 วัน
25. เหล้ำกับน้ ำผสมกันในอัตรำส่ วน 7 : 5 ถ้ำทำเหล้ำ 60 ลิตร จะต้องใช้เหล้ำแท้กี่ลิตร
ก. 21 ลิตร ข. 35 ลิตร ค. 42 ลิตร ง. 175 ลิตร
26. 4 ( X+3 ) + 3 ( 2X – 3 ) = 53 จงหำค่ำของ X
ก. 3 ข. 5 ค. 7 ง. 9
27. 30 % ของ 60 กับ ร้อยละ 40 ของ 25 ต่ำงกันเท่ำไร
ก. 7 ข. 8 ค. 9 ง. 10
28. บันไดพิงกับกำแพงสู ง 24 ฟุต หำกด้ำนล่ำงของบันไดห่ำงจำกผนังกำแพง 18 ฟุต จงหำว่ำบันได
ยำวเท่ำใด
ก. 26 ฟุต ข. 28 ฟุต ค. 30 ฟุต ง. 32 ฟุต
29. 150 เป็ นกี่ % ของ 500
ก. 15 % ข. 20 % ค. 30 % ง. 45 %
30. กำรเปรี ยบเทียบในข้อใดถูกต้อง
ก. 95.59 > 59.95 ข. 69.03 < 63.09 ค. 83.67 < 76.83 ง. 77.66 = 66.77

95
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

เตรียมสอบครูผู้ช่วย (วิชาภาษาอังกฤษ)
เนื้อหาการสอนภาษาอังกฤษสาหรับครูผู้ช่วย
1. หลักไวยากรณ์ (Grammar) 4. ดูรูปภาพหรือสถานการณ์ต่างๆ แล้วตอบ
คาถาม
2. บทสนทนา (Conversation) 5. อ่านสัญลักษณ์แล้วตอบคาถาม
3. คาศัพท์ (Vocabulary) 6. อ่านบทความแล้วตอบคาถาม

1. หลักไวยากรณ์ (Grammar)
**** Tense *****
Tense
Simple Continuous Perfect
Time
S + V1 (เติม -s / -es) S + is/am/are + Ving S + has/have + V3
- I eat lunch every day. - I am eating lunch. - I have eaten lunch.
Present
- He eats lunch every day. - He is eating lunch. - He has eaten lunch.
(ปัจจุบัน) - We are eating lunch.

S + V2 S + was/were + Ving S + had + V3


Past - I ate lunch. - He is eating lunch. - I had eaten lunch.
(อดีต) - We were eating lunch. - He had eaten lunch.

S + will + Vinfinitive S + will be + Ving S + will have + V3


Future - I will eat lunch. - He will be eating lunch. - I will have eaten lunch.
(อนาคต) - We will be eating lunch. - He will have eaten lunch.

Passive Voice (ประโยคที่ประธานเป็นผู้ถูกกระทา)


หลักการใช้ง่ายๆ “Vbe + V3”
Exp: 1. Steven writes a letter. >>> A letter is written by Steven.
2. He eats the cakes. >>> The cakes are eaten by him.
3. They built that house. >>> That house was built by them.

96
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

If clause
1. ZERO Condition (เหตุการณ์ที่เป็นความจริง) >>> If + present simple, present simple.
- If people eat too much, they get fat.
2. FIRST Condition (เหตุการณ์ที่เป็นเหตุเป็นผลซึง่ กันและกัน) >>> if + present simple, S + will + V1
- If it rains, I won’t go to the restaurant.
 3. SECOND Condition (เหตุการณ์ที่เป็นไปไม่ได้เลย) >>> If + past simple, S + would + V1
 - If I won the lottery, I would buy a big house.
 4. THIRD Condition (เหตุการณ์ในอดีตที่ไม่ได้เกิดขึ้นจริง) >>> If + past perfect, S + would have + V3
 - If she had studied, she would have passed the exam

Since (ตั้งแต่) & For (เป็นเวลา)


Since + point of time (จุดเริ่มต้นของเวลา) >> since Monday, since 6 o’clock, since 1992
For + period of time (ช่วงระยะเวลา) >> for 3 days, for 4 months, for 2 years, for a long time
Exp: 1. I’ve been waiting since 7 o’clock.
2. I’ve been waiting for three hours.

Comparison (การเปรียบเทียบ)
1. Positive Degree (ขั้นธรรมดา) >> as (adj.) as
2. Comparative Degree (ขั้นกว่า) >> (adj+er) than / more (adj. (3 พยางค์ขึ้นไป)) than
3. Superlative Degree (ขั้นสูงสุด) >> the (adj.+est) / the most (adj. (3 พยางค์ขึ้นไป)) .
Exp: 1. Ronaldo is as old as his girlfriend.
2. Ronaldo is older than his girlfriend.
3. Ronaldo is the oldest.

กริยาที่ตามหลัง to ต้องเป็น base form (กริยาที่ไม่เปลี่ยนรูป)


Exp: 1. I like to eat noodle.
2. He bought some flowers to give to his wife.

97
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

what
when
Can you tell me + where + รูปประโยคบอกเล่า + ?
Do you know who
why
how
Ex : Do you know what time it is?
Can you tell me how old he is?

Much & Many


1. much (ปริมาณมาก) ใช้กับนามนับไม่ได้ >> How much water….?, There is not much time.
2. many (จานวนมาก) ใช้กับนามนับได้ที่เป็นพหูพจน์ >> How many people….?, There were many workers.
แนวข้อสอบภาษาอังกฤษ

1. He is __________ in the military service.


a. an officer b. the officer
c. officer d. officers
2. I like __________books when I have enough time.
a. read b. reads
c. to read d. for read
3. I can't go with you __________ I'm busy.
a. that b. and
c. but d. because
4. They have been waiting for me __________5 o’clock.
a. during b. since
c. between d. for
5. He has been studying English __________four years.
a. for b. since
c. during d. until
6. Most people __________to read newspapers.
a. likes b. like
c. are alikes d. were alike

98
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

7. The weather is__________today than it was last night.


a. good b. better
c. nice d. best
8. Did the students __________a lot of homework last night?
a. has b. had
c. having d. have
9. He had to leave early, so he __________wait for us.
a. shall not b. couldn't
c. wasn't d. hadn't
10. The people __________excited about Toon Bodyslam news.
a. were b. is
c. was d. feels
11. A birthday present __________to Patricia by her boyfriend yesterday morning.
a. is gave b. was given
c. is given d. was giving
12. She still __________pale because she has just recovered from the operation.
a. be looked b. being looked
c. looks d. looking
13. I __________go to Pattaya next week. I’m not sure.
a. may b. has to
c. could d. would
14. Students in many countries are interested __________the American Indian.
a. of b. in
c. at d. on
15. My favorite sport is __________.
a. a swim b. swimming
c. to swim d. swim
16. The bridge__________in one year.
a. was built b. are built
c. be built d. build
17. Why did those students insist on__________everything?
a. did b. done
c. to do d. doing

99
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

18. While my mother__________, the fire alarm rang.


a. was cooking b. were cooking
c. cooks d. cooked
19. The weather __________cold and dry tomorrow.
a. are b. have
c. will be d. would be
20. Economics__________his favorite subject.
a. be b. is
c. are d. were
21. Select the correct sentence.
a. Can you tell me where the post office is?
b. Can you tell me where is the post office?
c. Can you tell me the post office is where?
d. Where the post office is you can tell me?
22. Select the correct sentence.
a. I should take to town which bus? b. Should I take which bus to town?
c. Which bus should I take to town? d. Which should I take bus to town?
23. How __________tea do you drink every day?
a. many b. lots of
c. much d. cups of
24. When the teacher came into the room, I __________.
a. talk b. am talking
c. were talking d. was talking

25. We __________ since two o'clock.


a. are waiting here b. wait here
c. has waited here d. have waited here
26. If he __________his sweater, he wouldn't have caught a cold.
a. had worn b. wear
c. wears d. wearing
27. If I had more time, I __________ him a letter.
a. have written b. would write
c. wrote d. will have written

100
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

Grammar (Error Identification)


28. The Old Man and the Sea was written for Ernest Hemingway.

a. The Old Man b. was written


c. for d. Ernest Hemingway
29. Yesterday, he told me that he will send the email after lunch, but he didn’t do it.
a. Yesterday b. will
c. after lunch d. he didn’t
30. We have been waiting for our teacher since half an hour.
a. have been waiting b. our teacher
c. since d. hour
31. Are you agree with me about this story?
a. Are b. agree
c. me d. this story
32. My uncle is handsomer than your uncle.
a. My uncle b. handsomer
c. than d. your uncle
2. บทสนทนา (Conversation)
33. A: Excuse me. What time is it?
B: ________________
a. About four minutes b. After I finished dinner
c. Two-thirty d. This is a very good time
34. A: I'll have some salad, roast beef, and mashed potatoes.
B: _______? Rare, medium, or well-done?
A: Well-done. And easy on the salt, please.
a. How much do you like b. How would you like your steak
c. How much you like to order d. How do you cook the beef
35. A: I'm not in mood to cook._______?
B: That would be great. Where would you like to go?
a. Shall we have a rest b. Let's eat out tonight, okay
c. How about you d. Whose turn is it tonight
36. A: I found this ring in the restroom.What should I do with it
B: ________________
A: That's a good idea.
a. What's it made of b. Of course, it's a diamond ring.

101
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

c. Do you know how much it costs? d. Why don't you put up a notice to find
the owner?
37. A: What are you going to do this afternoon?
B: I plan to go to the beach.
A: Are you going to make a sand castle.
B: No, I want to fly my new kite. Do you want to come with me?
A: Sure._________.
a. Let’s go b. Thank you
c. Here you are d. You’re welcome
38. A: Would you mind keeping quiet?
B: _______________.
a. I'm so sorry b. I don't understand what you say
c. Yes, I do d. Never mind
39. A: ______________?
B: Really? So they've been married for sixty year!
a. When did they get married?
b. How long have you seen this couple?
c. I see the Wilsons have just celebrated their Diamond Wedding.
d. What a pity! I couldn't go to your wedding party.
40. A: _______________?
B: I have been there several times.
a. How long have you been to Suphanburi b. How often have you been to
Suphanburi
c. How have you been d. Howfarhaveyoubeen
41. A: What would you like to eat?
B: _____________.
a. I don't like to eat here
b. I prefer Chicken with rice and spring roll, please
c. I like to eat out at the nice restaurant near the beach
d. You just eat as your husband
42. A: Can Suda speak French as well as Germany?
B: _________, she can't, and _______Supa.
a. Yes / so can't b. No / neither can
c. Yes / neither can d. No / so can't
43. A: What would you like for dinner?
B: _______________.
102
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

a. I don't like dinner b. I'd like curried shrimp


c. I think so; I'm very hungry d. I'd like to have dinner at a restaurant
44. A: Do you agree that English is difficult to learn?
B: Yes, but it isn't_____________learning Japanese.
a. as difficult as b. so difficult than
c. as much difficult as d. the same difficult as
45. A: Is this for me? Oh, thank you very much.
B: _____________.
a. Never mind b. You're welcome
c. Very good indeed d. No doubt. You're right
46. A: How was your trip to Singapore?
B: _____________.
a. I flew there b. I went there as a tourist
c. I wish I could do it again d. I lived near the station
47. Anna: Does Peter like________?
Betty: No, He likes ________.
a. swimming, cycling b. swim, cycle
c. to swimming, cycling d. swim, to cycling
48. Peter: Do you know. What is_________ river in the world?
Mark: The River Nile. It's long 6,670 kilometers.
a. wide b. the widest
c. the longest d. the longer
49. Jack: Can you lend me_________ robber, please?
Sally: I have lost_________.
a. hers, yours b. your, mine
c. her, yours d. your, his
50. I said to Mark, "Let me have a look at__________ Christmas card and I'll
show__________.
a. yours, mine b. your, me
c. yours, my d. your, mine

103
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

Dialogue 1
Kavin: Hi.Manee_____(51)______
Manee: Hi, I'm going to visit my uncle inSongkhla.
Announcement: Ladies and Gentlemen. Attention please! The Train 2637,
Hualumpong Express,bound for Hadyai will leave at 21.30 hours from platform number 3.
Thank you.
Mane: I'm sorry, Kavin. _____(52)_____. I'll see you later. There is an announcement
about your train also. Bye!
51. a. How's it like? b. How about you?
c. How do you do? d. How have you been?
52. a. Keep your time b. Someone is calling me
c. You can wait for me here d. My train is about to leave
คาศัพท์ Vocabulary
53. It's not a good idea to_________ a stranger's car. Sometimes, it's better to walk home.
a. get in b. get on
c. get off d. get into
54. Sometime my job_________ me_________ because my boss and I don't always get
along.
a. gets, out b. gets, off
c. gets, ahead d. gets, down
55. Carl was upset. But I have always_________ him for being so patient with people.
a. looked up to b. looked upon
c. kept out d. looked over
56. The ass, fox, tiger and giraffe are________.
a. pets b. sea animals
c. wild animals d. farm animals
57. Coutinholiks__________. He loves drawing and painting.
a. Art b. Thai
c. Physical Education d. Music
58. Pokba sits near_________. He is fishing.
a. tree b. river
c. park d. market
59. Chanathip likes talking with his friends. He talks about funny stories. He is_______. So his
friends love him.
a. shy b. kind

104
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

c. bored d. cheerful
60. I was exhausted after working all day.
a. feeling fine b. active
c. tired d. asleep
61. Because of the earthquake, all activities had to be________.
a. postponed b. rechecked
c. gived up d. forgiven
62. The best country music song make a listener weep.
a. smile b. think
c. sing d. cry
63. Jim's conduct was good.
a. hearing b. behavior
c. health d. speech
64. I think Harry will choose the correct answer.
a. select b. approve
c. avoid d. attract
65. Tom abandoned his car when he had the accident.
a. held on to b. left
c. took d. repaired
66. Would you mind if I turned on the TV?
a. leave b. know
c. believe d. care
67. In this book the author narrates most of the important historical events.
a. avoids b. inquires about
c. accepts d. tells about
68. This kind of weather is typicalfor this part of the country.
a. abnormal b. reasonable
c. usual d. dependable
69. When you are talking on the telephone, the operator sometimes interrupts you.
a. connects b. cuts in on
c. listens d. Overcharges
70. I was annoyed because he cut_________ while I was speaking.
a. on b. through
c. with d. in

105
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ดูรูปภาพหรือสถานการณ์ต่างๆ แล้วตอบคาถาม
71. Situation: Your teacher is carrying a lot of books. You want to help her, what should you
say?
a. May I help you? b. Are they English books?
c. What subject do you teach d. Which class do you like most?
72. Situation: You are 5 minutes late for the English class. What should you say to the
professor?
a. How is about the class? b. I’m sorry for being late.
c. Is there any homework today? d. I’ve been busy. Now I’m here.
73. Situation: Your computer doesn’t work and you need help from your friend. What will
you say?
a. Excuse me, what can I do for you? b. May I help you fix your computer?
c. Could you buy me a new computer? d. Could you please help me fix my
computer?
74. Situation: Next week, your friends are going to the sea in Trang. You have heard that
there will be
a storm. What will you suggest to them?
a. If you want to go. It’s up to you but I’m not.
b. I don’t mind if you will be there, have a good trip.
c. You’d better travel to other places or stay at home
d. You must stay here because the storm can hurt you all.
75. Situation: You see an old woman trying to take a bus.
If you want to help her, what will you say?
a. Would you like some help? b. May I go with you, please?
c. Why don’t you take a taxi? d. Could you help me, please?
อ่านสัญลักษณ์แล้วตอบคาถาม
76. The sign says, “_________.”
a. Do not park here. b. Do not push the door.
c. Do not play around this area. d. Do not plat tree in this area.
77. What does the sign mean?
a. Bike are not allowed here.
b. The lane is for the bike only.
c. You shouldn’t bike in a bike area.
d. You can bike in a motorcycle lane.

106
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

78.

According to the picture, what will happen on Wednesday?


a. It will be a sunny day. b. It will be a windy day.
c. It will be a rainy day. d. It will be a cloudy day.
Look at the picture below and answer the question (79 - 80)

Durians
10 %
Lychees Mangoes
40 %
Percentages of fruits
20 % sold in May
Oranges
20 %

79. The largest number of fruits that was sold in May is_______.
a. durians b. lychees
c. oranges d. mangoes
80. Which fruits were sold in the same number as Lychees?
a. durians b. lychees
c. oranges d. mangoes
อ่านบทความแล้วตอบคาถาม
Read the sign and answer the question (81-82)
Don’t
 Use cell phone
 Use personal computer or other electronic devices
 Talk, eat or drink

81. Where can you find the notice?


a. At the zoo b. At the park
c. At the library d. At the shopping mall
82. What activities can you do in this place?
a. play sport b. sing a song

107
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

c. read books d. make a loud noise


83.
Hi, My name is Kan. I live in England. I am twelve years old.
I study at Green Volley School. I like to play football.
I study two subjects in the morning and three in the afternoon.
Which subject does he like?
a. Geography b. History
c. Maths d. Physical Education

References:
1. อ.ดร.จิระ งอกศิลป์ และ อ.ขวัญเรือน แสบงบาล
2. ยุทธพงษ์ชัย ติวเตอร์ และติวอีสานดอทคอม
3. ศูนย์ภาษา กรมยุทธศึกษาทหารอากาศ
4. www.dailyenglish.in.th

Irregular Verb กริยาที่เปลี่ยนรูป


ช่อง 1 ช่อง 2 ช่อง 3 แปล
1 be = is, am, are was, were been เป็น อยู่ คือ
2 become became become กลายเป็น
3 begin began begun เริ่มต้น
4 bet bet bet พนัน
5 bite bit bitten (or bit) กัด
6 bleed bled bled เลือดออก
7 blow blew blown พัด เป่า ตี

108
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

8 break broke broken แตก


9 bring brought brought นามา เอามา
10 build built built สร้าง
11 burst burst burst ระเบิด
12 buy bought bought ซื้อ
13 catch caught caught จับ , ขึ้นรถ
14 choose chose chosen เลือก
15 come came come มา
16 cost cost cost มีราคา
17 cut cut cut ตัด
18 dig dug dug ขุด
19 dive dived (or dove) dived ดาน้า
20 do did done ทา
21 draw drew drawn ลาก วาด เขียน
22 drink drank drunk ดื่ม
23 drive drove driven ขับ(รถ)
24 eat ate eaten กิน
25 fall fell fallen ตก หล่น
ช่อง 1 ช่อง 2 ช่อง 3 แปล
26 feel felt felt รู้สึก
27 fight fought fought ต่อสู้
28 find found found พบ
29 fly flew flown บิน
30 forbid forbade forbidden ห้าม
31 forget forgot forgotten ลืม
32 freeze froze frozen แข็งตัว หนาว
33 get got got เอา ได้รบั
34 give gave given ให้

109
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

35 go went gone ไป
36 grind ground ground บด ลับ
37 grow grew grown เติบโต, ปลูก
38 hang (pictures) hung hung แขวน ห้อย
39 hang (people) hanged hanged แขวนคอ
40 have had had มี
41 hear heard heard ได้ยิน
42 hide hid hidden ซ่อน
43 hurt hurt hurt ทาร้าย
44 know knew known รู้
45 lay laid laid วาง ออกไข่
46 lead led led นา
47 learn learnt learnt เรียนรู้
48 leave left left ละทิ้ง, จากไป
49 lend lent lent ให้ยืม
50 lie lay lain นอน
51 light lit lit จุดไฟ
52 lose lost lost แพ้ ทาหาย
ช่อง 1 ช่อง 2 ช่อง 3 แปล
53 make made made ทา
54 meet met met พบ
55 mistake mistook mistaken ทาผิด
56 pay paid paid จ่าย
57 put put put วาง
58 quit quitted (or quit) quit เลิก
59 read read read อ่าน
60 ride rode ridden ขี่
61 ring rang rung สั่น (กระดิ่ง)

110
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

62 rise rose risen ขึ้น ลุกขึ้น


63 run ran run วิ่ง
64 say said said พูด
65 see saw seen เห็น
66 seek sought sought ค้นหา
67 sell sold sold ขาย
68 set set set จัด
69 shake shook shaken เขย่า สั่น
70 shine shone shone ส่องแสง
71 shrink shrank shrunk หดลง สั้นลง
72 sing sang sung ร้องเพลง
73 sink sank sunk จม ถอยลง
74 sit sat sat นั้ง
75 slide slid slid สื่นไถล, เลื่อนไป
76 sleep slept slept นอนหลับ
77 speak spoke spoken พูด
78 spin spun spun ม้วน กรอ ปั่นฝ้าย
79 split split split แตก, แยก
ช่อง 1 ช่อง 2 ช่อง 3 แปล
80 spring sprang sprung โดดอย่างเร็ว, เด้ง
81 sting stung stung ต่อย, แทง
82 stink stank stunk ส่งกลิ่นเหม็น
83 strike struck struck ตี, ต่อย? กระทบ
84 string strung strung ผูกเชือก ขึงสาย
85 swear swore sworn สาบาน ปฏิญาณ
86 swell swelled swollen โตขึ้น หนาขึ้น
87 swim swam swum ว่ายน้า
88 swing swung swung แกว่ง, เหวี่ยง

111
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

89 take took taken เอา พาไป


90 teach taught taught สอน
91 tear tore torn ฉีก ขาด
92 tell told told บอก
93 think thought thought คิด
94 throw threw thrown เหวี่ยง ขว้าง
95 wake woke waken ตื่น, ปลุก
96 wear wore worn สวม, ใส่
97 weave wove woven ทอผ้า, สาน
98 weep wept wept ร้องไห้
99 win won won ชนะ
100 write wrote written เขียน

112
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ความหมายของคุณธรรม จริยธรรมและอุดมการณ์ ของการเป็ นครู

คุณธรรม ตรงกับภาษาอังกฤษ ว่า Virtue พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2543

คุณธรรม หมายถึง สภาพคุณงามความดี เป็ นสภาพคุณงามความดีทางความประพฤติและจิตใจ ซึ่ง


สามารถแยกออกเป็ น 2 ความหมาย คือ 1) ความประพฤติดีงาม เพื่อประโยชน์สุขแก่ตนและสังคม

สรุป คือ สภาพคุณงามความดี >> เป็ นธรรมฝ่ ายดีทอี่ ยู่ในจิตใจของบุคคล (นามธรรม)

จริยธรรม หมายถึง ธรรมทีเ่ ป็ นข้ อประพฤติปฏิบัติ

สรุป ธรรมที่เป็ นข้ อประพฤติปฏิบัติ คือ เป็ นการแสดงออกของคุณธรรมให้ ประจักษ์


(รูปธรรม)
คุณธรรมทีค่ รู ควรนาไปใช้
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงพระราชทานหลักคุณธรรมสาหรับคนไทยในพระราชพิธี
บวงสรวงสมเด็จพระบูรพมหากษัตริ ยาธิราชเจ้า ณ ท้องสนามหลวง วันจันทร์ที่ 5 เมษายน พ.ศ. 2525
ทั้งนี้เพื่อยึดถือปฏิบตั ิมีอยู่ 4 ประการ คือ

1.การรักษาความสั จ ความจริงใจต่ อตัวเอง ที่จะประพฤติปฏิบตั แต่สิ่งที่เป็ นประโยชน์และเป็ น


ธรรม
2.การรู้ จักข่ มใจตนเอง ฝึ กใจตนเอง ให้ประพฤติปฏิบตั ิอยูใ่ นความสัจ ความดีน้ นั
3. การอดทน อดกลั้น และอดออม ที่จะไม่ประพฤติล่วงความสัจ สุ จริ ต ไม่วา่ จะด้วยเหตุประการ
ใด
4. การรู้ จักละวางความชั่ ว ความสุ จริต และรู ้จกั สละประโยชน์ส่วนน้อยของตนเพื่อประโยชน์
ส่ วนใหญ่ของบ้านเมืองคุณธรรมทั้ง 4 ประการนี้ จะช่วยให้ประเทศชาติบงั เกิดความสุ ข ร่ มเย็น โดยเฉพาะ
ผูท้ ี่เป็ นครู จาเป็ นต้องยึดถือปฏิบตั ิเพื่อประโยชน์ของตนเองและผูอ้ ื่ น

113
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

พรหมวิหาร 4 เป็ นธรรมทีค่ า้ จุนโลก ครู จะต้ องมีธรรมประจาใจอันประเสริฐนีเ้ พื่อเป็ นหลัก


ประพฤติปฏิบัติตนทีด่ งี าม (หลักธรรมประจาใจของครู สอดคล้องกับจรรยาบรรณวิชาชีพครู
1. เมตตา คือ ความรักใคร่ ปรารถนาดีอยากให้เขามีความสุ ข มีจิตใจที่ดีงาม ผูท้ ี่เป็ นครู อาจารย์
จะต้องมีเมตตาเป็ นที่ต้ งั (นามธรรม)
2.กรุ ณา คือ ความสงสาร เอ็นดูศิษย์ พึงช่วยเหลือให้พ้นจากความทุกข์ และความไม่รู้(รู ปธรรม)
3.มุทติ า คือ ความชื่ นชมยินดีเมื่อศิษย์ได้ ดี และยกย่องเชิดชูให้ปรากฏ อันเป็ นการให้กาลังใจ
และช่วยให้เกิดความภูมิใจในตนเอง
4. อุเบกขา คือ การวางตัววางใจเป็ นกลาง อันจะให้ดารงอยูใ่ นธรรมตามที่พิจารณาเห็นด้วยปัญญา
มีจิตเรี ยบตรงเพียงธรรมดุจตราชัง่ ไม่เอนเดียงด้วยรักหรื อชัง พร้อมที่จะวินิจฉัยและปฏิบตั ิไปตามธรรม
พร้อมที่จะให้ความช่วยเหลือเกื้อกูลเมื่อผูอ้ ื่นร้อนเป็ นทุกข์

อิทธิบาท 4 เป็ นหลักธรรมทีท่ าให้ ทางานประสพความสาเร็จ ประกอบด้ วย


ฉันทะ คือ ความพึงพอใจ ความต้องการที่จะทา ใฝ่ ใจรักจะทาสิ่ งนั้นอยูเ่ สมอ และปรารถนาทา
ให้ได้ผลดียงิ่ ๆ ขึ้นไป
วิริยะ คือ ความเพียร ขยันหมัน่ เพียรประกอบสิ่ งนั้นๆ ด้วยความพยายามเข้มแข็งอดทน
จิตตะ คือ ความคิดตั้งจิตรับรู้ ในสิ่ งทีท่ าและทาสิ่ งนั้นด้ วยความคิด เอาจิตฝักใฝ่ ไม่ปล่อยใจให้
ฟุ้งซ่านจากสิ่ งที่ตอ้ งรับผิดชอบ
วิมังสา คือ ความไตร่ ตรอง หมัน่ ใช้ปัญญาพิจารณาใคร่ ครวญตรวจตราหาเหตุผล และมีการ
วางแผน ปรับปรุ งงานอยูเ่ สมอ
สั งคหวัตถุ 4 เป็ นหลักธรรมทีใ่ ห้ แนวคิดเกีย่ วกับการยึดเหนี่ยวจิตใจบุคคล และการประสานความ
สามัคคีในกลุ่มคน ประกอบด้ วย

ทาน หมายถึง การให้ ครู อาจารย์จะต้องให้คาแนะนาสั่งสอน ให้ความรู ้และความเข้าใจในเรื่ อง


ต่างๆ
ปิ ยวาจา หมายถึง พูดจาด้วยน้ าใจหวังดี มุง่ ให้เป็ นประโยชน์และเกิดผลดี ทาให้เกิดความเชื่อถือ
และเคารพนับถือ
อัตถจริยา หมายถึง การประพฤติอนั เป็ นประโยชน์ การขวนขวายช่วยเหลือกิจการ
สาธารณประโยชน์ ตลอดจนช่วยแก้ไขปรับปรุ งส่ งเสริ มในทางจริ ยธรรมแก่ผอู ้ ื่น
สมานัตตตา หมายถึง การทาตนให้เสมอต้นเสมอปลาย ตลอดจนการวางตัวให้เหมาะแก่ฐานะ
ภาวะ บุคคล เหตุการณ์และสิ่ งแวดล้อม
114
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

กัลยาณมิตรธรรม 7 เป็ นธรรมมะสาหรับผู้ประกอบวิชาชีพครู มีนักวิชาการบาง


ท่ านใช้ ครุฐานิยม หรื อคุรุธรรมนิยม ได้ แก่
1. ปิ โย หมายถึง น่ารัก คือ การทาตัวเป็ นที่รักแก่ศิษย์และบุคคลทัว่ ไป การที่ครู จะเป็ นที่รักแก่ศิษย์
ต้องวางตนให้เข้าถึงจิตใจ สร้างความรู ้สึกเป็ นกันเองชวนใจผูเ้ รี ยนให้อยากเข้าไปปรึ กษา ไต่ถาม
2. ครุ หมายถึง การเป็ นบุคคลที่น่าเคารพ คือ มีความประพฤติสมควรแก่ฐานะทาให้เกิดความรู ้สึก
อบอุ่นใจ มีความหนักแน่นมัน่ คงในด้านจิตใจ เป็ นที่พ่ งึ แก่ผเู ้ รี ยนให้รู้สึกปลอดภัย และมีคุณสมบัติในการ
พัฒนาผูเ้ รี ยน
3. ภาวนีโย คือ การเป็ นผูน้ ่าเจริ ญใจ คือ มีความรู ้จริ ง มีภูมิปัญญาแท้จริ งได้รับการยกย่อง เป็ นผูท้ ี่มี
ความประพฤติดีงามควรแก่การเคารพ เป็ นผูท้ ี่ฝึกฝนปรับปรุ งตนเองอยูเ่ สมอ คือ มีบุคลิกภาพดี แต่งกาย
เรี ยบร้อย กิริยาท่าทางสง่าผ่าเผย วาจาอ่อนหวาน มีภูมิความรู ้จริ งและมีระเบียบวินยั การที่ครู จะอบรมสั่ง
สอนศิษย์ให้เป็ นผูม้ ีความประพฤติดีจะต้องวางตน และฝึ กตนให้เป็ นผูม้ ีความประพฤติที่ดีดว้ ย ให้เป็ นที่ยก
ย่องเป็ นแบบอย่าง ให้ผเู ้ รี ยนระลึกถึง เกิดความซาบซึ้ ง มัน่ ใจและภาคภูมิใจ
4. วัตตา คือ เป็ นผูท้ ี่มีวาทศิลป์ รู ้จกั พูด รู ้จกั ชี้แจงและอธิ บายให้เข้าใจ รู ้วา่ เมื่อไรควรพูดอะไร พูด
อย่างไร ทั้งคอยให้คาแนะนาว่ากล่าวตักเตือนและให้คาปรึ กษาที่ดี เพื่อให้ศิษย์มีความรู ้ความสามารรถ เป็ น
คนดี คือ ใช้ความรู ้ความสามารถไปในทางสุ จริ ต เป็ นประโยชน์ต่อตนเองและผูอ้ ื่น สามารถนาไปปฏิบตั ิดว้ ย
ตนเองได้
5. วจนักขโม คือ เป็ นผูท้ ี่มีความหนักแน่น อดทนต่อถ้อยคาในการ วิพากษณ์วจิ ารณ์อดทนต่อ
กิริยาวาจาอันก้าวร้าวรุ นแรงของผูอ้ ื่นได้ เป็ นผูฟ้ ังที่ดีมีความสารวม สามารถยับยั้งชัง่ ใจควบคุมอารมณ์ไม่
แสดงออกมีจิตใจที่เข้มแข็ง เพราะหน้าที่ของครู คือ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผูเ้ รี ยนในการเรี ยนรู ้ให้มี
การพัฒนาตนต่อการเรี ยนรู ้ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่สังคมต้องการ ครู จะต้องไม่เบื่อหน่ายหรื อขุ่น
เคือง มีความพร้อมให้ความกระจ่างต่อการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนในเรื่ องต่าง ๆ ที่ยงั เคลือบแคลงสงสัยไม่เข้าใจ
อย่างเหมาะสม ครู จะต้องระลึกเสมอว่า ผูเ้ รี ยนมีความแตกต่างด้านศักยภาพ ความสามารถและสติปัญญาใน
การเรี ยนรู ้
6.คัมภีรัญจะ กะถัง กัตตา คือ สามารถขยายข้อความที่ยากให้ง่ายแก่การเข้าใจ เพราะเนื้ อหาสาระใน
การเรี ยนรู ้ที่ครู นามาสอน ถ้าเป็ นเรื่ องที่ผเู ้ รี ยนไม่เคยเรี ยนมาก่อน ครู จะต้องมีเทคนิคการสอนหรื อกลวิธีที่จะ
ทาให้ผเู ้ รี ยนเข้าใจเรื่ องยาก ๆได้ง่าย ด้วยวิธีการสอนอย่างหลากหลาย
7. โน จัฎฐาเน นิโยชะเย คือ รู ้จกั และแนะนาผูเ้ รี ยนไปในทางที่ถูกที่ควรไม่ชกั นาไปในทางชัว่ โดย
ไม่อธิ บายชักชวนหรื อชี้แนะในทางที่เสื่ อมเสี ยไม่สมควร

ธรรมโลกบาล 2 อันเป็ นเครื่ องยึดเหนี่ยวประจาใจ คือ

115
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

หิริ คือ ความละอายใจต่ อการทาชั่ว ความละอายแก่ใจไม่คิดทาในสิ่ งที่ไม่ดีงาม


โอตตัปปะ คือ ความเกรงกลัวต่ อการทาความชั่วและผลของการกระทา ไม่ทาสิ่ งที่ไม่ดีงามทั้งต่อ
หน้าและลับหลัง ทั้งที่คนเห็นและคนไม่เห็น
>>>>หิริโอตตัปปะ คือ (ความละอาย เกรงกลัวต่ อบาป )<<<<<<<

สัปปุริสธรรม 7 (ธรรมของคนดี ธรรมทีท่ าให้ เป็ นสัตบุรุษ >> บุคคลที่น่านับถือ ) >>


สอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง >> มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน
1.ธัมมัญญุตา เป็ นผูร้ ู ้จกั เหตุ
2.อัตถัญญุตา เป็ นผูร้ ู ้จกั ผล
3.อัตตัญญุตา เป็ นผูร้ ู ้จกั ตน
4.มัตตัญญุตา เป็ นผูร้ ู ้จกั ประมาณ
5.กาลัญญุตา เป็ นผูร้ ู ้จกั กาล
6.ปริ สัญญุตา เป็ นผูร้ ู ้จกั บริ ษทั
7.ปุคคลัญญุตา เป็ นผูร้ ู ้จกั บุคคล

ทิศ 6 หรื อมักเรียก ทิศทั้ง 6 หมายถึง บุคคล 6 ส่ วน ทีเ่ กีย่ วข้ องกับตัวเราในสั งคม และการดาเนินชีวติ ได้แก่
1. ปุรัตถิมทิส หมายถึง ทิศเบื้องหน้า คือ บิดามารดา ปู่ ย่า ตายาย และผูม้ ีอุปการะอื่นๆที่เลี้ยงดูเรามา
ในเบื้องหน้า
2. ทักขิณทิส หมายถึง ทิศเบื้องขวา คือ ครู บาอาจารย์ที่พร่ าสอนวิชาในเบื้องขวา
3. ปัจฉิมทิส หมายถึง ทิศเบื้องหลัง คือ บุตร ผูเ้ ป็ นทาญาติ ภรรยา และสามี ผูเ้ ป็ นคู่ชีวติ ที่คอยให้
กาลังใจในเบื้องขวา
4. อุตตรทิส หมายถึง ทิศเบื้องซ้าย คือ มิตรสหายที่คอยช่วยเหลือครั้นเมื่อตกทุกข์ได้ยากในเบื้อง
ซ้าย
5. อุปริมทิส หมายถึง ทิศเบื้อล่าง คือ บริ วารหรื อผูร้ ับใช้ที่คอยปรนนิบตั ิในเบื้องล่าง
6. เหฏฐิมทิส หมายถึง ทิศเบื้องบน คือ สามเณร ภิกษุ ภิกษุณีผมู ้ ีศีลอันสู งกว่าที่คอยพร่ าสอนธรรม
ในเบื้องบ

116
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ความรู้เบื้องต้ นเกีย่ วกับการพัฒนาหลักสู ตร


หลักสู ตร ถือเป็ น หัวใจของการจัดการศึกษา เพราะเป็ นเครื่ องมือสาคัญในการกาหนดแนวทางการ
จัดการศึ กษา เพื่อที่ จะพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีทกั ษะพื้นฐานในการดารงชี วิต สามารถพัฒนาคุ ณภาพชี วิตของ
ตนเองและสังคมได้ การจัดการศึ กษาที่ ดีจึงควรมี ความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพชี วิตและสังคมของ
ผูเ้ รี ยน หลักสู ตรจึงจาเป็ นต้องปรับปรุ งหรื อพัฒนาให้มีความเหมาะสม ทันต่อการเปลี่ ยนแปลงของสภาพ
เศรษฐกิจและสังคมอยูเ่ สมอ
วิชยั วงษ์ใหญ่ (2554: 95) ได้กล่าวถึงความหมายของหลักสู ตรไว้วา่ หลักสู ตร (Curriculum) มีราก
ศัพท์จากภาษา ลาตินว่า “race - course” หมายถึง เส้ นทางทีใ่ ช้ วงิ่ แข่ งขัน เนื่องมาจากเป้ าหมายของหลักสู ตร
ที่มุ่งหวังให้ผเู ้ รี ยนสามารถเจริ ญเติบโตเป็ นผูใ้ หญ่ที่มีคุณภาพและประสบความสาเร็ จในการดารงชีวติ อยูใ่ น
สังคมแห่งอนาคต และในปั จจุบนั ความหมายของหลักสู ตรหมายถึง มวลประสบการณ์ทางการเรี ยนรู ้ที่
กาหนดไว้ในรายวิชา กลุ่มวิชา เนื้อหาสาระ รวมทั้งกิจกรรมต่างๆ ที่ได้ดาเนิ นการจัดการเรี ยนรู ้ให้กบั ผูเ้ รี ยน
อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
ทาบา (บิดาหลักสู ตร (Taba 1962: 10) กล่าวว่า หลักสู ตร
หมายถึ งเอกสารที่จดั ทาขึ้น เพื่อระบุเป้ าหมายและวัตถุ ประสงค์การเรี ยนรู ้ เนื้ อหาสาระ กิ จกรรม
หรื อประสบการณ์ เรี ย นรู ้ และการประเมิ นผลการเรี ย นรู ้ การพัฒนาหลักสู ตรเป็ นการเปลี่ ย นแปลงและ
ปรับปรุ งหลักสู ตรอันเดิมให้ได้ผลดียงิ่ ขึ้นในด้านการวางจุดมุ่งหมาย การจัดเนื้อหาการเรี ยนการสอน การวัด
และประเมินผล เพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายใหม่ที่วางไว้
โอลิวา ได้สรุ ปความหมายของหลักสู ตรไว้วา่ หลักสู ตร คือ แผนงานหรื อโครงการในการจัด
ประสบการณ์ท้ งั หมดให้แก่ผเู ้ รี ยน โดยแผนงานต่างๆ จะระบุเป็ นลายลักษณ์อกั ษร เพื่อเป็ นแนวทางในการ
จัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ที่ระบุไว้ มีขอบเขตกว้างขวาง หลากหลาย ดังนั้น หลักสู ตรเป็ นได้ท้ งั หน่วยการ
เรี ยน รายวิชา หรื อ หัวข้อย่อยในรายวิชา ทั้งนี้แผนงานหรื อโครงการดังกล่าว อาจจัดขึ้นได้ท้ งั ในและนอก
ชั้นเรี ยน ภายใต้การบริ หารและดาเนินงานของสถานศึกษา
จากการศึกษา นิยาม “ หลักสู ตร ” สรุ ปได้วา่ “หลักสู ตร (Curriculum) ” หมายถึง ศาสตร์ที่เรี ยนรู ้
เพื่อนาไปกาหนดวิถีทางที่นาไปสู่ การจัดประสบการณ์ให้ผเู ้ รี ยนเพื่อการเรี ยนรู ้ ซึ่ งจัดกลุ่มได้เป็ น 5 กลุ่มดังนี้
- หลักสู ตรเป็ นผลผลิตในรู ปแบบ เอกสาร สื่ ออิเล็คทรอนิกส์ หรื อมัลติมีเดียเป็ นต้น
- หลักสู ตรเป็ นโปรแกรมการศึกษา โดยปกติเขียนในรู ปแบบหลักสู ตรรายวิชา การจัดลาดับของ
มาตรฐานในการเรี ยนรู ้ตามหลักสู ตร
- หลักสู ตรเป็ นความตั้งใจเพื่อการเรี ยนรู ้ จะบอกจุดหมาย เนื้อหาสาระ มโนทัศน์ หลักการทัว่ ไป
และผลการเรี ยนรู ้
- หลักสู ตรเป็ นประสบการณ์ของผูเ้ รี ยน มีกิจกรรม ทั้งทีมีการวางแผนและไม่ได้วางแผนไว้

117
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

- หลักสู ตรแฝง ไม่ได้เป็ นหลักสู ตรโดยตรง แต่จะเป็ นสิ่ งใดหรื ออะไรก็ตาม ที่ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้ที่
ไม่ได้วางแผนไว้ หรื อถึงแม้จะไม่ได้เป็ นความคาดหวังไว้ แต่เป็ นไปได้

สรุ ป หลักสู ตร คือ ประมวลประสบการณ์ ที่ครู ได้สร้างสรรค์ โดยจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอน


ให้กบั ผูเ้ รี ยนเพื่อให้ผเู ้ รี ยนพัฒนาตนเองให้สามารถการงชีวติ อยูไ่ ด้ในสังคมอย่างมีความสุ ขและงอก
งาม

2.ความสาคัญของหลักสู ตร
(หลักสู ตรเปรียบเสมือนเข็มทิศใช้ ในการจัดการศึกษา
สั นต์ ธรรมบารุ ง (2527 : 152) สรุ ปความสาคัญของหลักสู ตรไว้ 9 ประการ คือ
1. หลักสู ตร เป็ นแผนปฏิบตั ิงานหรื อเครื่ องชี้แนวทางปฏิบตั ิงานของครู เพราะหลักสู ตรจะกาหนด
จุดมุ่งหมาย เนื้ อหาสาระ การจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนและการประเมินผลไว้เป็ นแนวทาง
2. หลักสู ตรเป็ นข้อกาหนดแผนการเรี ยนการสอน อันเป็ นส่ วนรวมของประเทศ เพื่อนาไปสู่ ความมุ่ง
หมายตามแผนการศึกษาชาติ
3. หลักสู ตรเป็ นเอกสารของทางราชการ เป็ นบัญญัติของรัฐบาล หรื อเป็ นธรรมนูญในการจักการศึกษา
เพื่อให้บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาปฏิบตั ิตาม
4. หลักสู ตรเป็ นเกณฑ์มาตรฐานการศึกษา เพื่อควบคุมการเรี ยนการสอนในสถานศึกษาระดับต่างๆ และ
ยังเป็ นเกณฑ์มาตรฐานอย่างหนึ่งในการจัดสรรงบประมาณ บุคลากร อาคาร สถานที่ วัสดุอุปกรณ์ ฯลฯ ของ
การศึกษาของรัฐแก่สถานศึกษาอีกด้วย
5. หลักสู ตรเป็ นแผนการดาเนินงานของผูบ้ ริ หารการศึกษา ที่จะอานวยความสะดวกและควบคุม ดูแล
ติดตามให้เป็ นไปตามนโยบายการจัดการศึกษาของรัฐบาลด้วย
6. หลักสู ตรจะกาหนดแนวทางในการส่ งเสริ มความเจริ ญงอกงามและพัฒนาการของเด็กตามจุดมุ่งหมาย
ของการศึกษา
7. หลักสู ตรจะกาหนดและลักษณะรู ปร่ างของสังคมในอนาคตได้วา่ จะเป็ นไปในรู ปใด
8. หลักสู ตรจะกาหนดแนวทางให้ความรู ้ ทักษะ ความสามารถ ความประพฤติที่จะเป็ นประโยชน์ต่อ
สังคม อันเป็ นการพัฒนากาลังซึ่ งจะนาไปสู่ การพัฒนาเศรษฐกิจแบะสังคมแห่งชาติที่ได้ผล
9. หลักสู ตรจะเป็ นสิ่ งที่บ่งชี้ถึงความเจริ ญของประเทศ เพราะการศึกษาเป็ นเครื่ องมือในการพัฒนาคน
ประเทศใดจัดการศึกษาโดยมีหลักสู ตรที่เหมาะสม ทันสมัย มีประสิ ทธิ ภาพทันต่อเหตุการณ์และการ
เปลี่ยนแปลงย่อมได้กาลังที่มีประสิ ทธิ ภาพสู ง

118
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

จากทีก่ ล่ าวมาแล้ วสรุ ปได้ ว่า หลักสู ตรเป็ นสิ่ งสาคัญในการจัดการศึกษา 3 ระดับ คือ

1. ระดับประเทศ เป็ นการชี้ให้เห็นถึงแนวทางการจัดการศึกษาโดยภาพและเป็ นตัวบ่งชี้ให้เห็น


แนวโน้มสังคมกับการจัดการศึกษาในอนาคต
2.ระดับสถานศึกษา ซึ่ งนับได้วา่ หลักสู ตรเป็ นหัวใจและจุดเด่นของการจัดการเรี ยนการสอนใน
สถานศึกษานั้น ๆ
3.ระดับห้ องเรียน ซึ่ งมีความสาคัญต่อการนาไปสู่ การปฏิบตั ิ เพื่อจัดการเรี ยนรู ้ที่เกิดกับผูเ้ รี ยน
โดยตรง โดยมีรายละเอียดและเอกสารประกอบที่กาหนดแนวทางว่าจะสอนใคร เรื่ องใด เพื่ออะไร

องค์ ประกอบของหลักสู ตร
องค์ประกอบของหลักสู ตร (Curriculum Component)ทาให้ผใู ้ ช้หลักสู ตรทราบแนวทางในการนา
หลักสู ตรไปใช้ได้อย่างสอดคล้องและเหมาะสมกับเจตนารมณ์ของหลักสู ตร พอสรุ ปจากแนวคิดเกี่ยวกับ
องค์ประกอบของหลักสู ตร ดังนี้
1. จุดมุ่งหมายของหลักสู ตร (Curriculum Aims) หมายถึง ความตั้งใจหรื อความคาดหวังที่ตอ้ งการ
ให้เกิดขึ้นในตัวผูท้ ี่จะผ่านหลักสู ตร จุดมุ่งหมายของหลักสู ตรมีความสาคัญเพราะเป็ นตัวกาหนดทิศทางและ
ขอบเขตในการให้การศึกษาแก่ผเู ้ รี ยน
2. เนื้อหา (Content) หมายถึง เนื้อหาประสบการณ์การเรี ยนรู ้ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะช่วยให้ผเู ้ รี ยนพัฒนา
ไปสู่ จุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้ โดยดาเนินการตั้งแต่การเลือกเนื้อหาและประสบการณ์ การเรี ยงลาดับเนื้ อหา
สาระ พร้อมทั้งการกาหนดเวลาเรี ยนที่เหมะสม
3. การนาหลักสู ตรไปใช้ (Curriculum Implementation) หมายถึง การนาหลักสู ตรไปสู่ การปฏิวตั ิ
ซึ่ งประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ (การจัดทาวัสดุหลักสู ตร ได้แก่ คู่มือครู เอกสารหลักสู ตร แผนการสอน และ
แบบเรี ยน ฯลฯ), การจัดเตรี ยมความพร้อมด้านบุคลากรและสิ่ งแวดล้อม (การจัดโต๊ะเก้าอี้ ห้องเรี ยน วัสดุ
อุปกรณ์ในการเรี ยน จานวนครู และสิ่ งอานวยความสะดวกต่างๆ), การดาเนินการสอน
4. การประเมินผลหลักสู ตร (Evaluation)หมายถึง การหาคาตอบว่า หลักสู ตรสัมฤทธิ ผลตามที่
กาหนดไว้ในจุดมุ่งหมายหรื อไม่มากน้อยเพียงใดและอะไรเป็ นสาเหตุ
ลักษณะของหลักสู ตรทีด่ ี
1. ตรงตามความมุ่งหมายของการศึกษา
2. ตรงตามลักษณะของพัฒนาการของเด็กในวัยต่างๆ
3. ตรงตามลักษณะวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และเอกลักษณ์ของชาติ
4. มีเนื้อหาสาระของเรื่ องสอนบริ บูรณ์เพียงพอที่จะช่วยให้นกั เรี ยนคิดเป็ น ทาเป็ นและมีพฒั นาการ
ในทุกด้าน
5. สอดคล้องกับชีวติ ประจาวันของผูเ้ รี ยน

119
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

6. หลักสู ตรที่ดี ควรสาเร็ จขึ้นด้วยความร่ วมมือของทุกฝ่ าย


7. หลักสู ตรที่ดี จะต้องยืดหยุน่ ได้ตามความเหมาะสมกับสภาพการณ์ต่าง ๆ
8. หลักสู ตรที่ดีจะต้องให้นกั เรี ยนได้เรี ยนรู ้ต่อเนื่ องกันไป และเรี ยงจากความยากง่ายไม่ให้ขาดตอน
จากกัน
9. หลักสู ตรที่ดีจะต้องเป็ นประสบการณ์ที่เกี่ยวกับชีวติ ประจาวันของเด็ก
10. ต้องเพิ่มพูนและส่ งเสริ มทักษะเบื้องต้นที่จาเป็ นของเด็ก
11. หลักสู ตรที่ดียอ่ มส่ งเสริ มให้เด็กเกิดความรู ้ ทักษะ เจตคติ ความคิดริ เริ่ ม มีความคิดสร้างสรรค์
ในการดาเนินชีวิต
12. หลักสู ตรที่ดีจะต้องส่ งเสริ มให้เด็กทางานอิสระและทางานร่ วมกันเป็ นหมู่คณะ
13. หลักสู ตรที่ดียอ่ มบอกแนวทาง วิธีสอน และอุปกรณ์สื่อการสอนประกอบเนื้อหาสาระที่จะสอน
ไว้อย่างเหมาะสม
14. หลักสู ตรที่ดียอ่ มมีการประเมินผลอยูต่ ลอดเวลา
15. หลักสู ตรที่ดีจะต้องจัดประสบการณ์ให้เด็กเกิดความรู ้ ความเข้าใจ และมีโอกาสแก้ปัญหาต่าง ๆ
16. หลักสู ตรที่ดี ต้องส่ งเสริ มให้เด็กรู ้จกั แก้ปัญหา
17. หลักสู ตรที่ดี ต้องจัดประสบการณ์ที่มีความหมายต่อชี วติ ของเด็ก
18. หลักสู ตรที่ดีตอ้ งจัดประสบการณ์และกิจกรรมหลายๆ อย่าง
19. หลักสู ตรที่ดีจะต้องวางกฎเกณฑ์ไว้อย่างเหมาะสมแก่การนาไปปฏิบตั ิและสะดวกแก่การวัดและ

>>>สรุปหลักสู ตรที่ดี คือ หลักสู ตรควรมีความคล่องตัว และสามารถปรับปรุง


และยืดหยุ่นให้ เหมาะสมกับสภาพการณ์ ต่างๆที่เปลีย่ นแปลงได้ เป็ นอย่ างดี
หลักสู ตร หมายถึง มวลประสบการณ์ ความรู้ ต่างๆที่จัดให้ ผ้ ูเรี ยนทั้งในและนอกห้ องเรี ยน
ซึ่ ง มี ล ัก ษณะเป็ นกิ จกรรม โครงการหรื อแผน ซึ่ ง ประกอบด้วย ความมุ่ ง หมายของการสอน เพื่ อเป็ น
แนวทางในการจัดการเรี ยนการสอนให้ผูเ้ รี ยนได้พฒั นาและมีคุณลักษณะตามความมุ่งหมายที่กาหนดไว้
หลักสู ตรเป็ นสิ่ งสาคัญในการจัดการศึกษา

ประเภทของหลักสู ตร
การแบ่งประเภทของหลักสู ตรเป็ นการแบ่งตามแนวคิด ปรัชญา และทฤษฎีของ การศึกษา ประเภท
ของหลักสู ตรออกได้เป็ น 9 แบบ ดังนี้
1. หลักสู ตรรายวิชา (Subjective Curriculum) เป็ นรู ปแบบหลักสู ตรดั้งเดิ ม โดยเน้น เนื้ อหาสาระ
ซึ่ งลักษณะหลักสู ตรแบบนี้ก็เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้เข้าใจเนื้อหาสาระ

120
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

2. หลักสู ตรสหพันธ์ (Correlated Curriculum) หลักสู ตรที่นาเอาเนื้ อหาของวิชาอื่นที่มีความสัมพัน์


กันมารวมเข้าด้วยกัน แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของ 2 วิชา โดยไม่ทาลาย ขอบเขตวิชาเดิม คือ ไม่ได้มี
การผสมผสานเนื้อหาเข้าด้วยกัน
3. หลักสู ตรผสมผสาน (Fused Curriculum) เป็ นการจัดหลักสู ตรที่ มุ่งเน้นรายวิชา โดยสร้ างจาก
เนื้อหาวิชาที่เคยแยกสอนให้เป็ นวิชาเดียวกัน แต่ยงั คงรักษาเนื้อหาพื้นฐานของแต่ ละวิชาไว้
4. หลักสู ตรหมวดวิชา (Board Field Curriculum) เป็ นรู ปแบบหลักสู ตรที่มีลกั ษณะ หลายหลักสู ตร
ได้แก่ หลักสู ตรสหสัมพันธ์และหลักสู ตรแบบผสมผสาน
5. หลักสู ตรวิชาแกน (Core Curriculum) เป็ นหลักสู ตรที่มีวิชาใดวิชาหนึ่ งเป็ นแกน ของวิชาอื่นๆ
โดยเน้นเนื้อหาด้านสังคมและหน้าที่ พลเมือง เพื่อการแก้ปัญหา
6. หลักสู ตรที่เน้นทักษะกระบวนการ (Process Skills Curriculum) เป็ นหลักสู ตรที่มุ่งให้เกิดทักษะ
กระบวนการ
7. หลักสู ตรที่ เน้นสมรรถฐาน (Competency or Performance base Curriculum) เป็ นหลักสู ตรที่ มี
ความสัมพันธ์โดยตรงระหว่างจุดมุ่งหมาย กิจกรรม การเรี ยนการสอน และ ความสามารถในการปฏิบตั ิของ
ผูเ้ รี ยน
8. หลักสู ตรที่ เน้นกิจกรรมและปั ญหาสังคม (Social Activities and Problem Curriculum) หลักสู ตร
แบบนี้จะแตกต่างกันไปตามแนวคิดของแต่ละกลุ่ม
9. หลักสู ตรที่ เน้นความต้องการและความสนใจของแต่ละบุ คคล (Individual Needs and Interest
Curriculum) เป็ นหลักสู ตรที่ เน้นความสนใจและความต้องการของผูเ้ รี ยน เช่น การเน้นที่ผเู ้ รี ยน การเน้นที่
ประสบการณ์

สรุ ป การกาหนดรู ปแบบของหลักสู ตรเป็ นการพิจารณาเลื อกและจัดเนื้ อหาวิชาของหลักสู ต รให้


สอดคล้ องกับความมุ่งหมายของหลักสู ตร โดยหลักสู ตรแต่ละรู ปแบบจะมีความมุ่งหมายโครงสร้างหลักสู ตร
ที่แตกต่างกันออกไป เนื่ องจากสร้ างหลักสู ตรแต่ละครั้ง ต่างยุคต่างสมัยจึงต้องคานึ งถึ งพื้นฐานที่ต่างกัน
ด้ วย ****หลักสู ตรมี 4 ระดับ ชาติ ท้องถิ่น(เขต) สถานศึกษา ชั้นเรียน

121
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

การพัฒนาหลักสู ตร
ความหมายของการพัฒนาหลักสู ตร

มีนกั การศึกษาให้ความหมายของคาว่า “ การพัฒนาหลักสู ตร ” ไว้ดงั นี้


สงัด อุทรานันท์ ได้กล่าวถึงความหมายของการพัฒนาหลักสู ตรว่า
“ การพัฒนา ” ตรงกับคาในภาษาอังกฤษว่า “Development” มีความหมายอยู่ 2 ลักษณะ คือ
• การทาให้ดีข้ ึนหรื อทาให้สมบูรณ์ข้ ึน
• การทาให้เกิดขึ้น
ด้วยเหตุน้ ี การพัฒนาหลักสู ตรจึงมีความหมายใน 2 ลักษณะ คือ การทาหลักสู ตรที่มีอยูแ่ ล้วให้ดีข้ ึน
หรื อสมบูรณ์ข้ ึน กับการสร้างหลักสู ตรขึ้นมาใหม่ โดยไม่มีหลักสู ตรเดิมเป็ นพื้นฐานเลย

ทาบา (Taba) ได้กล่าวไว้วา่ “ การพัฒนาหลักสู ตร หมายถึง การเปลี่ยนแปลงปรับ ปรุ งหลักสู ตรอัน


เดิ ม ให้ ไ ด้ผ ลดี ยิ่ ง ขึ้ น ทั้ง ในด้า นการวางจุ ด มุ่ ง หมาย การจัด เนื้ อ หาวิ ช า การเรี ย นการสอน การวัด ผล
ประเมิ นผล และอื่ นๆ เพื่ อให้บ รรลุ ถึ ง จุ ดมุ่ ง หมายอันใหม่ ที่ วางไว้ การเปลี่ ย นแปลงหลัก สู ตรเป็ นการ
เปลี่ยนแปลงทั้งระบบหรื อเปลี่ยนแปลงทั้งหมด ตั้งแต่จุดมุ่งหมายและวิธีการ และการเปลี่ยนแปลงหลักสู ตร
นี้ จะมีผลกระทบกระเทือนทางด้านความคิดและความรู ้สึกนึ กคิดของผูท้ ี่เกี่ยวข้องทุกฝ่ าย ส่ วนการปรับปรุ ง
หลักสู ตร หมายถึง การเปลี่ยนแปลงหลักสู ตรเพียงบางส่ วนโดยไม่เปลี่ยนแปลงแนวคิดพื้นฐาน หรื อรู ปแบบ
ของหลักสู ตร ”

กู๊ ด (Good) ได้ใ ห้ ค วามเห็ น ว่า “ การพัฒ นาหลัก สู ต รเกิ ด ได้ 2 ลัก ษณะ คื อ การปรั บ ปรุ ง และ
เปลี่ ยนแปลงหลักสู ตร การปรั บปรุ งหลักสู ตรเป็ นวิธีการพัฒนาหลักสู ตรอย่า งหนึ่ งเพื่ อให้เหมาะสมกับ
โรงเรี ยนหรื อระบบโรงเรี ยน จุดมุ่งหมายของการสอน วัสดุอุปกรณ์ วิธีสอน รวมทั้งการประเมินผล ส่ วนคา
ว่าเปลี่ ยนแปลงหลักสู ตร หมายถึ งการแก้ไขหลักสู ตรให้แตกต่างไปจากเดิ ม เป็ นการสร้ างโอกาสทางการ
เรี ยนขึ้นใหม่ ”

เซเลอร์ และอเล็ ก ซานเดอร์ (Saylor and Alexander) ให้ ค วามหมายว่ า “ การพัฒ นาหลัก สู ต ร
หมายถึง การจัดทาหลักสู ตรเดิมที่มีอยูแ่ ล้วให้ดีข้ ึน หรื อเป็ นการจัดทาหลักสู ตรใหม่โดยไม่มีหลักสู ตรเดิมอยู่
ก่อน การพัฒนาหลักสู ตร อาจหมายรวมถึงการสร้างเอกสารอื่นๆ สาหรับนักเรี ยนด้วย ”

122
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

สรุ ป ความหมายของ การพัฒนาหลักสู ตรได้ ว่า การพัฒนาหลักสู ตร (Curriculum Development)


หมายถึง การจัดทาหลักสู ตร การปรั บปรุ ง การเปลี่ยนแปลงหลักสู ตรให้ ดีขึน้ เพื่อให้ เหมาะกับความต้ องการ
ของบุคคล และสภาพสั งคม

สาเหตุทที่ าให้ มกี ารพัฒนาหลักสู ตร


การพัฒนาหลักสู ตร จาเป็ นอย่างยิ่งที่ตอ้ งพิจารณาถึงข้อมูลพื้นฐานในด้านต่างๆ เพื่อให้หลักสู ตรที่
สร้ างขึ้นมานั้น สมบูรณ์ สามารถสนองความต้องการของบุคคล และสังคม พื้นฐานด้านต่างๆ ที่นกั พัฒนา
หลักสู ตรต้องนามาพิจารณานั้นมีหลายประการ ซึ่ งมีนกั การศึกษาได้ให้ความคิดเห็นว่าพื้นฐานในการพัฒนา
หลักสู ตรด้านต่างๆ ที่ควรนามาพิจารณาใน การพัฒนาหลักสู ตร มี 5 ด้ าน ดังนี้
1. พื้นฐานทางด้านปรัชญาการศึกษา
2. พื้นฐานทางด้านจิตวิทยา
3. พื้นฐานทางด้านสั งคมและวัฒนธรรม
4. พื้นฐานทางด้านเศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง
5. พื้นฐานทางด้านวิทยาการและเทคโนโลยี

แนวคิดการพัฒนาหลักสู ตร อย่ างเป็ นระบบซึ่งมีขนึ้ ตอนสาคัญสรุปได้ ดังนี้


ขั้นที่ 1 การวิเคราะห์ขอ้ มูลพื้นฐาน เพื่อวินิจฉัยปั ญหาและความต้องการ ซึ่ งจะช่วยในการตัดสิ นใจ
ขั้นที่ 2 การกาหนดเป้ าประสงค์ จุดหมายและจุดประสงค์ หลังจากได้วิเคราะห์ขอ้ มูลพื้นฐานแล้ว
จะพิจารณาและกาหนดความมุ่งหมายของการศึกษา
ขั้นที่ 3 การเลือกและการจัดเนื้ อหา จะต้องมีความถูกต้องสอดคล้องกับจุดมุ่งหมายที่กาหนดไว้ใน
หลักสู ตร มีความสอดคล้องกับความต้องการ ความสนใจของผูเ้ รี ยน มีความยากง่ายสอดคล้องเหมาะสมกับ
วัย เนื้ อหาต้องเป็ นประโยชน์ต่อผูเ้ รี ยน และเนื้ อหานั้นเป็ นสิ่ งที่ สามารถจัดให้ผูเ้ รี ยนได้ ในแง่ ของความ
พร้อมด้านเวลา ผูส้ อน และวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ
ขั้นที่ 4 การเลือกและการจัดประสบการณ์การเรี ยนรู ้ ในการจัดกิ จกรรมต่าง ๆ ต้องสามารถทาให้
ผูเ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ได้เร็ ว รวมไปถึงยุทธวิธีการสอน การเลือกใช้สื่อการสอนให้สอดคล้องกับจุดประสงค์
การเรี ยนรู ้ และการจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรี ยนต้องเอื้อต่อการเรี ยนรู ้ และกระตุน้ ความสนใจของผูเ้ รี ยน
ขั้นที่ 5 การกาหนดอัตราเวลาเรี ยน หลักเกณฑ์ในการวัดประเมินผลการเรี ยน กาหนดเวลาเรี ยนการ
สอน โดยจัด เนื้ อ หาวิ ช าตามล าดับ ก่ อ นหลัง ให้ สั ม พัน ธ์ ก ับ จ านวนชั่ว โมงต่ อ สั ป ดาห์ ส่ ว นการวัด ผล
ประเมินผล ควรกาหนดวิธีการเกณฑ์การจบหลักสู ตร

123
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ขั้นที่ 6 การนาหลักสู ตรไปใช้ หลังจากล่ างหลักสู ตรแล้วต้องมี การตรวจสอบข้อบกพร่ องที่ ควร


ปรับปรุ งแก้ไขเพิ่มเติม
ขั้นที่ 7 การประเมินผลหลักสู ตร เมื่อใช้หลักสู ตรไปได้สักระยะหนึ่ง ควรมีการประเมินผลหลักสู ตร
ในด้านต่างๆว่ามีขอ้ บกพร่ องที่ควรแก้ไขปรับปรุ งหรื อเพิ่มเติมอะไรบ้าง
ขั้ น ที่ 8 การปรั บ ปรุ ง แก้ไ ขหลัก สู ต ร หลัง จากที่ ท ราบข้อ บกพร่ อ งของหลัก สู ต ร อาจจะต้อ งมี
การศึกษาปั ญหาเพื่อปรับปรุ งข้อบกพร่ องให้หลักสู ตรเหมาะสมยิง่ ขึ้น

ระดับการพัฒนาหลักสู ตรแบ่ ง ออกเป็ น 4 ระดับ คือ


การพัฒนาหลักสู ตรมีหลายระดับ ตั้งแต่ระดับชาติจนถึ งระดับชั้นเรี ยน ซึ่ งมีนกั ศึกษาหลายคนได้
กล่าวถึงระดับการพัฒนาหลักสู ตรไว้ดงั นี้
1. การพั ฒ นาหลั ก สู ต รระดั บ ชาติ เป็ นการจัด ท าหลัก สู ต รแบ่ ง บทในลัก ษณะกว้า ง ๆ เพื่ อ ให้
หน่วยงานระดับล่างนาไปปรับใช้ได้
2. การพั ฒ นาหลั ก สู ต รระดั บ ท้ อ งถิ่ น เป็ นการพัฒ นาหลัก สู ต รโดยเขตการศึ ก ษา น าหลัก สู ต ร
ระดับชาติมาปรับ หรื อขยายให้มีความสอดคล้องกับสภาพท้องถิ่นในเขตการศึกษานั้น
3. การพัฒนาหลักสู ตรระดับโรงเรี ยน เป็ นการพัฒนาหลักสู ตรโดยการนาหลักสู ตรระดับชาติระดับ
ท้องถิ่นมาปรับหรื อขยายให้มีความสอดคล้องกับสภาพการจัดการศึกษาของโรงเรี ยน
4. การพัฒนาหลักสู ตรระดับห้ องเรี ยน เป็ นการพัฒนาหลักสู ตรโดยการนาหลักสู ตรระดับโรงเรี ยน
มาปรับหรื อขยายให้มีความละเอียด เหมาะสมกับหลักสู ตรท้องถิ่น

124
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

การใช้ หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551


ตามคาสั่งกระทรวงศึกษาธิ การที่ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ 293/2551 เรื่ อง ให้
ใช้หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ลงวันที่ 11 กรกฎาคม 2551 กาหนดให้สถานศึกษา ในสังกัด
จั ด การเรี ยนการสอนโดยใช้ ห ลั ก สู ตรแกนกลางการศึ ก ษาขั้ นพื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช 2551 ดั ง นี้
(กระทรวงศึกษาธิการ, 2551)
1. โรงเรียนต้ นแบบการใช้ หลักสู ตรและโรงเรียนทีม่ ีความพร้ อมตามรายชื่ อทีก่ ระทรวง
ศึกษาธิการประกาศ ใช้ หลักสู ตรฯ ดังนี้
1.1 ปี การศึกษา 2552 ให้ใช้หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ในชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1-6 และชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 และ 4
1.2 ปี การศึกษา 2553 ให้ใช้หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ในชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1-6 และชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 และ 2 และชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 และ 5
1.3 ตั้งแต่ปีการศึกษา 2554 เป็ นต้นไป ให้ใช้หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ทุกชั้นเรี ยน
2. โรงเรียนทัว่ ไป ให้ ใช้ หลักสู ตรฯ ดังนี้
2.1 ปี การศึกษา 2553 ให้ใช้หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ในชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1-6 และชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 และ 4
2.2 ปี การศึกษา 2554 ให้ใช้หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ในชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1-6 และชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 และ 2 และชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 และ 5
****2.3 ตั้งแต่ ปีการศึกษา 2555 เป็ นต้ นไป ให้ ใช้ หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ทุกชั้ นเรียน

>>>ปี 2555 ได้ ใช้ หลักสู ตร 51 ในทุกชั้ นเรี ยน


ในโรงเรียนทั่วไป<<<

125
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาปี 2551


วิสัยทัศน์
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็ นกาลังของชาติให้ เป็ น
มนุ ษย์ ที่มีความสมดุลทั้งด้ านร่ างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและเป็ นพล
โลกยึดมัน่ ในการปกครองตามระบอบประชาธิ ปไตยอันมี พระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข มีความรู ้ และ
ทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่ จาเป็ นต่อการศึ กษาต่อ การประกอบอาชี พและการศึกษาตลอดชี วิต โดย
มุ่งเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่ อว่า ทุกคนสามารถเรี ยนรู ้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
หลักการ มี 6 ข้ อ
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สาคัญ ดังนี้

1. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาเพื่อความเป็ นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรี ยนรู ้


เป็ นเป้าหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู ้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพื้นฐาน
ของความเป็ นไทยควบคู่กบั ความเป็ นสากล
2. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค
และมีคุณภาพ
3. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาที่สนองการกระจายอานาจ ให้สังคมมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษา
ให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น
4. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาที่มีโครงสร้ างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรี ยนรู ้ เวลาและการจัด
การเรี ยนรู ้
5. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาที่เน้ นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
6. เป็ นหลักสู ตรการศึกษาสาหรับการศึกษาในระบบนอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุม
ทุกกลุ่มเป้ าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรี ยนรู ้ และประสบการณ์

วิธีจากันหน่ อย >> เอก + ชน + จาย + ยึด + เน้ น + ใน

126
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

จุดหมาย มี 5 ข้ อหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้ เป็ นคนดี มีปัญญา มี


ความสุ ขมีศักยภาพในการศึกษาต่ อ และประกอบอาชีพ จึงกาหนดเป็ นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับผูเ้ รี ยน เมื่อจบ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้
1. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่ านิยมทีพ่ งึ ประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวนิ ยั และปฏิบตั ิตน
ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรื อศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. มีความรู้ ความสามารถในการสื่ อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทกั ษะ
ชีวติ
3. มีสุขภาพกายและสุ ขภาพจิตทีด่ ี มีสุขนิสัย และรักการออกกาลังกาย
4. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมัน่ ในวิถีชีวติ และ
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ นประมุข
5. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์ วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุ รักษ์และพัฒนาสิ่ งแวดล้อม
มีจิตสาธารณะที่มุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่ งที่ดีงามในสังคม และอยูร่ ่ วมกันในสังคมอย่างมีความสุ ข

วิธีจากันหน่ อย >> คุณ + รู้ + จาย + สุ ข + จิต + รัก

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ในการพัฒนาผูเ้ รี ยนตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานที่กาหนด ซึ่ งจะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดสมรรถนะสาคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ดงั นี้
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน มี 5 ข้ อ
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผเู ้ รี ยนเกิดสมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการสื่ อสาร เป็ นความสามารถในการรับและส่ งสาร มีวฒั นธรรมในการใช้
ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู ้ความเข้าใจ ความรู ้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
และประสบการณ์อนั จะเป็ นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัด
และลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรื อไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง
ตลอดจนการเลือกใช้วธิ ีการสื่ อสาร ที่มีประสิ ทธิ ภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด
อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และการคิดเป็ นระบบ เพื่อนาไปสู่ การสร้างองค์ความรู ้หรื อ
สารสนเทศเพื่อการตัดสิ นใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม

127
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

3. ความสามารถในการแก้ ปัญหา เป็ นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ


ที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ้ ประยุกต์ความรู ้มาใช้
ในการป้ องกันและแก้ไขปั ญหา และมีการตัดสิ นใจที่มีประสิ ทธิ ภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น
ต่อตนเอง สังคมและสิ่ งแวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ ทกั ษะชีวติ เป็ นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน
การดาเนินชีวติ ประจาวัน การเรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง การเรี ยนรู ้อย่างต่อเนื่ อง การทางาน และการอยูร่ ่ วมกัน
ในสังคมด้วยการสร้างเสริ มความสัมพันธ์อนั ดีระหว่างบุคคล การจัดการปั ญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ
อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทนั กับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู ้จกั
หลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผูอ้ ื่น
5. ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี เป็ นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีดา้ นต่าง ๆ
และมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรี ยนรู ้ การสื่ อสาร
การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม

วิธีจากันหน่ อย >> สื่ อ + คิด + แก้ + ทัก + เทค

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มี 8 ข้ อ
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุง่ พัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพื่อให้
สามารถอยูร่ ่ วมกับผูอ้ ื่นในสังคมได้อย่างมีความสุ ข ในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่ อสั ตย์ สุจริต
3. มีวนิ ัย
4. ใฝ่ เรียนรู้ วิธีจากันหน่ อย >> ชาติ + ซื่ อ + นัย + ใฝ่ + เพียง + งาน + รัก + จิต
5. อยู่อย่ างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทางาน
7. รักความเป็ นไทย
8. มีจิตสาธารณะ
>>> นอกจากนี้ สถานศึกษาสามารถกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่มเติมให้สอดคล้องตาม
บริ บทและจุดเน้นของตนเอง

128
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

มาตรฐานการเรียนรู้ 67 มาตรฐาน
การพัฒนาผูเ้ รี ยนให้เกิดความสมดุล ต้องคานึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและพหุปัญญาหลักสู ตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกาหนดให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้ ๘ กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ ดังนี้
1. ภาษาไทย
2. คณิตศาสตร์
3. วิทยาศาสตร์
4. สั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
5. สุ ขศึกษาและพลศึกษา
6. ศิลปะ
7. การงานอาชีพและเทคโนโลยี
8. ภาษาต่ างประเทศ
ในแต่ ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้ กาหนดมาตรฐานการเรี ยนรู้ เป็ นเป้ าหมายสาคัญของการพัฒนา
คุณภาพผู้เรี ยน มาตรฐานการเรี ยนรู ้ ระบุสิ่งที่ผูเ้ รี ยนพึงรู ้ ปฏิบตั ิได้ มีคุณธรรมจริ ยธรรม และค่านิ ยมที่พึง
ประสงค์เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรี ยนรู ้ยงั เป็ นกลไกสาคัญในการขับเคลื่ อน
พัฒนาการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรี ยนรู ้ จะสะท้อนให้ทราบว่าต้องการอะไร จะสอนอย่างไร
และประเมินอย่างไร รวมทั้งเป็ นเครื่ องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบ
การประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่ งรวมถึงการทดสอบระดับเขตพื้นที่การศึกษา
และการทดสอบระดับชาติ ระบบการตรวจสอบเพื่อประกันคุณภาพดังกล่าวเป็ นสิ่ งสาคัญที่ช่วยสะท้อนภาพ
การจัดการศึกษาว่าสามารถพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณภาพตามที่มาตรฐานการเรี ยนรู ้กาหนดเพียงใด

ตัวชี้วดั มี 2 ตัวชี้วดั
ตัวชี้วดั ระบุสิ่งทีน่ ักเรี ยนพึงรู้ และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ ละระดับชั้ น
ซึ่งสะท้ อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็ นรู ปธรรม นา ไปใช้
ในการกาหนดเนื้ อหา จัดทาหน่วยการเรี ยนรู ้ จัดการเรี ยนการสอน และเป็ นเกณฑ์ สาคัญสาหรับการวัด
ประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน
๑. ตัวชี้วดั ชั้นปี เป็ นเป้ าหมายในการพัฒนาผูเ้ รี ยนแต่ละชั้นปี ในระดับการศึกษา ภาคบังคับ
(ประถมศึกษาปี ที่ 1 – มัธยมศึกษาปี ที่ 3)
๒. ตัวชี้วดั ช่ วงชั้น เป็ นเป้าหมายในการพัฒนาผูเ้ รี ยนในระดับมัธยมศึกษ าตอนปลาย
(มัธยมศึกษาปี ที่ 4- 6)

129
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

หลักสู ตรได้มีการกาหนดรหัสกากับมาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้วดั เพื่อความเข้าใจและให้


สื่ อสารตรงกัน ดังนี้

ว ๑.๑ ป. ๑/๒
ป.๑/๒ ตัวชี้วดั ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๑ ข้ อที่ ๒
๑.๑ สาระที่ ๑ มาตรฐานข้ อที่ ๑
ว กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์
ต ๒.๒ ม.๔-๖/ ๓
ม.๔-๖/๓ ตัวชี้วดั ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ข้ อที่ ๓
๒.๓ สาระที่ ๒ มาตรฐานข้ อที่ ๒
ต กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่ างประเทศ__

หลักที่ 1 เป็ นรหัสตัวอักษรแสดงกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ คือ


ท หมายถึง กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย
ค หมายถึง กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์
ว หมายถึง กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วทิ ยาศาสตร์
ส หมายถึง กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
พ หมายถึง กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาและพลศึกษา
ศ หมายถึง กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ศิลปะ
ง หมายถึง กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
� หมายถึง กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ ให้ใช้รหัสของแต่ละภาษา

130
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

รหัสของแต่ ละภาษาตามรายการทีก่ าหนด คือ


ข หมายถึงภาษาเขมร จ หมายถึงภาษาจีน
ซ หมายถึงภาษารัสเซีย ญ หมายถึงภาษาญี่ปุ่น
ต หมายถึงภาษาเวียตนาม น หมายถึงภาษาลาติน
บ หมายถึงภาษาบาลี ป หมายถึงภาษาสเปน
ฝ หมายถึงภาษาฝรั่งเศส ม หมายถึงภาษามลายู
ย หมายถึงภาษาเยอรมัน ร หมายถึงภาษาอาหรับ
ล หมายถึงภาษาลาว อ หมายถึงภาษาอังกฤษ
ฮ หมายถึงภาษาฮินดู ***ภาษาต่ างประเทศอื่นทีไ่ ม่ ได้ กาหนดไว้ให้ ใช้ อักษร ต.

การกาหนดรหัสวิชา มีหลักเกณฑ์ ดังนี้


หลักที่ 1 หลักที่ 2 หลักที่ 3 หลักที่ 4 หลักที่ 5 หลักที่ 6
กลุ่มสาระฯ ระดับ ปี ในระดับการศึกษา ประเภทของรายวิชา ลาดับของรายวิชา
ท 1 0 1 01-99
ค 2 1 2
ว 3 2
ส 3
พ 4
ศ 5
ง 6
หลักที่ 1 เป็ นรหัสตัวอักษรแสดงกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ คือ
ท หมายถึง กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย
ค หมายถึง กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์
ว หมายถึง กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วทิ ยาศาสตร์
ส หมายถึง กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
พ หมายถึง กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาและพลศึกษา
ศ หมายถึง กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ศิลปะ
ง หมายถึง กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี

131
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

� ใช้รหัสตัวอักษรตามรายการรหัสตัวอักษรกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ เช่น


ภาษาอังกฤษ ใช้ อ ภาษาญี่ปุ่น ใช้ ญ ภาษาจีน ใช้ จ เป็ นต้น

หลักที่ 2 เป็ นรหัสตัวเลขแสดงระดับการศึกษา ได้แก่


1 หมายถึง รายวิชาระดับประถมศึกษา
2 หมายถึง รายวิชาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
3 หมายถึง รายวิชาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

หลักที่ 3 เป็ นรหัสตัวเลขแสดงปี ที่เรี ยนของรายวิชา ได้แก่


0 หมายถึง รายวิชาไม่กาหนดปี ที่เรี ยน จะเรี ยนปี ใดก็ได้ในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และ
มัธยมศึกษาตอนปลาย
1 หมายถึง รายวิชาที่เรี ยนในปี ที่ 1 ของระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย
(ป.1 ม.1 และ ม.4)
2 หมายถึง รายวิชาที่เรี ยนในปี ที่ 2 ของระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย
(ป.2 ม.2 และ ม.5)
3 หมายถึง รายวิชาที่เรี ยนในปี ที่ 3 ของระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และมัธยมศึกษาตอนปลาย
(ป.3 ม.3 และ ม.6)
4 หมายถึง รายวิชาที่เรี ยนในปี ที่ 4 ของระดับประถมศึกษา(ป.4)
5 หมายถึง รายวิชาที่เรี ยนในปี ที่ 5 ของระดับประถมศึกษา(ป.5)
6 หมายถึง รายวิชาที่เรี ยนในปี ที่ 6 ของระดับประถมศึกษา(ป.6)

หลักที่ 4 เป็ นรหัสตัวเลขแสดงประเภทของรายวิชา ได้แก่


1 หมายถึง รายวิชาพืน้ ฐาน
2 หมายถึง รายวิชาเพิม่ เติม

หลักที่ 5 และหลักที่ 6 เป็ นรหัสตัวเลขแสดงลาดับของรายวิชาแต่ละกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ในปี /ระดับ


การศึกษาเดียวกันมีจานวนตั้งแต่ 01-99 สาหรับกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้วทิ ยาศาสตร์ กลุ่มสาระ การเรี ยนรู ้สังคม
ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม และกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ควรกาหนดรหัสวิชา
เป็ นช่วงลาดับ ดังนี้

132
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์


01-19 รายวิชาในกลุ่มฟิ สิ กส์
21-39 รายวิชาในกลุ่มเคมี
41-59 รายวิชาในกลุ่มชีววิทยา
61-79 รายวิชาในกลุ่มโลกและอวกาศ
81-99 รายวิชาในกลุ่มวิทยาศาสตร์ อื่น ๆ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
01-19 รายวิชาในกลุ่มศาสนา
21-39 รายวิชาในกลุ่มหน้าที่พลเมือง
41-59 รายวิชาในกลุ่มเศรษฐศาสตร์
61-79 รายวิชาในกลุ่มประวัติศาสตร์
81-99 รายวิชาในกลุ่มภูมิศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี
01-19 รายวิชาในกลุ่มการดารงชีวติ และครอบครัว
21-39 รายวิชาในกลุ่มการออกแบบและเทคโนโลยี
41-59 รายวิชาในกลุ่มเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
61-99 รายวิชาในกลุ่มการอาชีพ

ตัวอย่าง
ท12101 คือ รายวิชากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาไทย ระดับประถมศึกษาปี ที่ 2 (ป.2) เป็ น
รายวิชาพื้นฐานลาดับที่ 1
จ14203 คือ รายวิชากลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ภาษาต่างประเทศ ภาษาจีนระดับประถมศึกษาปี ที่ 4 (ป.
4) เป็ นรายวิชาเพิ่มเติมลาดับที่ 3

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- ระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนต้ นจัดให้ ผ้ เู รียนปี ละ 120 ชั่วโมง
- ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จัดให้ ผ้ เู รียนปี ละ 360 ชั่วโมง
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนแบ่ งเป็ น 3 ลักษณะ ได้ แก่
1.กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมแนะแนวเป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริ มและพัฒนาผู้เรี ยนให้ ร้ ู จักตนเอง รู ้รักษ์สิ่งแวดล้อมสามารถ
คิดตัดสิ นใจ คิดแก้ปัญหา กาหนดเป้ าหมาย วางแผนชี วิตทั้งในด้ านการเรียนและอาชี พ สามารถปรับตนได้

133
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ ยงั ช่วยให้ครู รู้จกั และเข้าใจผูเ้ รี ยน ทั้งยังเป็ นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้คาปรึ กษา


แก่ผปู ้ กครองในการมีส่วนร่ วมพัฒนาผูเ้ รี ยน

2.กิจกรรมนักเรียน**
เป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนได้เข้าร่ วม กิจกรรมตามความถนัดและความสนใจ โดยเน้ นเรื่ อง
คุณธรรมจริยธรรม ความมีระเบียบวินัย การไม่ เห็นแก่ ตัว ความเป็ นผู้นาผู้ตามทีด่ ี ความรับผิดชอบ การ
ทางานร่ วมกัน การรู้ จักแก้ ปัญหา การตัดสิ นใจ ความมีเหตุผลการช่วยเหลือแบ่งปั นกัน และความเอื้ออาทร
และสมานฉันท์
2.1 ลูกเสื อ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บาเพ็ญประโยชน์ นักศึกษาวิชาทหาร
2.2กิจกรรมชุ มนุม ชมรม

3.กิจ กรรมเพื่ อ สั ง คมและสาธารณประโยชน์ กิ จ กรรมเพื่ อ สั ง คมและสาธารณประโยชน์ เ ป็ น


กิ จกรรมที่ส่งเสริ มให้ผูเ้ รี ยนบาเพ็ญตนให้เป็ นประโยชน์ต่อครอบครัว ชุ มชน สังคม และประเทศชาติ ใน
ลัก ษณะอาสาสมัค ร เพื่ อช่ วยขัดเกลาจิ ตใจของผูเ้ รี ย นให้มี ความเมตตากรุ ณา มี ค วามเสี ย สละ และมี จิต
สาธารณะ เพื่อช่วยสร้างสรรค์สังคมให้อยูร่ ่ วมกันอย่างมีความสุ ข

กิจกรรมเพื่อสั งคมและสาธารณประโยชน์
ระดับประถมศึกษา รวม 6 ปี ให้ได้จานวน 60 ชัว่ โมง
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น(3 ปี ) จานวน 45 ชัว่ โมง
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย(3 ปี ) จานวน 60 ชัว่ โมง

เทคนิคการจา >>> แนะ + กิจ + โยชน์

การจัดการศึกษาระดับการศึ กษาขั้นพืน้ ฐาน ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน


พุทธศักราช 2551 ได้ แบ่ งการศึกษาเป็ น 3 ระดับ ได้ แก่

1. ระดับประถมศึกษา(ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 1-6) เป็ นระดับการศึกษาที่ มุ่งเน้นทักษะ


พื้นฐานด้านการอ่านการเขียน การคิดคานวณ การคิดพืน้ ฐาน การติดต่ อสื่ อสาร

2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้ น(ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1-3) เป็ นระดับการศึกษาที่มุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนได้


สารวจความถนัด และความสนใจของตนเอง ส่ งเสริ มการพัฒนาบุคลิกภาพส่ วนตน

134
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย(ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4-6) เป็ นระดับการศึกษาที่มุ่งเน้น การเพิ่มพูน


ความรู ้และทักษะเฉพาะด้ าน สนองตอบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเ้ รี ยนแต่ละคน

เทคนิคการจา >>> ถม พืน้ ฐาน + ต้ น สารวจ + ปลาย ทักษะ

การจัดเวลาเรียน

1.ระดับชั้นประถม(ป.1- ป.6) ให้จดั เวลาเรี ยนเป็ น รายปี โดยมีเวลาเรี ยนวันละไม่ เกิน 5 ชั่วโมง
2.ระดับชั้ นมัธยมตอนต้ น(ม.1-ม.3) ให้จดั เวลาเรี ยนเป็ น รายภาค มีเวลาเรี ยนวันละไม่เกิ น 6 ชัว่ โมง คิด
น้ าหนักของรายวิชาที่เรี ยนเป็ นหน่ วยกิต ใช้ เกณฑ์ 40 ชั่ วโมง/ภาคเรียน มีค่าน้ าหนักวิชาเท่ากับ 1 หน่วยกิ ต
รวมทั้งปี ไม่ เกิน 1,200 ชั่วโมง/ปี
3.ระดับชั้ นมัธยมปลาย(ม.4-ม.6) ให้จดั เวลาเรี ยนเป็ นรายภาค มีเวลาเรี ยนวันละไม่ น้อยกว่ า 6 ชั่ วโมง คิด
น้ าหนักของรายวิชาที่เรี ยนเป็ นหน่ วยกิต ใช้ เกณฑ์ 40 ชั่ วโมง/ภาคเรียน มีค่าน้ าหนักวิชาเท่ากับ 1 หน่วยกิ ต
รวม 3 ปี ไม่ น้อยกว่า 3,600 ชั่วโมง

เทคนิคการจา >>> ไม่ น้อยกว่ า 5/6/6


ถม ปี + ต้ น ภาค+ ปลาย ภาค

135
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

การจัดการเรี ยนรู้

การจัดการเรี ยนรู ้ ตอ้ งวิเคราะห์มาตรฐานการเรี ยนรู ้ /ตัวชี้ วดั สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รี ยนตามกลุ่ม


สาระการเรี ยนรู ้ที่ มุ่งเน้ นผู้เรี ยนมีความสาคัญที่สุด ผูเ้ รี ยนทุกคนมีความสามารถในการเรี ยนรู ้และพัฒนา
ตนเองได้ ยึดประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นกับผูเ้ รี ยน กระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ตอ้ งส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนสามารถพัฒนา
ตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คานึ งถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล และพัฒนาการทางสมอง เน้นให้
ความสาคัญทั้งความรู ้และคุณธรรม(เขตพื้นที่การศึกษา/สถานศึกษาเพิ่มเติมได้)

กระบวนการเรียนรู้
การจัดการเรี ยนรู้ ทเี่ น้ นผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ ต้องใช้กระบวนการเรี ยนรู ้ที่หลากหลาย เพื่อให้ผเู ้ รี ยนเกิด
การเรี ยนรู ้ที่ดี บรรลุตามเป้าหมายของหลักสู ตร กระบวนการเรี ยนรู ้ที่จาเป็ นสาหรับผูเ้ รี ยน อาทิ กระบวนการ
เรี ยนรู ้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู ้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญ
สถานการณ์ และแก้ปัญหา กระบวนการเรี ยนรู ้ จากประสบการณ์ จริ ง กระบวนการปฏิ บตั ิ กระบวนการ
จัดการ กระบวนการวิจยั กระบวนการเรี ยนรู ้การเรี ยนรู ้ของตนเอง และกระบวนการพัฒนาลักษณะนิสัย เป็ น
ต้น ทั้งนี้ ตอ้ งให้ความสาคัญต่อการใช้สื่อ การพัฒนาสื่ อ การใช้แหล่งการเรี ยนรู ้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการ
วัดและประเมินผลอย่างหลากหลายเพื่อให้เกิดการพัฒนาผูเ้ รี ยนอย่างแท้จริ ง

การออกแบบการจัดการเรียนรู้
>>>ผู้สอนต้ องศึกษาหลักสู ตรสถานศึกษาให้ เข้ าใจถึง มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วดั <<<

บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน
การจัดการเรี ยนรู ้เพื่อให้ผเู ้ รี ยนมีคุณภาพตามเป้ าหมายของหลักสู ตร ทั้งผูส้ อนและผูเ้ รี ยนควรมี
บทบาท ดังนี้
บทบาทของผู้สอน
1) ศึ กษาวิเคราะห์ ผ้ ูเรี ยนเป็ นรายบุคคล แล้วนาข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรี ยนรู ้ ที่ทา้
ทายความสามารถของผูเ้ รี ยน
2) ก าหนดเป้ า หมายที่ ต้องการให้ เกิ ดขึ้ นกับ ผู เ้ รี ย น ด้า นความรู ้ และทัก ษะกระบวนการ ที่ เป็ น
ความคิดรวบยอด หลักการ และความสัมพันธ์ รวมทั้งคุณลักษณะอันพึงประสงค์
3) ออกแบบการเรี ยนรู ้และจัดการเรี ยนรู ้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทาง
สมอง เพื่อนาผูเ้ รี ยนไปสู่ เป้ าหมาย
4) จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรี ยนรู ้ และดูแลช่วยเหลือผูเ้ รี ยนให้เกิดการเรี ยนรู ้

136
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

5) จัดเตรี ยมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นาภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีที่เหมาะสม


มาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรี ยนการสอน
6) ประเมินความก้าวหน้าของผูเ้ รี ยนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติของวิชาและ
ระดับพัฒนาการของผูเ้ รี ยน
7) วิเคราะห์ ผลการประเมิ นมาใช้ในการซ่ อมเสริ มและพัฒนาผูเ้ รี ยน รวมทั้งปรั บปรุ งการจัดการ
เรี ยนการสอนของตนเอง
บทบาทของผู้เรียน
1) กาหนดเป้ าหมาย วางแผน และรับผิดชอบการเรี ยนรู ้ของตนเอง
2) เสาะแสวงหาความรู ้ เข้าถึงแหล่งการเรี ยนรู ้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ขอ้ ความรู ้ ตั้งคาถาม คิดหาคาตอบ
หรื อหาแนวทางแก้ปัญหาด้วยวิธีการต่าง ๆ
3)ลงมือปฏิบตั ิจริ ง สรุ ปสิ่ งที่ได้เรี ยนรู ้ดว้ ยตนเอง และนาความรู ้ไปประยุกต์ใช้ ในสถานการณ์ต่าง ๆ
4)มีปฏิสัมพันธ์ ทางาน ทากิจกรรมร่ วมกับกลุ่มและครู ประเมินและพัฒนากระบวนการเรี ยนรู ้ของ
ตนเองอย่างต่อเนื่อง

สื่ อการเรียนรู้
สื่ อการเรี ยนรู ้ เป็ นเครื่ องมือส่ งเสริ มสนับสนุ นการจัดการกระบวนการเรี ยนรู ้ ให้ผูเ้ รี ยนเข้าถึ งความรู ้
ทักษะกระบวนการ และคุ ณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสู ตรได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ สื่ อการเรี ยนรู ้ มี
หลากหลายประเภท ทั้งสื่ อธรรมชาติ สื่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ อเทคโนโลยี และเครื อข่าย การเรี ยนรู ้ต่างๆ ที่มีในท้องถิ่น
การเลือกใช้สื่อควรเลือกให้มีความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการ และลีลาการเรี ยนรู ้ที่หลากหลายของผูเ้ รี ยน
การจัดหาสื่ อการเรี ยนรู ้ ผูเ้ รี ยนและผูส้ อนสามารถจัดทาและพัฒนาขึ้นเอง หรื อปรับปรุ งเลือกใช้อย่างมี
คุ ณภาพจากสื่ อต่างๆ ที่มีอยู่รอบตัวเพื่อนามาใช้ประกอบในการจัดการเรี ยนรู ้ ที่สามารถส่ งเสริ มและสื่ อสารให้
ผูเ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพื่อพัฒนาให้ผเู ้ รี ยน เกิดการเรี ยนรู ้อย่าง
แท้จริ ง สถานศึ กษา เขตพื้ นที่ การศึ กษา หน่ วยงานที่ เกี่ ยวข้องและผูม้ ี หน้าที่ จดั การศึ กษาขั้นพื้ นฐาน ควร
ดาเนินการดังนี้
1. จัดให้มีแหล่งการเรี ยนรู ้ ศูนย์สื่อการเรี ยนรู ้ ระบบสารสนเทศการเรี ยนรู ้ และเครื อข่าย
การเรี ยนรู ้ที่มีประสิ ทธิ ภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาค้นคว้าและการแลกเปลี่ยน
ประสบการณ์การเรี ยนรู ้ ระหว่างสถานศึกษา ท้องถิ่น ชุมชน สังคมโลก
2. จัดทาและจัดหาสื่ อการเรี ยนรู ้สาหรับการศึกษาค้นคว้าของผูเ้ รี ยน เสริ มความรู ้ให้ผสู ้ อน
รวมทั้งจัดหาสิ่ งที่มีอยูใ่ นท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้เป็ นสื่ อการเรี ยนรู ้
3. เลือกและใช้สื่อการเรี ยนรู ้ที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้อง
กับวิธีการเรี ยนรู ้ ธรรมชาติของสาระการเรี ยนรู ้ และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผูเ้ รี ยน
137
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

4. ประเมินคุณภาพของสื่ อการเรี ยนรู ้ที่เลือกใช้อย่างเป็ นระบบ


5. ศึกษาค้นคว้า วิจยั เพื่อพัฒนาสื่ อการเรี ยนรู ้ให้สอดคล้องกับกระบวนการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน
6. จัดให้มีการกากับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิ ทธิ ภาพเกี่ยวกับสื่ อและการใช้สื่อ
การเรี ยนรู ้เป็ นระยะๆ และสม่าเสมอ
ในการจัดทา การเลือกใช้ และการประเมินคุณภาพสื่ อการเรี ยนรู ้ที่ใช้ในสถานศึกษา ควรคานึงถึงหลักการ
สาคัญของสื่ อการเรี ยนรู ้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสู ตร วัตถุประสงค์การเรี ยนรู ้ การออกแบบกิจกรรมการ
เรี ยนรู ้ การจัดประสบการณ์ให้ผเู ้ รี ยน เนื้อหามีความถูกต้องและทันสมัย ไม่กระทบความมัน่ คงของชาติ ไม่ขดั ต่อ
ศีลธรรม มีการใช้ภาษาที่ถูกต้อง รู ปแบบการนาเสนอที่เข้าใจง่าย และน่าสนใจ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยนต้องอยูบ่ นหลักการพื้นฐาน 2 ประกา รคือ
การประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียนและเพื่อตัดสิ นผลการเรียน
การพัฒนาคุ ณภาพการเรี ยนรู ้ ของผูเ้ รี ยนให้ประสบผลสาเร็ จนั้น ผูเ้ รี ยนจะต้องได้รับการพัฒนาและ
ประเมิ นตามตัวชี้ วดั เพื่ อให้บรรลุ ตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้ สะท้อนสมรรถนะสาคัญ และคุ ณลักษณะอันพึง
ประสงค์ของผูเ้ รี ยนซึ่ งเป็ นเป้ าหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ ในทุกระดับไม่วา่ จะเป็ นระดับชั้น
เรี ยน ระดับสถานศึ กษา ระดับเขตพื้ นที่ การศึ กษา และระดับชาติ การวัดและประเมิ นผลการเรี ยนรู ้ เป็ น
กระบวนการพัฒนาคุ ณภาพผู ้เรี ยนโดยใช้ ผลการประเมิ นเป็ นข้อมู ลและสารสนเทศที่ แส ดงพัฒนาการ
ความก้าวหน้า และความสาเร็ จทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยน ตลอดจนข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ต่อการส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยน
เกิด การพัฒนาและเรี ยนรู ้อย่างเต็มตามศักยภาพ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่ งออกเป็ น 4 ระดับ ได้แก่ ระดับชั้นเรี ยน ระดับสถานศึกษา ระดับเขต
พื้นที่การศึกษา และระดับชาติ มีรายละเอียด ดังนี้
1. การประเมินระดับชั้ นเรี ยน เป็ นการวัดและประเมินผลที่ อยู่ในกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ ผูส้ อน
ดาเนิ นการเป็ นปกติและสม่ าเสมอ ในการจัดการเรี ยนการสอน ใช้เทคนิ คการประเมินอย่างหลากหลาย เช่ น การ
ซักถาม การสั งเกต การตรวจการบ้ าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟ้ มสะสมงาน การใช้
แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผูส้ อนเป็ นผูป้ ระเมินเองหรื อเปิ ดโอกาส ให้ผูเ้ รี ยนประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน
ผูป้ กครองร่ วมประเมิน ในกรณี ที่ไม่ผา่ นตัวชี้วดั ให้มี การสอนซ่อมเสริ ม
การประเมินระดับชั้นเรี ยนเป็ นการตรวจสอบว่า ผูเ้ รี ยนมีพฒั นาการความก้าวหน้าในการเรี ยนรู ้ อันเป็ น
ผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนหรื อไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุ ง
และส่ งเสริ มในด้านใด นอกจากนี้ ยงั เป็ นข้อมู ลให้ผูส้ อนใช้ปรั บปรุ งการเรี ยนการสอนของตนด้วย ทั้งนี้ โดย
สอดคล้องกับมาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้วดั
2. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็ นการประเมินที่สถานศึกษาดาเนินการเพื่อตัดสิ นผล การเรียนของ
ผู้เรี ยนเป็ นรายปี /รายภาค ผลการประเมิ นการอ่าน คิ ดวิเคราะห์ และเขี ยน คุ ณลักษณะ อันพึงประสงค์ และ
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน นอกจากนี้เพื่อให้ได้ขอ้ มูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา ว่าส่ งผลต่อการเรี ยนรู ้
138
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ของผูเ้ รี ยนตามเป้ าหมายหรื อไม่ ผูเ้ รี ยนมี จุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนาผลการเรี ยนของผูเ้ รี ยนใน
สถานศึกษาเปรี ยบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็ นข้ อมูลและสารสนเทศเพื่อการ
ปรั บปรุ งนโยบาย หลักสู ตร โครงการ หรื อวิธีการจัดการเรี ยนการสอน ตลอดจนเพื่อการจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพ
การศึ กษาของสถานศึ กษา ตามแนวทางการประกันคุ ณภาพการศึ กษาและการรายงานผลการจัดการศึ กษาต่อ
คณะกรรมการสถานศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผูป้ กครอง
และชุมชน
3. การประเมินระดับเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา เป็ นการประเมินคุณภาพผูเ้ รี ยนในระดับเขตพื้นที่การศึกษาตาม
มาตรฐานการเรี ยนรู ้ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใช้เป็ นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถดาเนิ นการโดยประเมินคุณภาพผลสัมฤทธิ์
ของผู เ้ รี ยนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่ จ ัดท าและด าเนิ นการโดยเขตพื้ นที่ การศึ กษา หรื อด้วยความร่ วมมื อกับ
หน่วยงานต้นสังกัด ในการดาเนิ นการจัดสอบ นอกจากนี้ ยงั ได้จากการตรวจสอบทบทวนข้อมูลจากการประเมิน
ระดับสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา
4. การประเมินระดับชาติ เป็ นการประเมินคุณภาพผูเ้ รี ยนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้ ตาม
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผูเ้ รี ยนทุกคนที่เรี ยน ในชั้ นประถมศึกษาปี ที่ ๓
ชั้ นประถมศึกษาปี ที่ ๖ ชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ ๓ และชั้ นมัธยมศึกษาปี ที่ ๖ เข้ารับการประเมิน ผลจากการประเมิน
ใช้เป็ นข้อมูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดับต่าง ๆ เพื่อนาไปใช้ ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัด
การศึกษา ตลอดจนเป็ นข้ อมูลสนับสนุน การตัดสิ นใจในระดับนโยบายของประเทศ
สถานศึ กษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึ กษา จะต้ องจัดทาระเบียบว่ าด้ วยการวัดและประเมินผลการ
เรี ยน ของสถานศึ กษาให้สอดคล้องและเป็ นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิ บตั ิ ที่เป็ นข้อกาหนดของหลักสู ตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ ายถือปฏิบตั ิร่วมกัน

***การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้ มี 4 ระดับ วิธีการจา ( ชั้น + ฐาน + เขต + ชาติ )

เกณฑ์ การวัดและประเมินผลการเรียน
1. การตัดสิ น การให้ ระดับและการรายงานผลการเรียน
1.1 การตัดสิ นผลการเรียน***
ในการตัดสิ นผลการเรี ยนของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอัน
พึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนนั้น ผูส้ อนต้องคานึ งถึงการพัฒนาผูเ้ รี ยนแต่ละคนเป็ นหลัก และต้อง
เก็บข้อมูลของผูเ้ รี ยนทุกด้านอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่ องในแต่ละภาคเรี ยน รวมทั้งสอนซ่ อมเสริ มผูเ้ รี ยนให้
พัฒนาจนเต็มตามศักยภาพ

139
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ระดับประถมศึกษา
(1) ผู้เรียนต้ องมีเวลาเรียนไม่ น้อยกว่ าร้ อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด
(2) ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วดั และผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
(3) ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการตัดสิ นผลการเรี ยนทุกรายวิชา
(4) ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา
กาหนด ในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนา
ผูเ้ รี ยน
ระดับมัธยมศึกษา
(1) ตัดสิ นผลการเรี ยนเป็ นรายวิชา ผู้เรียนต้ องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่ น้อย
กว่าร้ อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวิชานั้น ๆ
(2) ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วดั และผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
(3) ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการตัดสิ นผลการเรี ยนทุกรายวิชา
(4) ผูเ้ รี ยนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา
กาหนด ในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน
การพิจ ารณาเลื่ อ นชั้ นทั้งระดั บ ประถมศึ กษาและมัธยมศึ กษา ถ้า ผูเ้ รี ย นมี ข ้อบกพร่ องเพี ย ง
เล็ ก น้อ ย และสถานศึ ก ษาพิ จ ารณาเห็ น ว่า สามารถพัฒ นาและสอนซ่ อ มเสริ ม ได้ ให้ อ ยู่ใ นดุ ล พิ นิ จ ของ
สถานศึกษาที่จะผ่อนผันให้เลื่ อนชั้นได้ แต่หากผูเ้ รี ยนไม่ผา่ นรายวิชาจานวนมาก และมีแนวโน้มว่าจะเป็ น
ปั ญหาต่อการเรี ยนในระดับชั้นที่สูงขึ้น สถานศึกษาอาจตั้งคณะกรรมการพิจารณาให้ เรียนซ้าชั้ นได้ ทั้ งนี้ให้
คานึงถึงวุฒิภาวะและความรู้ ความสามารถของผู้เรียนเป็ นสาคัญ

การให้ ระดับผลการเรียน
ระดับประถมศึกษา ในการตัดสิ นเพื่อให้ระดับผลการเรี ยนรายวิชา สถานศึกษาสามารถให้ระดับผล
การเรี ยนหรื อระดับคุ ณภาพการปฏิบตั ิของผูเ้ รี ยน เป็ นระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบร้ อยละ และ
ระบบทีใ่ ช้ คาสาคัญสะท้อนมาตรฐาน

+++ การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุ ณลักษณะอันพึงประสงค์น้ นั ให้ระดับผล


การประเมินเป็ น ดีเยีย่ ม ดี และผ่าน

+++ การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่ วมกิ จกรรม การปฏิ บตั ิ


กิจกรรมและผลงานของผูเ้ รี ยน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด และให้ผลการเข้าร่ วมกิจกรรม เป็ นผ่าน และ
ไม่ ผ่าน
140
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ระดับมัธยมศึกษา ในการตัดสิ นเพื่อให้ระดับผลการเรี ยนรายวิชา ให้ ใช้ ตัวเลขแสดงระดับผล


การเรียนเป็ น 8 ระดับ

>>> การประเมินการอ่ าน คิดวิเคราะห์ และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ น้ นั ให้ระดับผล


การประเมินเป็ น ดีเยีย่ ม ดี ผ่านและไม่ ผ่าน

>>> การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรี ยน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่ วมกิ จกรรม การปฏิ บตั ิ


กิจกรรมและผลงานของผูเ้ รี ยน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด และให้ผลการเข้าร่ วมกิจกรรมเป็ น ผ่าน และ
ไม่ ผ่าน

การให้ ระดับผลการเรียนหลักสู ตรการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551


ในการตัดสิ นเพื่อให้ระดับผลการเรี ยนรายวิชาคิดจากคะแนนเต็ม 100 คะแนน โดยใช้ตวั เลขแสดง
ระดับผลการเรี ยนเป็ น 8 ระดับ ดังนี้

0 หมายถึง ผลการเรียนต่ากว่าเกณฑ์ ข้นั ต่า ได้ คะแนนต่ากว่า 50 คะแนน


1 หมายถึง ผลการเรียนผ่านเกณฑ์ ข้นั ต่าทีก่ าหนด ได้ คะแนน 50-54 คะแนน
1.5 หมายถึง ผลการเรียนพอใช้ ได้ คะแนน 55-59 คะแนน
2 หมายถึง ผลการเรียนน่ าพอใจ ได้ คะแนน 60-64 คะแนน
2.5 หมายถึง ผลการเรียนค่ อนข้ างดี ได้ คะแนน 65-69 คะแนน
3 หมายถึง ผลการเรียนดี ได้ คะแนน 70-74 คะแนน
3.5 หมายถึง ผลการเรียนดีมาก ได้ คะแนน 75-79 คะแนน
4 หมายถึง ผลการเรียนดีเยีย่ ม ได้ คะแนนตั้งแต่ 80 คะแนน ขึน้ ไป

141
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ผลการเรียน
มส หมายถึง นักเรี ยนยังไม่ได้รับการประเมินผล เนื่องจากมีเวลาไม่ถึง 80% ของเวลาเรี ยนทั้งหมด
ร หมายถึง นักเรี ยนยังไม่ได้รับการประเมินผล เนื่ องจากไม่ส่งงานที่ได้รับมอบหมายหรื อไม่ได้
เข้าสอบ
ผ หมายถึ ง นัก เรี ย นเข้า ร่ ว มกิ จ กรรมพัฒ นาผู ้เ รี ย นมี เ วลาครบ 80 % ผ่า นการประเมิ น ตาม
จุดประสงค์ที่สาคัญของกิจกรรม
มผ หมายถึง นักเรี ยนไม่ได้รับการประเมินกิ จกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน มีเวลาเข้าร่ วมกิจกรรมไม่ครบ
80 % ไม่ผา่ นจุดประสงค์ที่สาคัญของกิจกรรม

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุ ณลักษณะอันพึงประสงค์น้ นั ให้ระดับผลการ


ประเมินเป็ น ดีเยีย่ ม ดี และผ่าน โดยมีเกณฑ์จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน ดังนี้

คะแนน 80 คะแนน ขึ้นไป ระดับผลการประเมินเป็ น ดีเยีย่ ม

คะแนน 70-79 คะแนน ขึ้นไป ระดับผลการประเมินเป็ น ดี

คะแนน 50-69 คะแนน ระดับผลการประเมินเป็ น ผ่าน

การรายงานผลการเรียน
การรายงานผลการเรี ยนเป็ นการสื่ อสารให้ผปู ้ กครองและผูเ้ รี ยนทราบความก้าวหน้า ในการ
เรี ยนรู ้ของผูเ้ รี ยน ซึ่ งสถานศึกษาต้องสรุ ปผลการประเมินและจัดทาเอกสาร รายงานให้ ผ้ ูปกครองทราบเป็ น
ระยะ ๆ หรื ออย่างน้ อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง (ปพ.6)
การรายงานผลการเรี ยนสามารถรายงานเป็ นระดับคุณภาพการปฏิบตั ิของผูเ้ รี ยนที่สะท้อนมาตรฐาน
การเรี ยนรู ้กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้

เกณฑ์ การจบการศึกษา
หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กาหนดเกณฑ์กลางสาหรับการจบการศึกษาเป็ น 3 ระดับ
คือ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้ น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
เกณฑ์ การจบระดับประถมศึกษา
(1) ผูเ้ รี ยนเรี ยนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติมตามโครงสร้างเวลาเรี ยนที่หลักสู ตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนด และรายวิชา / กิจกรรมเพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากาหนด (ปรับใหม่
ตามคาสั่ง สพฐฅ ที่ 110 / 2555)

142
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

(2) ผูเ้ รี ยนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด


(3) ผูเ้ รี ยนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศึกษากาหนด
(4) ผูเ้ รี ย นมี ผ ลการประเมิ น คุ ณ ลัก ษณะอันพึ ง ประสงค์ใ นระดับ ผ่า นเกณฑ์ ก ารประเมิ น ตามที่
สถานศึกษากาหนด
(5) ผู ้เ รี ย นเข้า ร่ ว มกิ จ กรรมพัฒ นาผู ้เ รี ย นและมี ผ ลการประเมิ น ผ่ า นเกณฑ์ ก ารประเมิ น ตามที่
สถานศึกษากาหนด

เกณฑ์ การจบระดับมัธยมศึกษาตอนต้ น

(1) ผูเ้ รี ยนเรี ยนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติ ม โดยเป็ นรายวิชาพื้นฐาน 66 หน่ วยกิ ต และรายวิชา


เพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากาหนด (ปรับใหม่ตามคาสั่ง สพฐ. ที่ 110 / 2555)
(2) ผูเ้ รี ยนต้องได้หน่ วยกิ ตตลอดหลักสู ตรไม่น้อยกว่า 77 หน่วยกิต โดยเป็ นรายวิชาพื้นฐาน 66
หน่วยกิต และรายวิชาเพิ่มเติมไม่นอ้ ยกว่า 11 หน่วยกิต
(3) ผูเ้ รี ยนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่าน เกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศึกษากาหนด
(4) ผูเ้ รี ยนมี ผลการประเมิ นคุ ณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิ นตามที่
สถานศึกษากาหนด
(5) ผู เ้ รี ย นเข้า ร่ ว มกิ จ กรรมพัฒ นาผู เ้ รี ย นและมี ผ ลการประเมิ น ผ่า นเกณฑ์ ก ารประเมิ น ตามที่
สถานศึกษากาหนด

เกณฑ์ การจบระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

(1) ผูเ้ รี ยนเรี ยนรายวิชาพื้นฐานและเพิ่มเติม โดยเป็ นรายวิชาพื้นฐาน 41 หน่วยกิต และรายวิชา


เพิ่มเติมตามที่สถานศึกษากาหนด(ปรับใหม่ตามคาสั่ง สพฐ ที่ 110 / 2555)
(2) ผูเ้ รี ยนต้องได้หน่วยกิตตลอดหลักสู ตรไม่ น้อยกว่า ๗๗ หน่ วยกิต โดยเป็ นรายวิชาพืน้ ฐาน 41
หน่ วยกิต และรายวิชาเพิม่ เติม ไม่ น้อยว่า ๓6 หน่ วยกิต
(3) ผูเ้ รี ยนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์ การ
ประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
(4) ผูเ้ รี ยนมี ผลการประเมิ นคุ ณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิ นตามที่
สถานศึกษากาหนด
(5) ผู เ้ รี ย นเข้า ร่ ว มกิ จ กรรมพัฒ นาผู เ้ รี ย นและมี ผ ลการประเมิ น ผ่า นเกณฑ์ ก ารประเมิ น ตามที่
สถานศึกษากาหนด

143
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

สาหรับการจบการศึกษาสาหรับกลุ่มเป้ าหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสาหรับผูม้ ี


ความสามารถพิ เ ศษ การศึ ก ษาทางเลื อ ก การศึ ก ษาส าหรั บ ผู ้ด้อ ยโอกาส การศึ ก ษาตามอัธ ยาศัย ให้
คณะกรรมการของสถานศึกษา เขตพื้นที่ การศึ กษา และผูท้ ี่ เกี่ ยวข้อง ดาเนิ นการวัดและประเมิ นผลการ
เรี ยนรู ้ตามหลักเกณฑ์ในแนวปฏิ บตั ิการวัดและประเมินผลการเรี ยนรู ้ ของหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐานสาหรับกลุ่มเป้ าหมายเฉพาะ

เอกสารหลักฐานการศึกษา
เอกสารหลัก ฐานการศึ ก ษา เป็ นเอกสารส าคัญ ที่ บ ัน ทึ ก ผลการเรี ย น ข้อ มู ล แล ะสารสนเทศ
ที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการของผูเ้ รี ยนในด้านต่าง ๆ แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ดังนี้
1. เอกสารหลักฐานการศึกษาทีก่ ระทรวงศึกษาธิการกาหนด
>>> ผู้จัดพิมพ์ แบบ ปพ. 1-3 คือ องค์ การค้ า สกสค.ในกากับของกระทรวงศึกษาธิการ

1.1 ปพ.1 = (ระเบียนแสดงผลการเรียน) สาหรับบันทึกข้ อมูลผลการเรียนของนักเรี ยนตามเกณฑ์ การผ่ าน


ช่ วงชั้น
เพื่อใช้ ประโยชน์ ในด้ านต่ างๆ ดังนี้
1. แสดงผลการเรี ยนของนักเรี ยนตามโครงสร้างหลักสู ตรสถานศึกษา
2. รับรองผลการเรี ยนนักเรี ยนตามข้อมูลที่บนั ทึกในเอกสาร
3. ตรวจสอบผลการเรี ยนและวุฒิการศึกษาของนักเรี ยน
4. ใช้เป็ นหลักฐานแสดงวุฒิการศึกษาเพื่อสมัครเข้าศึกษาต่อ สมัครงาน
### ปพ. 1 จาแนกเป็ น 3 แบบ คือ
1) ระเบียนแสดงผลการเรี ยนหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับประถมศึกษา ( ปพ.1 ป )
2) ระเบียนแสดงผลการเรี ยนหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ปพ. 1 บ )
3)ระเบียนแสดงผลการเรี ยนหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ปพ.1 พ)
1.2 ปพ.2 = หลักฐานแสดงวุฒิการศึกษา (ใบประกาศนียบัตร) เป็ นวุฒิบตั รที่มอบให้นกั เรี ยนที่สาเร็ จ
การศึกษาหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ผู้เรียนสามารถนาไปใช้ เป็ นหลักฐานแสดงวุฒิการศึกษาของตน
เพื่อศึกษาต่ อ เพื่อสมัครเข้ าทางาน หรื อ เพื่อการอื่นใด
ประกาศนียบัตรปพ. 2 มี 2 แบบ คือ
1.ประกาศนียบัตร สาหรับผูเ้ รี ยนที่สาเร็ จการศึกษาภาคบังคับตามหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน > ปพ. 2 บ
+++ จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 +++

144
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

2.ประกาศนียบัตร สาหรับผูเ้ รี ยนที่สาเร็ จการศึกษาภาคพื้นฐานตามหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน > ปพ. 2 พ


+++ จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 +++
** ให้ ผ้ ดู ารงตาแหน่ งผู้อานวยการสถานศึกษาลงนามและประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพืน้ ฐาน**
1.3 ปพ.3 = แบบรายงานผู้สาเร็จการศึกษา สาหรับบันทึกข้อมูลสรุ ปผลการเรี ยนของผูส้ าเร็ จ
การศึกษาตามหลักสู ตรแต่ละช่วงชั้น เป็ นเอกสารที่ผบู ้ ริ หารโรงเรี ยนใช้สาหรับตัดสิ นและอนุมตั ิผลการเรี ยน
ให้นกั เรี ยนจบช่วงชั้น เป็ นเอกสารรับรองวุฒิทางการศึกษาจากกระทรวงศึกษาธิ การ
>>> หัวหน้ าสถานศึกษามีอานาจ สั่ งซื้อ
แบบรายงานผู้สาเร็จการศึกษา (ปพ.3 ) จาแนกป็ น 3 แบบ คือ
1. ระดับประถมศึกษา (ปพ.3 ป)
2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ปพ.3 บ)
3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ปพ.3 พ)
****โรงเรียน รายงาน เขต และ เขต รายงาน สพฐ. ภายใน 30 วัน***

2.เอกการสารหลักฐานการศึกษาทีส่ ถานศึกษากาหนดมี 6 แบบ ดังนี้


4. ปพ.4 = แบบแสดงผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ สาหรับเพื่อแสดงผลการพัฒนา การ
ประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรี ยน ใช้เป็ นหลักฐานแสดงคุณสมบัติของนักเรี ยนในการสมัคร
เข้าศึกษาต่อสมัครเข้าทางาน หรื อมีกรณี อื่นใดที่นกั เรี ยนต้องแสดงคุณสมบัติเกี่ยวกับประวัติ
ความประพฤติหรื อคุณความดีต่างๆ
5. ปพ.5 = เอกสารบันทึกการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยนเป็ นเอกสารที่โรงเรี ยนจัดทาขึ้น เพื่อให้ผสู ้ อนใช้
บันทึกข้อมูลการวัดและการ
ประเมินผลการเรี ยนของนักเรี ยน นาไปใช้ประโยชน์ คือ
1. เป็ นเอกสารประกอบการดาเนินงานในการวัดและประเมินผลการเรี ยนของนักเรี ยน
2. เป็ นหลักฐานสาหรับตรวจสอบ รายงาน และรับรองข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการและ
กระบวนการวัดและประเมินผลการเรี ยน
6. ปพ.6 =แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบุคคล (สมุดพก) เพื่อบันทึกข้อมูลการ
ประเมินผลการเรี ยนรู ้และพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของนักเรี ยน นาไปใช้ประโยชน์ คือ
1. รายงานผลการเรี ยน ความประพฤติ และพัฒนาการของนักเรี ยนให้ผปู ้ กครองทราบ
2. เป็ นเอกสารสื่ อสาร ประสานงาน เพื่อความร่ วมมือในการพัฒนาและปรับปรุ งแก้ไขนักเรี ยน

145
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

3. เป็ นเอกสารสาหรับตรวจสอบ ยืนยัน และรับรองผลการเรี ยนและพัฒนาการต่างๆ


ของนักเรี ยน

7. ปพ.7 = ใบรับรองผลการศึกษา เป็ นเอกสารที่โรงเรี ยนจัดทาขึ้น เพื่อใช้เป็ นเอกสารรับรอง


สถานภาพนักเรี ยนหรื อผลการเรี ยนเป็ นการชัว่ คราวที่นกั เรี ยนร้องขอ นาไปใช้ประโยชน์ คือ
1. รับรองความเป็ นนักเรี ยนของโรงเรี ยนที่เรี ยนหรื อเคยเรี ยน
2. รับรองและแสดงความรู ้วุฒิของนักเรี ยน
3. แสดงคุณสมบัติของนักเรี ยนในการสมัครเข้าศึกษาต่อ สมัครเข้าทางาน
4. เป็ นหลักฐานตรวจสอบ รับรอง ยืนยันการใช้สิทธิ์ ความเป็ นนักเรี ยน หรื อการได้รับ
การรับรองจากโรงเรี ยน

8. ปพ.8 = ระเบียนสะสม เป็ นเอกสารที่โรงเรี ยนจัดทาขึ้นเพื่อบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับพัฒนาการของ


นักเรี ยนในด้านต่างๆเป็ นรายบุคคล นาไปใช้ประโยชน์ดงั นี้
1. ใช้เป็ นข้อมูลในการแนะแนวทางการศึกษาและประกอบอาชีพของนักเรี ยน
2. ใช้เป็ นข้อมูลในการพัฒนาปรับปรุ งบุคลิกภาพ ผลการเรี ยนและการปรับตัวของนักเรี ยน
3. ใช้ติดต่อสื่ อสาร รายงานพัฒนาคุณภาพของนักเรี ยนระหว่างโรงเรี ยนกับผูป้ กครอง
4. ใช้เป็ นหลักฐานสาหรับตรวจสอบ รับรอง และยืนยันคุณสมบัติของนักเรี ยน

9. ปพ.9 =สมุดบันทึกผลการเรียนรู้ เป็ นเอกสารที่โรงเรี ยนจัดทาขึ้น เพื่อแสดงรายวิชาทั้งหมดตาม


หลักสู ตรของโรงเรี ยนพร้อมด้วยรายละเอียดของแต่ละรายวิชา ประกอบด้วย ผลการเรี ยนรู ้ที่คาดหวังสาระ
การเรี ยนรู ้ คาอธิบายรายวิชา และผลการประเมินผลการเรี ยนของนักเรี ยนนาไปใช้ประโยชน์ คือ
1. ศึกษาหลักสู ตรของโรงเรี ยนในแต่ละช่วงชั้น
2. บันทึกและแสดงผลการเรี ยนของนักเรี ยนในการเรี ยนแต่ละรายวิชา
3. รายงานผลการเรี ยนรู ้ให้ผปู ้ กครองและผูเ้ กี่ยวข้องได้รับทราบ
4. ใช้เป็ นข้อมูลในการเทียบโอนผลการเรี ยน ในกรณี ที่นกั เรี ยนย้ายโรงเรี ยน
5. นักเรี ยนใช้ศึกษาหลักสู ตรของโรงเรี ยนสาหรับการวางแผนการเรี ยน

146
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

การเทียบโอนผลการเรียน
สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรี ยนของผูเ้ รี ยนในกรณี ต่างๆได้แก่ การย้ายสถานศึกษา การ
เปลี่ยนรู ปแบบการศึกษา การย้ายหลักสู ตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษาจาก
ต่างประเทศและขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทียบโอนความรู ้ ทักษะ ประสบการณ์จาก
แหล่งการเรี ยนรู ้อื่นๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันศาสนา สถาบันการฝึ กอบรมอาชี พ การจัดการศึกษา
โดยครอบครัว
การเทียบโอนผลการเรี ยนควรด าเนิ นการในช่ วงก่ อนเปิ ดภาคเรี ยนแรก หรื อต้ นภาคเรี ยนแรก
ที่สถานศึกษารั บผู้ขอเทียบโอนเป็ นผู้เรี ยน ทั้งนี้ ผูเ้ รี ยนที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรี ยนต้องศึกษาต่อเนื่ อง
ในสถานศึกษาที่รับเทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรี ยน โดยสถานศึกษาที่รับผูเ้ รี ยนจาก
การเทียบโอนควรกาหนดรายวิชา/จานวนหน่วยกิต ที่จะรับเทียบโอนตามความเหมาะสม
การพิจารณาการเทียบโอน สามารถดาเนินการได้ ดังนี้
๑. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอื่น ๆ ที่ให้ขอ้ มูลแสดงความรู ้ ความสามารถของ
ผูเ้ รี ยน
๒. พิจารณาจากความรู ้ ความสามารถของผูเ้ รี ยนโดยการทดสอบด้วยวิธีการต่าง ๆ ทั้ง ภาค
ความรู ้และภาคปฏิบตั ิ
๓. พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบตั ิในสภาพจริ ง การเทียบโอนผลการเรี ยนให้เป็ นไปตาม
ประกาศ หรื อ แนวปฏิบตั ิ ของกระทรวงศึกษาธิการ
การบริหารจัดการหลักสู ตร
ในระบบการศึ ก ษาที่ มี ก ารกระจายอ านาจให้ ท ้อ งถิ่ น และสถานศึ ก ษามี บ ทบาทในการพัฒนา
หลัก สู ต รนั้น หน่ ว ยงานต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้อ งในแต่ ล ะระดับ ตั้ง แต่ ร ะดับ ชาติ ระดับ ท้อ งถิ่ น จนถึ ง ระดับ
สถานศึกษา มีบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุ น ส่ งเสริ ม การใช้และพัฒนา
หลักสู ตรให้เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เพื่อให้การดาเนินการจัดทาหลักสู ตรสถานศึกษาและ การ
จัดการเรี ยนการสอนของสถานศึกษามีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด อันจะส่ งผลให้การพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยนบรรลุ
ตามมาตรฐานการเรี ยนรู ้ที่กาหนดไว้ในระดับชาติ
ระดับท้องถิ่ น ได้แก่ สานักงานเขตพื้นที่ การศึ กษา หน่ วยงานต้นสังกัดอื่ น ๆ เป็ นหน่ วยงานที่ มี
บทบาทในการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา เป็ นตัวกลางที่จะเชื่อมโยงหลักสู ตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐานที่กาหนดในระดับชาติให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น เพื่อนาไปสู่
การจัดทาหลักสู ตรของสถานศึกษา ส่ งเสริ มการใช้และพัฒนาหลักสู ตรในระดับสถานศึกษา ให้ประสบ
ความสาเร็ จ โดยมีภารกิจสาคัญ คือ กาหนดเป้ าหมายและจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รี ยน

147
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ในระดับท้องถิ่ นโดยพิจารณาให้สอดคล้องกับสิ่ งที่ เป็ นความต้องการในระดับชาติ พัฒนาสาระ


การเรี ยนรู ้ทอ้ งถิ่น ประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับท้องถิ่น รวมทั้งเพิ่มพูนคุณภาพการใช้หลักสู ตรด้วย
การวิจยั และพัฒนา การพัฒนาบุคลากร สนับสนุ น ส่ งเสริ ม ติดตามผล ประเมินผล วิเคราะห์ และรายงาน
ผลคุณภาพของผูเ้ รี ยน สถานศึกษามีหน้าที่สาคัญในการพัฒนาหลักสู ตรสถานศึกษา การวางแผนและ
ดาเนินการใช้หลักสู ตร การเพิ่มพูนคุณภาพการใช้หลักสู ตรด้วยการวิจยั และพัฒนา
การปรับปรุ งและพัฒนาหลักสู ตร จัดทาระเบียบการวัดและประเมินผล ในการพั ฒนาหลักสู ตร
สถานศึกษาต้องพิจารณาให้สอดคล้อง กับหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และรายละเอียดที่ เขต
พื้ นที่ ก ารศึ ก ษา หรื อหน่ วยงาน ต้นสั ง กัดอื่ นๆ ในระดับ ท้องถิ่ นได้จดั ท าเพิ่ ม เติ ม รวมทั้ง สถานศึ ก ษา
สามารถเพิ่มเติมในส่ วนที่เกี่ ยวกับสภาพปั ญหาในชุ มชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่ น และความต้องการ
ของผูเ้ รี ยน โดยทุกภาคส่ วนเข้ามามีส่วนร่ วมในการพัฒนาหลักสู ตรสถานศึกษา
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
การจัดการเรี ยนรู ้และการจัดการชั้นเรี ยน (Learning and Classroom Management) เป็ นบทบาท
สาคัญของครู ทุกคน เริ่ มจากการศึ กษาวิเคราะห์ หลักสู ตร เอกสารที่ เกี่ ยวข้อง การวิเคราะห์ ผูเ้ รี ย นน ามา
วางแผนออกแบบกิ จกรรมการเรี ยนรู ้ การจัดหาหรื อเลื อกใช้สื่อ/แหล่งเรี ยนรู ้ การวัดและประเมินผล แล้ว
ดาเนิ นการจัดการเรี ยนรู ้และจัดการชั้นเรี ยน ให้สอดคล้องตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542
ดังต่อไปนี้
มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักที่วา่ ผูเ้ รี ยนทุกคนมีความสามารถเรี ยนรู ้ และพัฒนาตนเอง
ได้และถื อว่าผูเ้ รี ยนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนสามารถพัฒนาตาม
ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
มาตรา 24 การจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินการ ดังนี้
1) จัดเนื้ อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผูเ้ รี ยน โดยคานึ งถึง
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
2) ฝึ กทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิ ญสถานการณ์และการประยุกต์ความรู ้มาใช้เพื่อ
ป้ องกันและแก้ไขปั ญหา
3) จัดกิจกรรมให้ผเู ้ รี ยน ได้เรี ยนรู ้จากประสบการณ์จริ ง ฝึ กการปฏิบตั ิให้คิดได้ คิดเป็ น ทาเป็ น รัก
การอ่าน และเกิดการใฝ่ รู ้อย่างต่อเนื่อง
4) จัดการเรี ยนการสอน โดยผสมผสานสาระความรู ้ ดา้ นต่างๆ อย่างได้สัดส่ วนสมดุ ลกัน รวมทั้ง
ปลูกฝังคุณธรรม ค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ไว้ในทุกวิชา

148
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

5) ส่ งเสริ มสนับสนุ นให้ครู สามารถจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่ อการเรี ยนและอานวยความ


สะดวกเพื่อให้เกิ ดการเรี ยนรู ้ และมีความรอบรู ้ รวมทั้งสามารถใช้การวิจยั เป็ นส่ วนหนึ่ งของกระบวนการ
จัดการเรี ยนรู ้ท้ งั นี้ครู และผูเ้ รี ยนอาจเรี ยนรู ้ไปพร้อมกัน จากสื่ อการเรี ยนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภท
ต่างๆ
6) การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ มีการประสานความร่ วมมือกับบิ ดา
มารดาผูป้ กครองและบุคคลในชุมชนทุกฝ่ าย เพื่อร่ วมกันพัฒนาผูเ้ รี ยนตามศักยภาพ
องค์ประกอบของการเรี ยนรู ้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ
1.ครู 2.ผูเ้ รี ยน
3.สภาพแวดล้อม 4.หลักสู ตร
1.วิธีสอนแบบโครงงาน(Project Method)
แนวคิด
เป็ นวีการจัดการเรี ยนรู ้ที่ให้ผูเ้ รี ยนได้ศึกษาค้นคว้า หรื อปฏิบตั ิงานตามหัวข้อที่ผูเ้ รี ยนสนใจ ซึ่ ง
ผูเ้ รี ยนจะต้องฝึ กกระบวนการทางานอย่างมีข้ นั ตอน มีการวางแผนในการทางานหรื อการแก้ปัญหาอย่างเป็ น
ระบบ จนการดาเนิ นงานสาเร็ จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ ส่ งผลให้ผูเ้ รี ยนมีทกั ษะการเรี ยนรู ้ อย่างหลากหลาย
อันเป็ นประสบการณ์ตรงที่มีคุณค่า สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการดาเนินงานต่าง ๆ ได้วกี ารสอนโครงงาน
สามารถสอนต่อเนื่ องกับวีสอนแบบบูรณาการได้ ทั้งในรู ปแบบบูรณาการภายในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ และ
บูรณาการระหว่างกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้นาองค์ความรู ้ และประสบการณ์ ที่ได้มาบูรณาการ
เพื่อทาโครงงาน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ขั้นกาหนดปั ญหา หรื อสารวจความสนใจ ผูส้ อนเสนอสถานการณ์หรื อตัวอย่างที่เป็ นปั ญหาและ
กระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยนหาวีการแก้ปัญหาหรื อยัว่ ยุให้ผเู ้ รี ยนมีความต้องการใคร่ เรี ยนใคร่ รู้ ในเรื่ องใดเรื่ องหนึ่ง
2.ขั้นกาหนดจุดมุ่งหมายในการเรี ยน ผูส้ อนแนะนาให้ผูเ้ รี ยนกาหนดจุดมุ่งหมายให้ชดั เจนว่าเรี ยน
เพื่ออะไร จะทาโครงงานนั้นเพื่อแก้ปัญหาอะไร ซึ่ งทาให้ผเู ้ รี ยนกาหนดโครงงานแนวทางในการดาเนินงาน
ได้ตรงตามจุดมุ่งหมาย
3.ขั้นวางแผนและวิเคราะห์โครงงาน ให้ผเู ้ รี ยนวางแผนแก้ปัญหา ซึ่ งเป็ นโครงงานเดี่ยวหรื อกลุ่มก็
ได้ แล้วเสนอแผนการดาเนิ นงานให้ผูส้ อนพิจารณา ให้คาแนะนาช่ วยเหลื อและข้อเสนอแนะการวางแผน
โครงงานของผูเ้ รี ยน ผูเ้ รี ยนเขียนโครงงานตามหัวข้อซึ่ งมีหัวข้อสาคัญ (ชื่ อโครงงาน หลักการและเหตุผล
วัต ถุ ป ระสงค์ห รื อ จุ ด มุ่ ง หมาย เจ้า ของโครงการ ที่ ป รึ ก ษาโครงการ แหล่ ง ความรู ้ สถานที่ ด าเนิ น การ
ระยะเวลาดาเนินการ งบประมาณ วิธีดาเนินการ เครื่ องมือที่ใช้ ผลที่คาดว่าจะได้รับ)
4.ขั้นลงมือปฏิบตั ิหรื อแก้ปัญหา ให้ผเู ้ รี ยนลงมือปฏิบตั ิหรื อแก้ปัญหาตามแผนการที่กาหนดไว้โดยมี
ผูส้ อนเป็ นที่ปรึ กษา คอยสังเกต ติดตาม แนะนาให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกั สังเกต เก็บรวบรวมข้อมูล บันทึกผลดาเนินการ

149
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ด้วยความมานะอดทน มีการประชุ มอภิปราย ปรึ กษาหารื อกันเป็ นระยะ ๆ ผูส้ อนจะเข้าไปเกี่ ยวข้องเท่าที่
จาเป็ น ผูเ้ รี ยนเป็ นผูใ้ ช้ความคิด ความรู ้ ในการวางแผนและตัดสิ นใจทาด้วยตนเอง
5.ขั้นประเมินผลระหว่าปฏิบตั ิงาน ผูส้ อนแนะนาให้ผเู ้ รี ยนรู ้จกั ประเมินผลก่อนดาเนิ นการระหว่าง
ดาเนิ นการและหลังดาเนิ นการ คือรู ้จกั พิจารณาว่าก่อนที่จะดาเนิ นการมีสภาพเป็ นอย่างไร มีปัญหาอย่างไร
ระหว่างที่ดาเนิ นงานตามโครงงานนั้น ยังมีสิ่งใดที่ผิดพลาดหรื อเป็ นข้อบกพร่ องอยู่ ต้อแก้ไขอะไรอีกบ้าง มี
วิ ธี แ ก้ไ ขอย่า งไร เมื่ อ ด าเนิ น การไปแล้ว ผู เ้ รี ย นมี แ นวคิ ด อย่า งไร มี ค วามพึ ง พอใจหรื อ ไม่ ผลของการ
ดาเนิ นการตามโครงงาน ผูเ้ รี ยนได้ความรู ้ อะไร ได้ประโยชน์อย่างไร และสามารถนาความรู ้ น้ นั ไปพัฒนา
ปรับปรุ งงานได้อย่างดี ยิ่งขึ้น หรื อเอาความรู ้ น้ นั ไปใช้ในชี วิตได้อย่างไร โดยผูเ้ รี ยนประเมินโครงงานของ
ตนเองหรื อเพื่อนร่ วมประเมิน จากนั้นผูส้ อนจึงประเมินผลโครงงานตามแบบประเมิน ซึ่ งผูป้ กครองอาจจะมี
ส่ วนร่ วมในการประเมินด้วยก็ได้
6.ขั้นสรุ ป รายงานผล และเสนอผลงาน เมื่อผูเ้ รี ยนทางานตามแผนและเก็บข้อมูลแล้วต้องทาการ
วิเคราะห์ขอ้ มูล สรุ ปและเขียนรายงานเพื่อนาเสนอผลงาน ซึ่ งนอกเหนื อจากรายงานเอกสารแล้ว อาจมี
แผนภูมิ แผนภาพ กราฟ แบบจาลอง หรื อของจริ งประกอบการนาเสนอ อาจจัดได้ หลายรู ปแบบ เช่ น จัด
นิทรรศการ การแสดงละคร ฯลฯ
ประโยชน์
1.เป็ นการสอนที่มุ่งให้ผูเ้ รี ยนมีบทบาท มีส่วนร่ วมในการจัดกระบวนการเรี ยนรู ้ได้ปฏิบตั ิจริ งคิดเอง ทาเอง
อย่างละเอียดรอบคอบ อย่างเป็ นระบบ
2.ผูเ้ รี ยนรู ้จกั วีแสวงหาข้อมูล สร้างองค์ความรู ้และสรุ ปความรู ้ได้ดว้ ยตนเอง
3. ผูเ้ รี ยนมีทกั ษะในการแก้ปัญหา มีทกั ษะกระบวนการในการทางาน มีทกั ษะการเคลื่อนไหวทางกาย
4.ผูเ้ รี ยนได้ฝึกกระบวนการกลุ่มสัมพันธ์ ทางานร่ วมกันกับผูอ้ ื่นได้
5.ฝึ กความเป็ นประชาธิ ปไตย คื อการรั บฟั งความคิ ดเห็ นซึ่ งกันและกัน มี เหตุ ผล มี การยอมรั บในความรู ้
ความสามารถซึ่ งกันและกัน
6.ผูเ้ รี ยนได้ฝึกลักษณะนิ สัยที่ดีในการทางาน เช่น การจดบันทึกข้อมูล การเก็บข้อมูลอย่างเป็ นระบบ ความ
รั บผิดชอบ ความซื่ อตรง ความเอาใจใส่ ความขยันหมัน่ เพีย รในการทางาน รู ้ จกั ทางานอย่า งเป็ นระบบ
ทางานอย่างมีแผน ใช้เวลาว่างให้เป็ นประโยชน์
7. ผูเ้ รี ย นเกิ ดความคิ ดริ เริ่ มสร้ างสรรค์ และสามารถนาความรู ้ ความคิ ด หรื อแนวทางที่ ไ ด้ไปใช้ใ นการ
แก้ปัญหาในชีวติ หรื อในสถานการณ์อื่น ๆ ได้

150
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

การจัดการเรียนรู้ แบบใช้ ปัญหาเป็ นฐาน


แนวคิด
เป็ นกระบวนการจัดการเรี ย นรู ้ ที่ เริ่ ม ต้นจากปั ญหาที่ เกิ ดขึ้ นโดยสร้ า งความรู ้ จากกระบวนการ
ทางานกลุ่ ม ตัวปั ญหาจะเป็ นจุ ดตั้ง ต้นของกระบวนการเรี ยนรู ้ และเป็ นตัวกระตุ ้นการพัฒนาทัก ษะการ
แก้ปัญหาด้วยเหตุผล และการสื บค้นหาข้อมูลเพื่อเข้าใจกลไกของตัวปั ญหา รวมทั้งวิธีการแก้ปัญหา
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นตอนการจัดการเรี ยนรู ้
1.ขั้นที่ 1 กาหนดปั ญหาจัดสถานการณ์ ต่าง ๆ กระตุ น้ ให้ผูเ้ รี ยนเกิ ดความสนใจ มองเห็ นปั ญหา
กาหนดสิ่ งที่เป็ นปั ญหาที่ผเู ้ รี ยนอยากรู ้อยากเรี ยน และเกิดความสนใจที่จะค้นหาคาตอบ
2.ทาความเข้าใจกับปั ญหา ผูเ้ รี ยนจะต้องสามารถอธิ บายสิ่ งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อกับปั ญหาได้
3.ดาเนินการศึกษาค้นคว้า กาหนดสิ่ งที่ตอ้ งการเรี ยนและดาเนินการศึกษาค้นคว้าอย่างหลากหลาย
4.สั ง เคราะห์ ความรู ้ ผูเ้ รี ย นนาความรู ้ ที่ ได้คน้ คว้ามาแลกเปลี่ ยนเรี ยนรู ้ ร่วมกัน อภิ ป รายผลและ
สังเคราะห์ความรู ้ที่ได้มาว่ามีความเหมาะสมหรื อไม่
5.สรุ ปและประเมินค่าของคาตอบ ผูเ้ รี ยนแต่ละกลุ่มสรุ ปสรุ ปผลงานของกลุ่มตนเอง ประเมินผลงาน
ว่าข้อมูลที่ได้ศึกษาค้นคว้ามีความเหมาะสมเพียงใด โดยการตรวจสอบแนวคิดภายในกลุ่มของตนเองอย่าง
อิสระ ทุกกลุ่มร่ วมกันสรุ ปองค์ความรู ้ในภาพรวมของปั ญหาอีกครั้ง
6.นาเสนอและประเมินผลงาน ผูเ้ รี ยนนาข้อมูลที่ได้มาจัดระบบองค์ความรู ้และนาเสนอในรู ป แบบ
ผลงานที่หลากหลาย ผูเ้ รี ยนทุกคนและผูเ้ กี่ยวข้องกับปั ญหา ร่ วมกันประเมินผลงาน
ประโยชน์มุ่งเน้นพัฒนาผูเ้ รี ยนในด้านทักษะและกระบวนการเรี ยนรู ้ และพัฒนาผูเ้ รี ยนให้สามารถเรี ยนรู ้ โดย
การชี้ นาตนเอง ซึ่ งผูเ้ รี ยนจะได้ฝึกฝนการสร้างองค์ความรู ้โดยผ่านกระบวนการคิดด้วยการแก้ปัญหาอย่างมี
ความหมายต่อผูเ้ รี ยน
การจัดการเรียนรู้ แบบค้ นพบ (Discovery Method)
แนวคิด
เป็ นกระบวนการเรี ยนรู ้ ที่เน้นให้ผูเ้ รี ยนค้นหาคาตอบ หรื อความรู ้ ด้วยตนเอง โดยผูส้ อนจะเป็ น
ผูส้ ร้างสถานการณ์ในลักษณะที่ผเู ้ รี ยนจะเผชิ ญกับปั ญหา ซึ่ งในการแก้ปัญหานั้น ผูเ้ รี ยนจะใช้กระบวนการที่
ตรงกับธรรมชาติของวิชาหรื อปั ญหานั้น เช่ นผูเ้ รี ยนจะศึกษาปั ญหาทางชี ววิทยา ก็จะใช้วิธีเดี ยวกันกับนัก
ชี ววิทยาศึกษา หรื อผุเ้ รี ยนจะศึกษาปั ญหาประวัติศาสตร์ ก็จะใช้วิธีการเช่นเดียวกับนักประวัติศาสตร์ ศึกษา
ดังนั้น จึงเป็ นวิธีจดั การเรี ยนรู ้ที่เน้นกระบวนการ เหมาะสาหรับวิชาวิทยาศาสตร์ คณิ ตศาสตร์ แต่ก็สามารถ
ใช้กบั วิธีอื่น ๆ ได้ ในการแก้ปัญหานั้น ผูเ้ รี ยนจะต้องนาข้อมูลทาการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุ ปเพื่อให้ได้
ข้อค้นพบใหม่หรื อเกิดความคิดรวบยอดในเรื่ องนั้น

151
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
การจัดการเรี ยนรู ้ แบบค้นพบเน้นให้ผูเ้ รี ยนค้นหาคาตอบหรื อความรู ้ ด้วยตนเอง ซึ่ งผูเ้ รี ยนจะใช้
วิธีการหรื อกระบวนการต่าง ๆ ที่เห็นว่ามีประสิ ทธิ ภาพและตรงกับธรรมชาติของวิชา หรื อปั ญหา ดังนั้นจึงมี
ผูน้ าเสนอวิธีการการจัดการเรี ยนรู ้ไวหลากหลาย เช่น การแนะให้ผเู ้ รี ยนพบหลักการทางคณิ ตศาสตร์ ด้วย
ตนเองโดยวิ ธี อุ ป นัย การที่ ผู ้เ รี ยนใช้ ก ระบวนการแก้ ปั ญ หาแล้ ว น าไปสู่ ก ารค้น พบ มี ก ารก าหนด
ปัญหา ตั้งสมมติฐานและรวบรวมข้อมูล ทดสอบสมมติฐานและสรุ ปข้อค้นพบ ซึ่ งอาจใช้วธิ ี การเก็บข้อมูล
จากการทดลองด้วย การที่ผสู ้ อนจัดโปรแกรมไว้ให้ผูเ้ รี ยนใช้การคิดแบบอุปนัยและนิ รนัยในเรื่ องต่างๆ ก็
สามารถได้ข ้อค้นพบด้วยตนเอง ผูส้ อนจะเป็ นผูใ้ ห้คาปรึ ก ษา แนะนาหรื อกระตุ ้นให้ผูเ้ รี ย นใช้วิธีหรื อ
กระบวนการที่เหมาะสม
จากเหตุ ผลดังกล่ าว ขั้นตอนการเรี ยนรู ้ จึงปรั บเปลี่ ยนไปตามวิธีหรื อกรอบกระบวนการต่ า งๆที่
ใช้ แต่ในที่น้ ีจะเสนอผลการพบความรู ้ ข้อสรุ ปใหม่ ด้วยการคิดแบบอุปนัยและนิรนัย
การจัดการเรี ยนรู ้แบบค้นพบมีข้ นั ตอนสาคัญดังต่อไปนี้
1. ขั้นนาเข้าสู่ บทเรี ยน
ผูส้ อนกระตุน้ และเร้าความสนใจของผูเ้ รี ยนให้สนใจที่จะศึกษาบทเรี ยน
2.ขั้นเรี ยนรู ้ ประกอบด้วย
2.1ผูส้ อนใช้วธิ ีจดั การเรี ยนรู ้ แบบอุปนัยในตอนแรก เพื่อให้ผเู ้ รี ยนค้นพบข้อสรุ ป
2.2 ผูส้ อนใช้วิธีตดั การเรี ยนรู ้ แบบนิ รนัย เพื่อให้ผูเ้ รี ยนนาข้อสรุ ปที่ได้ในข้อ 2 ไปใช้เพื่อเรี ยนรู ้ หรื อ
ค้นพบข้อสรุ ปใหม่ในตอนที่สอง โดยอาศัยเทคนิ คการซักถาม โต้ตอบ หรื ออภิปรายเพื่อเป็ นแนวทางใน
การค้นพบ
2.3 ผูเ้ รี ยนสรุ ปข้อค้นพบหรื อความคิดรวบยอดใหม่
3. ขั้นนาไปใช้
ผูส้ อนให้ผเู ้ รี ยนนาเสนอแนวทางการนาข้อค้นพบที่ได้ไปใช้ในการแก้ปัญหา อาจใช้วธิ ีการให้ทาแบบฝึ กหัด
หรื อแบบทดสอบหลังเรี ยน เพื่อประเมินผลว่าผูเ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้จริ งหรื อไม่
ประโยชน์
1. ช่วยให้ผเู ้ รี ยนคิดอย่างมีเหตุผล
2. ช่วยให้ผเู ้ รี ยนค้นพบสิ่ งที่คน้ พบได้นานและเข้าใจอย่างแจ่มแจ้ง
3. ผูเ้ รี ยนมีความมัน่ ใจ เพราะได้เรี ยนรู ้สิ่งใหม่อย่างเข้าใจจริ ง
4. ช่วยให้ผเู ้ รี ยนมีพฒั นาการทางด้านความคิด
5. ปลูกฝังนิสัยรักการอ่าน ค้นคว้าเพื่อหาคาตอบด้วยตนเอง
6. ก่อให้เกิดแรงจูงใจ ความพึงพอใจในตนเองต่อการเรี ยนสู ง
7. ผูเ้ รี ยนรู ้วธิ ีสร้างความรู ้ดว้ ยตนเอง เช่น การหาข้อมูล การวิเคราะห์และสรุ ปข้อความรู ้
8. เหมาะสมกับผูเ้ รี ยนที่ฉลาด มีความเชื่อมัน่ ในตนเองและมีแรงจูงใจสู ง
152
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

วิธีสอนแบบโมเดลซิปปา
หลักการจัดการเรี ยนการสอนแบบผู เ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง : โมเดลซิ ปปา ( CIPPA Model ) หลักการ
จัดการเรี ยนการสอนโมเดลซิ ปปา เป็ นหลักที่นามาใช้จดั การเรี ยนการสอนแบบผูเ้ รี ยนเป็ นศูนย์กลาง เสนอ
แนวคิดโดย รองศาสตราจารย์ ดร. ทิศนา แขมมณี อาจารย์ประจาภาควิชาประถมศึกษา คณะครุ ศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีจุดเน้นที่การจัดกิ จกรรมการเรี ยนการสอนให้ผูเ้ รี ยนมีส่วนร่ วมทั้งทางร่ างกาย
สติปัญญา สังคม และอารมณ์
หลักการจัดของโมเดลซิ ปปา มีองค์ประกอบที่สาคัญ 5 ประการ ได้แก่
C มาจากคาว่ า Construct หมายถึง การสร้ างความรู้ ตามแนวคิด การสรรค์สร้ างความรู ้ ได้แก่ กิ จกรรมที่
ช่ วยให้ผูเ้ รี ยนมีโอกาสสร้ างความรู ้ ดว้ ยตนเอง ซึ่ งทาให้ผูเ้ รี ยนเข้าใจและเกิ ดการเรี ยนรู ้ ที่มีความหมายต่ อ
ตนเองกิจกรรมนี้ช่วยให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมทางสติปัญญา
I มาจากคาว่ า Interaction หมายถึ ง การปฏิสัมพันธ์ กับบุ คคลและสิ่ งแวดล้ อมรอบตัว ได้แก่ กิ จกรรมที่
ผู ้เ รี ย นเกิ ด การเรี ย นรู ้ จ ากการเข้า ไปมี ป ฏิ สั ม พัน ธ์ ก ับ บุ ค คล เช่ น ครู เพื่ อ น ผู ้รู้ หรื อ มี ป ฏิ สั ม พัน ธ์ ก ับ
สิ่ งแวดล้อม เช่น แหล่งความรู ้ และสื่ อประเภทต่าง ๆ กิจกรรมนี้ ช่วยให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมทางสังคม
P มาจากคาว่า Physical Participation หมายถึง การมีส่วนร่ วมทางกาย ได้แก่ กิจกรรมที่ให้ผเู ้ รี ยนมีโอกาส
เคลื่อนไหวร่ างกายในลักษณะต่าง ๆ
P มาจากค าว่ า Process Learning หมายถึ ง การเรี ยนรู้ ก ระบวนการต่ า ง ๆ ที่เป็ นทักษะที่จ าเป็ นต่ อ การ
ด ารงชี วิ ต ได้แ ก่ กิ จ กรรมที่ ใ ห้ ผู ้เ รี ย นท าเป็ นขั้น ตอนจนเกิ ด การเรี ย นรู ้ ทั้ง เนื้ อ หาและกระบวนการ
กระบวนการที่นามาจัดกิจกรรม เช่น กระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม กระบวนการ
แสวงหาความรู ้ เป็ นต้น กิจกรรมนี้ช่วยให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมทางสติปัญญา
A มาจากคาว่ า Application หมายถึง การนาความรู้ ที่ได้ เรี ยนรู้ ไปประยุกต์ ใช้ ในสถานการณ์ ต่าง ๆ ได้แก่
กิ จกรรมที่ให้โอกาสผูเ้ รี ยนเชื่ อมโยงความรู ้ ทางทฤษฎี ไปสู่ การปฏิ บตั ิ ที่เป็ นประโยชน์ในชี วิตประจาวัน
กิจกรรมนี้ช่วยให้ผเู ้ รี ยนมีส่วนร่ วมในการเรี ยนรู ้ได้หลายอย่างแล้วแต่ลกั ษณะของกิจกรรม
การจัดการเรียนรู้ แบบนิรนัย (Deductive Method) (ส่ วนรวม ไป ส่ วนย่อย)
แ น ว คิ ด ก ร ะ บ ว น ก า ร ที่ ผู ้ ส อ น จั ด ก า ร เ รี ย น รู ้ ใ ห้ ผู ้ เ รี ย น มี ค ว า ม เ ข้ า ใ จ เ กี่ ย ว กั บ
กฎ ทฤษฎี หลักเกณฑ์ ข้อเท็จจริ งหรื อข้อสรุ ปตามวัตถุประสงค์ในบทเรี ยน จากนั้นจึงให้ตวั อย่างหลายๆ
ตัวอย่าง หรื ออาจให้ผูเ้ รี ยนฝึ กการนาทฤษฎี หลักการ หลักเกณฑ์ กฎหรื อข้อสรุ ปไปใช้ในสถานการณ์ที่
หลากหลาย หรื ออาจเป็ นหลักลักษณะให้ผเู ้ รี ยนหาหลักฐานเหตุผลมาพิสูจน์ยืนยันทฤษฎี กฎหรื อข้อสรุ ป
เหล่านั้น การจัดการเรี ยนรู ้แบบนี้ จะช่วยให้ผเู ้ รี ยนเป็ นคนมีเหตุผล ไม่เชื่ ออะไรง่ายๆ และมีความเข้าใจใน
กฎเกณฑ์ ทฤษฎี ข้อสรุ ปเหล่านั้นอย่างลึกซึ้ ง การสอนแบบนี้ อาจกล่าวได้วา่ เป็ นการสอนจากทฤษฎีหรื อ
กฎไปสู ตวั อย่างที่เป็ นรายละเอียด

153
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
การสอนแบบนิรนัยมีข้ นั ตอนสาคัญดังต่อไปนี้
1. ขั้นกาหนดขอบเขตของปั ญหา เป็ นการนาเข้าสู บทเรี ยนโดยการเสนอปั ญหาหรื อระบุสิ่ งที่ จะ
สอนในแง่ของปั ญหา เพื่อยัว่ ยุให้ผเู ้ รี ยนเกิดความสนใจที่จะหาคาตอบ ปั ญหาที่จะนาเสนอควรจะเกี่ยวข้อง
กับสถานการณ์ของชีวติ และเหมาะสมกับวุฒิภาวะของผูเ้ รี ยน
2. ขั้นแสดงและอธิ บายทฤษฎี หลักการ เป็ นการนาเอาทฤษฎี หลักการ กฎ ข้อสรุ ปที่ตอ้ งการ
สอนมาให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้ทฤษฎี หลักการนั้น
3. ขั้นใช้ทฤษฎี หลักการ เป็ นขั้นที่ผเู ้ รี ยนจะเลือกทฤษฎี หลักการ กฎ ข้อสรุ ป ที่ได้จากการเรี ยนรู ้
มาใช้ในการแก้ปัญหาที่กาหนดไว้ได้
4. ขั้นตรวจสอบและสรุ ป เป็ นขั้นที่ผเู ้ รี ยนจะตรวจสอบและสรุ ปทฤษฎี หลักการ กฎ ข้อสรุ ปหรื อ
นิ ยามที่ใช้วา่ ถูกต้อง สมเหตุสมผลหรื อไม่ โดยอาจปรึ กษาผูส้ อน หรื อค้นคว้าจากตาราต่างๆ หรื อจากการ
ทดลอง ข้อสรุ ปที่ได้พิสูจน์หรื อตรวจสอบว่าเป็ นจริ ง จึงจะเป็ นความรู ้ที่ถูกต้อง
5. ขั้นฝึ กปฏิบตั ิ เมื่อผูเ้ รี ยนเกิดความเข้าใจในทฤษฎี หลักการ กฎ ข้อสรุ ป พอสมควรแล้ว ผูส้ อน
เสนอสถานการณ์ใหม่ให้ผเู ้ รี ยนฝึ กนาความรู ้มาประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ใหม่ๆที่หลากหลาย
ประโยชน์
1. เป็ นวิธีการที่ช่วยในการถ่ายทอดเนื้อหาสาระได้ง่าย รวดเร็ วและไม่ยงุ่ ยาก
2. ใช้เวลาในการจัดการเรี ยนรู ้ไม่มากนัก
3. ฝึ กให้ผเู ้ รี ยนรู ้ได้นาเอาทฤษฎี หลักการ กฎ ข้อสรุ ปหรื อนิยามไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ๆ
4.ใช้ได้ผลดีในการจัดการเรี ยนรู ้วชิ าศิลปศึกษาและคณิ ตศาสตร์
5. ฝึ กให้ผเู ้ รี ยนมีเหตุผล ไม่เชื่ออะไรง่ายๆ โดยไม่มีการพิสูจน์ให้เห็นจริ ง
การจัดการเรียนรู้ แบบอุปนัย(Induction Method) (จากส่ วนย่อยไปหาส่ วนใหญ่)
แนวคิด
กระบวนการที่ ผ้ ู ส อนจากรายละเอี ย ดปลี ก ย่ อ ย หรื อ จากส่ วนย่ อ ยไปหาส่ วนใหญ่ หรื อ
กฎเกณฑ์ หลักการ ข้อเท็จจริ งหรื อข้อสรุ ป โดยการนาเอาตัวอย่างข้อมู ล เหตุการณ์ สถานการณ์ หรื อ
ปรากฏการณ์ ที่มีหลักการแฝงอยูม่ าให้ผเู ้ รี ยนศึกษา สังเกต ทดลอง เปรี ยบเทียบหรื อวิเคราะห์จนสามารถ
สรุ ปหลักการหรื อกฎเกณฑ์ได้ดว้ ยตนเอง
การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้
การจัดการเรียนรู้ แบบอุปนัยมีข้ นั ตอนสาคัญดังต่ อไปนี้
1. ขั้นเตรี ยมการ เป็ นการเตรี ยมตัวผูเ้ รี ยน ทบทวนความรู ้เดิมหรื อปูพ้นื ฐานความรู ้
2. ขั้นเสนอตัวอย่าง เป็ นขั้นที่ผสู ้ อนนาเสนอตัวอย่างข้อมูล สถานการณ์ เหตุการณ์ ปรากฏการณ์ หรื อ
แนวคิดให้ผเู ้ รี ยนได้สังเกตลักษณะและคุณสมบัติของตัวอย่างเพื่อพิจารณาเปรี ยบเทียบสรุ ปเป็ น

154
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

หลักการ แนวคิด หรื อกฎเกณฑ์ ซึ่ งการนาเสนอตัวอย่างควรเสนอหลายๆตัวอย่างให้มากพอที่ผเู ้ รี ยน


สามารถสรุ ปเป็ นหลักการหรื อหลักเกณฑ์ต่างๆได้
3.ขั้นเปรียบเทียบ เป็ นขั้นที่ผเู ้ รี ยนทาการสังเกต ค้นคว้า วิเคราะห์ รวบรวม เปรี ยบเทียบความคล้ายคลึง
กั น ขององค์ ป ระกอบในตั ว อย่ า ง แยกแยะข้ อ แตกต่ า ง มองเห็ น ความสั ม พัน ธ์ ใ นรายละเอี ย ดที่
เหมือนกัน ต่างกันในขั้นนี้ หากตัวอย่างที่ให้แก่ผูเ้ รี ยนเป็ นตัวอย่างที่ ดี ครอบคลุมลักษณะหรื อคุณสมบัติ
สาคัญๆของหลักการ ทฤษฎีก็ยอ่ มจะช่วยให้ผเู ้ รี ยนสามารถศึกษาและวิเคราะห์ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ได้
อย่างรวดเร็ ว แต่หากผูเ้ รี ยนไม่ประสบความสาเร็ จ ผูส้ อนอาจให้ขอ้ มูลเพิ่มเติม หรื อใช้วธิ ีกระตุน้ ให้ผเู ้ รี ยน
ได้คิดค้นต่อไป โดยการตั้งคาถามกระตุน้ แต่ไม่ควรให้ในลักษณะบอกคาตอบ เพราะวิธีสอนนี้ มุ่งให้ผเู ้ รี ยน
ได้คิด ทาความเข้าใจด้วยตนเอง ควรให้ผูเ้ รี ยนได้ร่วมกันคิดวิเคราะห์เป็ นกลุ่มย่อย เพื่อจะได้แลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นซึ่ งกันและกัน โดยเน้นให้ผเู ้ รี ยนทุกคนมีส่วนร่ วม ในการอภิปรายกลุ่มอย่างทัว่ ถึง และผูส้ อน
ไม่ควรรี บร้อนหรื อเร่ งเร้าผูเ้ รี ยนจนเกินไป
4. ขั้นกฎเกณฑ์ เป็ นการให้ผเู ้ รี ยนนาข้อสังเกตต่างๆ จากตัวอย่างมาสรุ ปเป็ นหลักการ กฎเกณฑ์หรื อนิยาม
ด้วยตัวผูเ้ รี ยนเอง
5. ขั้นนาไปใช้ ในขั้นนี้ ผูส้ อนจะเตรี ยมตัวอย่างข้อมูล สถานการณ์ เหตุการณ์ ปรากฏการณ์หรื อความคิด
ใหม่ๆ ที่หลากหลายมาให้ผเู ้ รี ยนใช้ในการฝึ กความรู ้ ข้อสรุ ปไปใช้ หรื อ ผูส้ อนอาจให้โอกาสผูเ้ รี ยนช่วยกัน
ยกตัวอย่างจากประสบการณ์ของผูเ้ รี ยนเองเปรี ยบเทียบก็ได้ เป็ นการส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนนาความรู ้ที่ได้รับไป
ใช้ในชี วิตประจาวัน และจะทาให้ผูเ้ รี ยนเกิ ดความเข้าใจอย่างลึ กซึ้ งยิ่งขึ้น รวมทั้งเป็ นการทดสอบความ
เข้าใจของผูเ้ รี ยนว่าหลักการที่ได้รัยนั้น สามารถนาไปใช้แก้ปัญหาและทาแบบฝึ กหัดได้หรื อไม่หรื อเป็ นการ
ประเมินว่าผูเ้ รี ยนได้บรรลุวตั ถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้หรื อไม่นนั่ เอง
ประโยชน์
1. เป็ นวิธีการที่ทาให้ผเู ้ รี ยนสามารถค้นพบความรู ้ดว้ ยตนเอง ทาให้เกิดความเข้าใจและจดจาได้นาน
2. เป็ นวิธีการที่ฝึกให้ผเู ้ รี ยนได้พฒั นาทักษะการสังเกต คิดวิเคราะห์ เปรี ยบเทียบ ตามหลักตรรกศาสตร์และ
หลักวิทยาศาสตร์ สรุ ปด้วยตนเองอย่างมีเหตุผลอันจะเป็ นเครื่ องมือสาคัญของการเรี ยนรู ้ ซึ่ งใช้ได้ดีกบั การ
วิชาวิทยาศาสตร์
3. เป็ นวิธีการที่ผูเ้ รี ยนได้ท้ งั เนื้ อหาความรู ้ และกระบวนการซึ่ งผูเ้ รี ยนสามารถนาไปใช้ประโยชน์ใ นการ
เรี ยนรู ้เรื่ องอื่นๆได้
วิ ธี ส อนแบบแก้ ปั ญ หา (Problem-Solving Method) เป็ นการสอนที่ เ น้ น ขั้น ตอนในการแก้ ปั ญ หาตาม
หลักการของ John Dewey มีข้ นั ตอน ดังนี้
1.ขั้นตั้งปั ญหา 2.ขั้นสมมุติฐานและว่างแผนในการแก้ปัญหา
3.ขั้นทดลองและเก็บของมูล 4.ขั้นวิเคราะห์ขอ้ มูล
5.ขั้นสรุ ปผล

155
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

กระบวนการแก้ปัญหาตามหลักอริยสั จ 4 โดยสาโรช บัวศรี


เป็ นผูร้ ิ เริ่ มจุดประกายความคิดในการนาหลักพุทธศาสนามาประยุกต์ใช้กบั การจัดการเรี ยนการสอน
ซึ่ งกระบวนการแก้ปัญหาตามหลักอริ ยสัจ 4 เป็ นรู ปแบบกระบวนการจัดการเรี ยนรู ้ ที่ประยุกต์หลักธรรม
อริ ยสัจ 4 ประการ คือ ทุกข์ สมุทยั นิโรธ และมรรค โดยใช้ควบคู่กบั แนวทางปฏิบตั ิที่เรี ยกกว่า "กิจในอริ ยสัจ
4" ประกอบด้วย ปริ ญญา (การกาหนดรู ้) ปหานะ (การละ) สัจฉิ กิริยา (การทาให้แจ้ง) และภาวนา (การเจริ ญ
หรื อการลงมือปฏิบตั ิ) โดยประกอบด้วยกระบวนการแก้ปัญหา 4 ขั้น ดังนี้
1. ขั้นกาหนดปั ญหา (ขั้นทุกข์) คือ การให้ผเู ้ รี ยนระบุปัญหาที่ตอ้ งการแก้ไข
2. ขั้นตั้งสมมติฐาน (ขั้นสมุทยั ) คือ การให้ผเู ้ รี ยนวิเคราะห์หาสาเหตุของปั ญหา และตั้งสมมติฐาน
3. ขั้นทดลองและเก็บข้อมูล (ขั้นนิ โรธ) คือ การให้ผเู ้ รี ยนกาหนดวัตถุ ประสงค์ และวิธีการทดลอง
เพื่อพิสูจน์สมมติฐานและเก็บรวบรวมข้อมูล
4. ขั้นวิเคราะห์ขอ้ มูลและสรุ ปผล (ขั้นมรรค) คือการนาข้อมูลมาวิเคราะห์และสรุ ป
กระบวนการเรียนการสอนของรู ปแบบ แอล.ที. ( L.T )
“ L.T. ” คือ “Learning Together” ซึ่ งมีกระบวนการที่ง่ายไม่ซบั ซ้อน ดังนี้
1 จัดผูเ้ รี ยนเข้ากลุ่มคละความสามารถ ( เก่ง - กลาง - อ่อน ) กลุ่มละ 4 คน
2 กลุ่มย่อยกลุ่มละ 4 คน ศึกษาเนื้ อหาร่ วมกันโดยกาหนดให้แต่ละคนมีบทบาทหน้าที่ช่วยกลุ่มในการเรี ยนรู ้
ตัวอย่างเช่น
สมาชิกคนที่ 1 : อ่านคาสั่ง
สมาชิกคนที่ 2 : หาคาตอบ
สมาชิกคนที่ 3 : หาคาตอบ
สมาชิกคนที่ 4 : ตรวจคาตอบ
3 กลุ่มสรุ ปคาตอบร่ วมกัน และส่ งคาตอบนั้นเป็ นผลงานกลุ่ม
4 ผลงานกลุ่มได้คะแนนเท่าไร สมาชิกทุกคนในกลุ่มนั้นจะได้คะแนนนั้นเท่ากันทุกคน
ที่มา : ทิศนา แขมมณี . (2548). ศาสตร์ การสอน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุ งเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กระบวนการเรียนการสอนของรู ปแบบ จี.ไอ. ( G.I. )
“ G.I. ” คือ “ Group Investigation ” รู ปแบบนี้ เป็ นรู ปแบบที่ส่งเสริ มให้ผูเ้ รี ยนช่ วยกันไปสื บค้นข้อมูลมาใช้
ในการเรี ยนรู ้ร่วมกัน โดยดาเนินการเป็ นขั้นตอน ดังนี้
1 จัดผูเ้ รี ยนเข้ากลุ่มคละความสามารถ ( เก่ง-กลาง-อ่อน ) กลุ่มละ 4 คน
2 กลุ่มย่อยศึกษาเนื้อหาสาระร่ วมกัน โดย
ก. แบ่งเนื้อหาออกเป็ นหัวข้อย่อย ๆ แล้วแบ่งกันไปศึกษาหาข้อมูลหรื อคาตอบ
ข. ในการเลือกเนื้อหา ควรให้ผเู ้ รี ยนอ่อนเป็ นผูเ้ ลือกก่อน
3 สมาชิกแต่ละคนไปศึกษาหาข้อมูล /คาตอบมาให้กลุ่ม กลุ่มอภิปรายร่ วมกัน และสรุ ปผลการศึกษา
4 กลุ่มเสนอผลงานของกลุ่มต่อชั้นเรี ยน
156
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ที่มา : ทิศนา แขมมณี . (2548). ศาสตร์ การสอน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุ งเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
การเรียนการสอนของรู ปแบบ เอส.ที.เอ.ดี. ( STAD )
“ STAD ” คือ “Student Teams Achievement Division” กระบวนการดาเนินการมีดงั นี้
1 จัดผูเ้ รี ยนเข้ากลุ่มคละความสามารถ ( เก่ง - กลาง - อ่อน ) กลุ่มละ 4 คนและเรี ยกกลุ่มนี้ ว่ากลุ่ม
บ้านของเรา (Home Group)
2 สมาชิกในกลุ่มบ้านของเรา ได้รับเนื้อหาสาระและศึกษาเนื้อหาสาระนั้นร่ วมกันเนื้อหาสาระนั้นอา
จะมีหลายตอนซึ่ งผูเ้ รี ยนอาจต้องทาแบบทดสอบในแต่ละตอนและเก็บคะแนนของตนไว้
3 ผูเ้ รี ยนทุกคนทาแบบทดสอบครั้งสุ ดท้าย ซึ่ งเป็ นการทดสอบรวบยอดและนาคะแนนของตน
ไปหาคะแนนพัฒนาการ (Improvement Score) ซึ่ งหาได้ดงั นี้
คะแนนพื้นฐาน : ได้จากค่าเฉลี่ยของคะแนนทดสอบย่อยหลาย ๆ ครั้งที่ผเู ้ รี ยน แต่ละคนทาได้
คะแนนพัฒนาการ : ถ้าคะแนนที่ได้คือ
- 11 ขึ้นไป คะแนนพัฒนาการ = 0
- 1 ถึง -10 คะแนนพัฒนาการ = 10
+1 ถึง +10 คะแนนพัฒนาการ = 20
+11 ขึ้นไป คะแนนพัฒนาการ = 30
4.4 สมาชิ กในกลุ่มบ้านของเรานาคะแนนพัฒนาการของแต่ละคนในกลุ่มมารวมกัน เป็ นคะแนนของกลุ่ม
กลุ่มใดได้คะแนนพัฒนาการของกลุ่มสู งสุ ด กลุ่มนั้นได้รางวัล
กระบวนการเรียนการสอนของรู ปแบบจิ๊กซอร์ ( Jigsaw )
1 จัดผู้เรียนเข้ ากลุ่มคละความสามารถ ( เก่ ง-กลาง-อ่อน ) กลุ่มละ 4 คนและเรี ยกกลุ่มนี้วา่ กลุ่มบ้าน
ของเรา (home group)
2 สมาชิ กในกลุ่มบ้านของเราได้รับมอบหมายให้ศึกษาเนื้ อหาสาระคนละ 1 ส่ วน (เปรี ยบเสมือนได้
ชิ้นส่ วนของภาพตัดต่อคนละ 1 ชิ้น) และหาคาตอบในประเด็นปั ญหาที่ผสู ้ อนมอบหมายให้
3 สมาชิกในกลุ่มบ้านของเรา แยกย้ายไปรวมกับสมาชิกกลุ่มอื่นซึ่ งได้รับเนื้อหาเดียวกัน ตั้งเป็ นกลุ่ม
ผูเ้ ชี่ ยวชาญ (expert group) ขึ้นมา และร่ วมกันทาความเข้าใจในเนื้ อหาสาระนั้นอย่างละเอียด และร่ วมกัน
อภิปรายหาคาตอบประเด็นที่ผสู ้ อนมอบหมายให้
4 สมาชิ กกลุ่มผูเ้ ชี่ ยวชาญ กลับไปสู่ กลุ่มบ้านของเรา แต่ละกลุ่ มช่ วยสอนเพื่อนในกลุ่ ม ให้เข้าใจ
สาระที่ตนได้ศึกษาร่ วมกับกลุ่มผูเ้ ชี่ยวชาญเช่นนี้ สมาชิกทุกคนก็จะได้เรี ยนรู ้ภาพรวมของสาระทั้งหมด
5 ผูเ้ รี ยนทุกคนทาแบบทดสอบ แต่ละคนจะได้คะแนนเป็ นรายบุคคล และนาคะแนนของทุกคนใน
กลุ่มบ้านของเรามารวมกัน (หรื อหาค่าเฉลี่ย ) เป็ นคะแนนกลุ่ม กลุ่มที่ได้คะแนนสู งสุ ดได้รับรางวัล

157
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

เทคนิคการสอนหมวก 6 ใบ คิด 6 แบบ Six Thinking Hats 6 หมวกการคิด ดร.เอ็ดเวิร์ด เดอ โบโน
Six Thinking Hats สู ตรบริ หารความคิดของ "เดอ โบโน" จะประกอบด้วยหมวก 6 ใบ 6 สี คือ
White Hat หมวกสี ขาว สี ขาวเป็ นสี ที่ช้ ี ให้เห็ นถึงความเป็ นกลาง จึงเกี่ ยวข้องกับข้อเท็จจริ ง จานวนตัวเลข
เมื่ อสวมหมวกสี น้ ี หมายความว่าที่ ประชุ มต้องการข้อเท็จจริ งเท่านั้น คื อ ข้อมู ลเบื้ องต้นของสิ่ งนั้นๆ ไม่
ต้องการความคิดเห็น
Red Hat หมวกสี แดง สี แดงเป็ นสี ที่แสดงถึ ง อารมณ์ และความรู ้ สึก เมื่ อสวมหมวกสี น้ ี เราสามารถบอก
ความรู ้สึกของตนเองว่าชอบ ไม่ชอบ ดี ไม่ดี ซึ่ งส่ วนใหญ่การแสดงอารมณ์จะไม่มีเหตุผลประกอบ
Black Hat หมวกสี ดา สี ดา เป็ นสี ที่แสดงถึงความโศกเศร้า และการปฏิเสธ เมื่อสวมหมวกสี น้ ี ต้องพูดถึงจุด
ด้อย อุปสรรคโดยมีเหตุผลประกอบ ข้อที่ควรคานึ งถึ ง เช่ น เราควรทาสิ่ งนี้ หรื อไม่ ไม่ควรทาสิ่ งนี้ หรื อไม่
เหมาะสมหรื อไม่ ทาให้การคิดมีความรอบคอบมากขึ้น
Yellow Hat หมวกสี เหลือง สี เหลื อง คือสี ของแสงแดด และความสว่างสดใส เมื่อสวมหมวกสี น้ ี หมายถึง
การคิดถึงจุดเด่น โอกาส สิ่ งที่เป็ นประโยชน์ เป็ นข้อมูลในเชิ งบวก เป็ นการเปิ ดโอกาสให้พฒั นา สร้างสรรค์
สิ่ งใหม่ๆ
Green Hat หมวกสี เขียว สี เขียว เป็ นสี ที่แสดงถึงความอุดมสมบูรณ์ และการเจริ ญเติบโต เมื่อสวมหมวกสี น้ ี
จะแสดงความคิดใหม่ๆ เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีข้ ึน การคิดอย่างสร้างสรรค์
Blue Hat หมวกสี น้า เงิน สี น้ า เงิ นเป็ นสี ที่ ให้ค วามรู ้ สึก สงบ จะเป็ นเหมื อนท้องฟ้ า หมวกนี้ เกี่ ย วกับการ
ควบคุม การบริ หารกระบวนการคิด หรื อการจัดระเบียบการคิด

รู ปแบบการจัดกิจกรรมเรียนรู้ แบบวัฏจักรการเรียนรู้ 4 MAT คือ


***การจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้ นเรื่ อง ความแตกต่ างระหว่ างบุคคล**
โดยได้รับอิทธิ พลแนวคิดจากทฤษฎี การเรี ย นรู ้ ของคอล์ม (Kolb) ที่เสนอแนวความคิ ด เรื่ องรู ปแบบการ
เรี ยนรู ้ ว่า การเรี ยนรู ้ เกิ ดจากความสัมพันธ์ 2 มิติ คือ การรับรู ้ (perception) และกระบวนการจัดการข้อมูล
(processing) การรับรู ้ของบุคคลอาจเป็ นประสบการณ์ ตรง อาจเป็ นความคิดรวบยอดหรื อมโนทัศน์ที่เป็ น
นามธรรม ส่ วนกระบวนการจัดกระทากับข้อมูลคื อการลงมื อปฏิ บตั ิ ในขณะที่บางคนเรี ยนรู ้ โดยผ่า นการ
สังเกต และนาข้อมูลนั้นมาคิดอย่างไตร่ ตรอง แมคคาร์ ธีแบ่งผูเ้ รี ยนออกเป็ น 4 แบบ คือ 1) ผูเ้ รี ยนที่ถนัดการ
เรี ย นรู ้ โ ดยจิ น ตนาการ(Imaginative Learners) 2) ผู ้เ รี ย นที่ ถ นัด การรั บ รู ้ ม โนทัศ น์ ที่ เ ป็ นนามธรรม น า
กระบวนการสังเกตอย่างไตร่ ตรอง หรื อเรี ยกว่าผูเ้ รี ยนที่ถนัดการวิเคราะห์ (Analytic Learners) 3)ผูเ้ รี ยนที่
ถนัด การรั บ รู ้ ม โนทัศ น์ แ ล้ว ผ่า นกระบวนการลงมื อ ท าหรื อ ที่ เ รี ย กว่า ผู เ้ รี ย นที่ ถ นัด การใช้ส ามัญ ส านึ ก
(Commonsense Learners) และ 4) ผูเ้ รี ยนที่ถนัดการรับรู ้จากประสบการณ์ที่เป็ นรู ปธรรมและนาสู่

158
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

การสอนโดยใช้ สถานการณ์จาลอง (Simulation)


ความหมาย
วิธีการสอนโดยใช้สถานการณ์จาลอง คือ การสอนที่จาลองสถานการณ์จริ งในไว้ในชั้นเรี ยน โดย
พยายามท าให้เหมื อนจริ ง ที่ สุ ด มี ก ารก าหนดกติ ก าหรื อเงื่ อนไข แล้วแบ่ ง ผูเ้ รี ย นเป็ นกลุ่ ม ให้เข้า ไปใน
สถานการณ์ จาลองนั้นๆ ด้วยกิ จกรรมนี้ ผูเ้ รี ยนจะเกิ ดการเรี ยนรู ้ จากการเผชิ ญกับปั ญหา ซึ่ งจะต้องมี การ
ตัดสิ นและใช้ไหวพริ บ
จุดมุ่งหมาย
เพื่อให้ผเู ้ รี ยนได้เข้าไปมีปฏิสัมพันธ์กบั สถานการณ์ จาลองจนเกิ ดความเข้าใจสถานการณ์ ต่างๆ ได้
อย่างถ่ องแท้ สถานการณ์ ที่จาลองขึ้ นจะต้องใกล้เคี ยงกับความเป็ นจริ ง ผูเ้ รี ยนที่ เข้าไปมี ปฏิ สัมพันธ์ กบั
สถานการณ์น้ นั จะต้องทาการตัดสิ นใจแก้ไขปั ญหาต่างๆ ส่ วนผลการตัดสิ นใจก็จะจาลองให้เกิดขึ้นต่อผูเ้ รี ยน
ในลักษณะเดียวกับที่เกิดขึ้นในสถานการณ์จริ ง
วิธีการสอนโดยใช้ สถานการณ์จาลอง มีดังนี้
1. ขั้นเตรี ยม ผูส้ อนจัดเตรี ยมสถานการณ์ จาลอง โดยกาหนดจุดมุ่งหมายของการสอน แล้วเลื อก
รู ปแบบที่เหมาะสม ตลอดจนเขียนรายละเอียดเนื้อหาและอุปกรณ์ที่ตอ้ งใช้
2. ขั้นดาเนิ นงาน ผูส้ อนอธิ บายบทบาท กติกา วิธีการเล่น และวิธีการให้คะแนน แล้วแบ่งกลุ่ม
ผูเ้ รี ยนเพื่อปฏิบตั ิภารกิจที่กาหนด โดยมีผสู ้ อนคอยให้ขอ้ แนะนาและดูแลการปฏิบตั ิในสถานการณ์จาลอง
ของผูเ้ รี ยนด้วยการสังเกต จดบันทึก และให้คะแนนผูเ้ รี ยนเป็ นรายบุคคล
3. ขั้นสรุ ปผล ผูส้ อนจะช่วยสรุ ปผลของสถานการณ์จาลอง โดยวิเคราะห์กระบวนการแก้ปัญหาที่
ผูเ้ รี ยนใช้ เปรี ยบเทียบผลของสถานการณ์จาลองกับโลกแห่งความเป็ นจริ ง หรื อเชื่อมโยงกิจกรรมที่ปฏิบตั ิไป
แล้วกับเนื้อหาวิชาที่เรี ยน
ข้ อควรคานึงของการสอนโดยใช้ สถานการณ์จาลอง มีดังนี้
1. ถ้าผูส้ อนขาดความรู ้ความเข้าใจในการสร้างสถานการณ์จาลอง อาจสร้างผิดไปจากจุดมุ่งหมายได้
2. สถานการณ์จาลองที่ยากเกินไปจะทาให้ผเู ้ รี ยนไม่เข้าใจ
3. เป็ นการยากที่จะประเมินผูเ้ รี ยนเป็ นรายบุคคลได้

จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว
จิตวิทยา (อังกฤษ: psychology) คือ ศาสตร์ ทวี่ ่ าด้ วยการศึกษาเกี่ยวกับจิตใจ (กระบวนการของจิต) ,
กระบวนความคิด, และพฤติกรรม ของมนุษย์ ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เนื้ อหาที่นกั จิตวิทยาศึกษา
เช่น การรับรู ้ (กระบวนการรับข้อมูลของมนุษย์) , อารมณ์, บุคลิกภาพ, พฤติกรรม, และรู ปแบบความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล จิตวิทยายังมีความหมายรวมไปถึงการประยุกต์ใช้ความรู ้กบั กิจกรรมในด้านต่าง ๆ ของมนุษย์
ที่เกิดขึ้นในชีวติ ประจาวัน (เช่นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในครอบครัว, ระบบการศึกษา, การจ้างงานเป็ นต้น) และยัง
รวมถึงการใช้ความรู ้ทางจิตวิทยาสาหรับการรักษาปัญหาสุ ขภาพจิต นักจิตวิทยามีความพยายามที่จะศึกษาทา
159
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ความเข้าใจถึงหน้าที่หรื อจุดประสงค์ต่าง ๆ ของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากตัวบุคคลและพฤติกรรมที่เกิดขึ้นใน


สังคม ขณะเดี ยวกันก็ทาการศึ กษาขั้นตอนของระบบประสาทซึ่ งมี ผลต่อการควบคุ มและแสดงออกของ
พฤติกรรมจิตวิทยา มาจากคาในภาษาอังกฤษว่า Psychology ซึ่งมีรากศัพท์มาจากภาษากรี ก 2 คา คือ
Psyche หมายถึง จิตวิญญาณ
Logos หมายถึง ศาสตร์ วิชา วิทยาการ
เป้ าหมายของการศึกษาจิตวิทยา คือ ช่ วยให้ผูศ้ ึกษาได้เรี ยนรู ้พฤติกรรมของมนุ ษย์ด้วยวิธีการ
วิทยาศาสตร์โดยมีเป้าหมายที่สาคัญ 4 ประการ คือ
1.เพื่ออธิบายพฤติกรรมของบุคคล ขั้นต่า
2.เพื่อเข้าใจพฤติกรรมของบุคคล
3.เพื่อทานายหรื อพยากรณ์พฤติกรรมของบุคคล
4.เพื่อควบคุมพฤติกรรมของบุคคล ขั้นสู ง
“พฤติกรรม” เราหมายถึง การกระทาที่แสดงออกมาโดยสังเกตเห็นได้ หรือสามารถใช้เครื่องวัดได้
ในทางจิตวิทยาเราจะแยกความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งเร้าอินทรีย์และการตอบสนองออกมาในรูปแบบเช่นนี้ คือ
สิ่งเร้า > อินทรีย์ > การตอบสนอง

ความหมายของพฤติกรรม
มีผใู ้ ห้ความหมายคาว่า “ พฤติกรรม” (behavior) ไว้มาก ที่น่าสนใจเช่น เวดและทาฟรี ส (Wade and Tavris
1999 : 245 ) อธิ บายว่า พฤติกรรมคือการกระทาของคนเราทีส่ ั งเกตได้ ซืมบาร์ โดและเกอร์ ริก (Zimbardo
and Gerrig 1999 : 3) อธิ บายว่า พฤติกรรมเป็ นการกระทาของบุคคลเพื่อปรับตัวต่อสิ่ งแวดล้อม ซึ่ งเป็ น
พฤติกรรมที่สังเกตได้ และลาเฮย์ (Lahey 2001 : 5) กล่าวว่า พฤติกรรมเป็ นการประพฤติปฏิบตั ิของบุคคล
ที่สามารถสังเกตได้
จากความหมายและคาอธิ บายที่อา้ งถึงไว้ อาจกล่าวได้วา่ พฤติกรรมคือการกระทา ของบุคคลในทุก
ลักษณะ ทั้งที่เป็ นโดยธรรมชาติทางสรี ระและที่จงใจกระทา ซึ่ งอาจจะรู ้ตวั หรื อไม่รู้ตวั และ เป็ นการกระทา
ที่สังเกตได้โดยอาจใช้ประสาทสัมผัสธรรมดาหรื อใช้เครื่ องมือช่วยการสังเกต
ประเภทของพฤติกรรม
การศึกษาพฤติกรรมยุคปั จจุบนั ไม่สู้เน้นการแบ่งประเภทของพฤติกรรมนัก แต่ในที่น้ ี ได้พิจารณา
เห็ น ว่ า การแบ่ ง ประเภทของพฤติ ก รรมจะช่ ว ยให้ เ ข้า ใจแนวทางการพัฒ นาพฤติ ก รรมได้ง่ า ยขึ้ น ซึ่ ง
นักจิตวิทยานิยมแบ่งพฤติกรรมได้เป็ น 2 ประเภท ดังนี้
(1) พฤติกรรมภายนอก (overt behavior) เป็ นพฤติกรรมที่สังเกตได้โดยชัดเจนแยกได้อีกเป็ น 2
ชนิดคือ

160
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

(1.1) พฤติกรรมที่สังเกตได้โดยไม่ตอ้ งใช้เครื่ องมือช่วย เช่น การพูด การหัวเราะ การร้องไห้ การ


เคลื่อนไหวของร่ างกาย หรื อแม้แต่การเต้นของหัวใจ ซึ่ งผูอ้ ื่นสังเกตได้โดยอาศัยประสาทสัมผัส
(1.2) พฤติ กรรมที่ ตอ้ งใช้เครื่ องมื อหรื อการวิเคราะห์ เชิ งวิทยาศาสตร์ เช่ น การเปลี่ ยนแปลงของ
สารเคมีหรื อปริ มาณน้ าตาลในกระแสเลือด การทางานของกระเพาะอาหารและ ลาไส้ ซึ่ งไม่สามารถสังเกต
ได้ดว้ ยตาเปล่าหรื อประสาทสัมผัสเปล่า
(2) พฤติกรรมภายในหรื อ “ ความในใจ” (covert behavior) เป็ นพฤติกรรมที่เจ้าตัวเท่า นั้นจึงจะรู ้ดี
ถ้าไม่บอกใคร ไม่แสดงออกก็ไม่มีใครรู ้ได้ดี เช่น การจา การรับรู ้ การ เข้าใจ การได้กลิ่น การได้ยิน การ
ฝัน การหิ ว การโกรธ ความคิด การตัดสิ นใจ เจตคติ จินตนาการ พฤติกรรมเหล่านี้ อาจมีผลทาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงทางกาย เช่น ขณะใช้ความคิดคลื่นสมองทางานมาก หรื อขณะโกรธปริ มาณน้ าตาลในกระแส
เลือดมีมาก ซึ่งวัดได้โดยเครื่ องมือ แต่ก็ไม่มีใครรู ้ละเอียดลงไปได้วา่ เขาคิดอะไร หรื อ เขารู ้สึกอย่างไร คนรู ้
ละเอียดคือเจ้าของพฤติกรรมนั้น

แนวคิดนักจิตวิทยากลุ่มต่ างๆ
1.กลุ่มโครงสร้ างทางจิต (Structuralism)
ผูน้ ากลุ่ มความคิ ดนี้ คือ วิลเฮล์ม วุนต์ แนวคิ ดนี้ สนใจศึ กษาเกี่ ยวกับโครงสร้ าวของจิตสานึ กของ
มนุ ษ ย์ โดยมี แนวคิ ดว่า จิ ตสานึ ก ของมนุ ษ ย์ป ระกอบด้วย ธาตุ ท างจิ ต 3 ชนิ ดคื อ การรู ้ สึ ก อารมณ์ และ
จินตนาการ โดยในการศึกษาจิตธาตุท้ งั 3 ชนิด จะใช้วธิ ี พิจารณาภายใน ซึ่ งไม่เป็ นวิทยาศาสตร์ เพราะข้อมูลที่
ได้จากการรายงานความรู ้สึกของผูถ้ ูก ศึกษามีความเป็ นอัตนัยสู ง

การศึกษาทดลองของวูนท์ (บิดาแห่ งจิตวิทยาการทดลอง) ใช้วิธีการสารวจตัวเอง (Introspection)


ใช้การทดลองโดยใช้สิ่งเร้ าเป็ นตัวกระตุน้ เช่ นไฟฟ้ าสี ระดับเสี ยงสู งและต่ ากลิ่ นอุณหภูมิความร้ อนความ
หนาวเป็ นต้นผูถ้ ูกทดลองจะเป็ นผูเ้ ล่ารายละเอียด ความรู ้สึก ประสาท สัมผัส และมโนภาพ จากประสบการณ์
ที่ ต นได้ รั บ จากการทดลองว่ า ความรู ้ สึ ก อย่ า งไรเมื่ อ ได้ รั บ สิ่ ง เร้ า ต่ า งๆเป็ นตัว กระตุ ้น ซึ่ งต้ อ งอาศัย
ประสบการณ์ ของแต่ละคน ที่มีอยูเ่ ดิม

2.กลุ่มหน้ าทีข่ องจิต (Functionalism)


แนว คิดของกลุ่มหน้าที่ทางจิตให้ความสาคัญกับวิธีการทีมนุษย์ใช้ในการปรับตัว เข้ากับสิ่ งแวดล้อม
นักจิตวิทยาในกลุ่มนี้ ให้ความเห็นว่า จิตเป็ นตัวก่อให้เกิดปั ญหา เป็ นอวัยวะที่สาคัญที่สุดที่มนุ ษย์ใช้ในการ
ปรั บ ตัวเพื่ อดารงชี วิตอยู่ไ ด้ ซึ่ ง แสดงให้เห็ นถึ ง ความสนใจของนัก จิ ตวิท ยาในการศึ ก ษาความสั ม พัน ธ์
ระหว่างจิตกับพฤติกรรม

161
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

3.กลุ่มพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)
จอห์น บี วัตสัน นักจิตวิทยาชาวอเมริ กนั ผูน้ าแนวคิดที่สาคัญที่เสนอให้มีการศึกษาพฤติกรรมของ
มนุษย์ในด้านที่สังเกต และมองเห็นได้ ซึ่ งจัดว่าเป็ นการศึกษาที่เป็ นวิทยาศาสตร์ แนวคิดของพฤติกรรมนิ ยม
เน้นว่า พฤติ กรรมทุ กอย่างต้องมี เหตุ และเหตุ น้ นั อาจมาจากสิ่ งเร้ าในรู ปใดก็ได้มากระทบอิ นทรี ย ์ ทาให้
อินทรี ยม์ ีพฤติกรรมตอบสนอง นักคิดในกลุ่มนี้ จึงมักศึกษาพฤติกรรมต่างๆด้วยวิธีการทดลองและใช้การ
สังเกตอย่างมีระบบจากการทดลอง โดยสรุ ปว่าการวางเงื่อนไขเป็ นสาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิ ดพฤติกรรมและ
ถ้าเรารู ้สาเหตุของพฤติกรรมเราก็จะสามารถเปลี่ยนพฤติกรรมได้

ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสิ คของวัตสั น (Watson)


จอห์น บี วัตสัน (John B. Watson) เป็ นนักจิตวิทยาชาวอเมริ กนั มีช่วงชีวติ อยูร่ ะหว่างปี ค.ศ. 1878 –
1958 รวมอายุได้ 90 ปี วัตสันได้นาเอาทฤษฎีของพาฟลอฟมาเป็ นหลักสาคัญในการอธิ บายเรื่ องการเรี ยน
ผลงานของวัตสันได้รับความนิ ยมแพร่ หลายจนได้รับการยกย่องว่าเป็ น“บิดาของจิตวิทยาพฤติกรรมนิยม”
ทฤษฎีของเขามีลกั ษณะในการอธิ บายเรื่ องการเกิดอารมณ์จากการวางเงื่อนไข (Conditioned emotion)
วัตสัน ได้ทาการทดลองโดยให้เด็กคนหนึ่ งเล่ นกับหนู ขาว และขณะที่เด็กกาลังจะจับหนู ขาว ก็ทา
เสี ยงดังจนเด็กตกใจร้องไห้ หลังจากนั้นเด็กจะกลัวและร้องไห้เมื่อเห็นหนูขาว ต่อมาทดลองให้นาหนู ขาวมา
ให้เด็กดู โดยแม่จะกอดเด็กไว้ จากนั้นเด็กก็จะค่อย ๆ หายกลัวหนูขาว

จากการทดลองดังกล่ าว วัตสั นสรุ ปเป็ นทฤษฎีการเรียนรู้ ดังนี้


1.พฤติกรรมเป็ นสิ่ งที่สามารถควบคุมให้เกิ ดขึ้นได้ โดยการควบคุมสิ่ งเร้าที่วางเงื่ อนไขให้สัมพันธ์
กับสิ่ งเร้าตามธรรมชาติ และการเรี ยนรู ้จะคงทนถาวรหากมีการให้สิ่งเร้าที่สัมพันธ์กนั นั้นควบคู่กนั ไปอย่าง
สม่าเสมอ
2. เมื่อสามารถทาให้เกิ ดพฤติกรรมใด ๆ ได้ ก็สามารถลดพฤติกรรมนั้นให้หายไปได้ลกั ษณะของ
ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิ ค
1.การตอบสนองเกิดจากสิ่ งเร้า หรื อสิ่ งเร้าเป็ นตัวดึงการตอบสนองมา
2.การตอบสนองเกิดขึ้นโดยไม่ได้ต้ งั ใจ หรื อไม่ได้จงใจ
3.ให้ตวั เสริ มแรงก่อน แล้วผูเ้ รี ยนจึงจะตอบสนอง เช่น ให้ผงเนื้อก่อนจึงจะมีน้ าลายไหล
4.รางวัลหรื อตัวเสริ มแรงไม่มีความจาเป็ นต่อการวางเงื่อนไข
5.ไม่ตอ้ งทาอะไรกับผูเ้ รี ยน เพียงแต่คอยจนกระทัง่ มีสิ่งเร้ามากระตุน้ จึงจะเกิดพฤติกรรม
6. เกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาสะท้อนและอารมณ์ ซึ่ งมีระบบประสาทอัตโนมัติเข้าไปเกี่ยวข้องในแง่ของ
ความแตกต่างระหว่างบุคคล

162
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

การประยุกต์ ใช้ ในด้ านการเรียนการสอน


1.ในแง่ของความแตกต่างระหว่างบุคคล ความแตกต่างทางด้านอารมณ์มีแบบแผนการตอบสนอง
ได้ไม่เท่ากัน จาเป็ นต้องคานึงถึงสภาพทางอารมณ์ผเู ้ รี ยนว่าเหมาะสมที่จะสอนเนื้ อหาอะไร
2.การวางเงื่อนไข เป็ นเรื่ องที่เกี่ยวกับพฤติกรรมทางด้านอารมณ์ดว้ ย โดยปกติผสู ้ อนสามารถทาให้
ผูเ้ รี ยนรู ้สึกชอบหรื อไม่ชอบเนื้อหาที่เรี ยนหรื อสิ่ งแวดล้อมในการเรี ยน
3.การลบพฤติกรรมที่วางเงื่ อนไข ผูเ้ รี ยนที่ถูกวางเงื่ อนไขให้กลัวผูส้ อน เราอาจช่วยได้โดยป้ องกัน
ไม่ให้ผสู ้ อนทาโทษเขา
4.การสรุ ปความเหมือนและการแยกความแตกต่าง เช่น การอ่านและการสะกดคา ผูเ้ รี ยนที่สามารถ
สะกดคาว่า "round" เขาก็ควรจะเรี ยนคาทุกคาที่ ออกเสี ยง o-u-n-d ไปในขณะเดี ยวกันได้ เช่ นคาว่า found,
bound, sound, ground, แต่คาว่า wound (บาดแผล) นั้นไม่ควรเอาเข้ามารวมกับคาที่ออกเสี ยง o - u - n - d
และควรฝึ กให้รู้จกั แยกคานี้ออกจากกลุ่ม

4. กลุ่มเกสตอลท์ (Gestalt Psychology) Wertheimer,Maxz


ผูน้ ากลุ่ ม เกสตอลท์ กลุ่ ม เกสตอลท์ เป็ นกลุ่ ม แนวคิ ด ทางจิ ต วิท ยาที่ ต้ งั ขึ้ น โดยนัก จิ ต วิท ยาชาว
เยอรมันเพื่อโต้แย้งกลุ่มทางจิตกลุ่มอื่น โดยมีแนวคิดว่าการศึกษาจิตสานึ กนั้นจะต้องศึกษาจากการรับรู ้ของ
มนุ ษย์ ซึ่ งจะมุ่งความสนใจไปที่หลักการต่างๆ ที่เกี่ยวกับการจัดระบบการรับรู ้ของมนุ ษย์และจากการศึกษา
พบว่ามนุ ษย์จะรับรู ้ ส่วนรวมของสิ่ งเร้ ามากกว่าเอาส่ วนย่อย ๆ ของสิ่ งเร้ านั้นมารวมกัน นอกจากจะศึกษา
เกี่ยวกับการรับรู ้แล้ว นักจิตวิทยากลุ่มนี้ ยงั ศึกษาเกี่ยวกับการเรี ยนรู ้ซ่ ึ งถือได้วา่ เป็ นต้น กาเนิ ดของการพัฒนา
จิตวิทยากลุ่มความรู ้ความเข้าใจ

หลักการเรียนรู้ ของกลุ่มเกสตัลท์
กลุ่มเกสตัลท์กล่าวว่า "การเรี ยนรู้ ทเี่ ห็นส่ วนรวมมากกว่ าส่ วนย่ อยนั้นจะต้ องเกิด จากประสบการณ์
เดิม" และการเรี ยนรู ้ยอ่ มเกิดขึ้น 2 ลักษณะคือ

การรับรู้ (Perception) การรับรู ้ หมายถึง การแปลความหมายหรื อการตีความต่อสิ่ งเร้าของ อวัยวะ


รับสัมผัสส่ วน ใดส่ วนหนึ่งหรื อทั้งห้าส่ วน ได้แก่ หู ตา จมูก ลิ้น และผิวหนัง และการตีความนี้ มักอาศัย
ประสบการณ์เดิมดังนั้น แต่ละคน อาจรับรู ้ในสิ่ งเร้าเดียวกันแตกต่างกันได้ แล้วแต่ประสบการณ์ เช่น
นางสาว ก. เห็นสี แดง แล้วนึ กถึงเลือดแต่นางสาว ข. เห็นสี แดงอาจนึกถึงดอกกุหลาบสี แดงก็ได้
การหยัง่ เห็น (Insight) เป็ นรู ปแบบของการแก้ไขปั ญหาของคนและสัตว์ช้ นั สู ง ซึ่ งได้จากการ
สะสมประสบการณ์จากการเรี ยนรู ้ โดยถือว่าเมื่อเกิดการหยัง่ เห็นเมื่อใดบุคคลจะเกิดการเรี ยนรู ้ข้ ึนเมื่อนั้น
ดังนั้น การเรี ยนรู ้ของคนและสัตว์จึงมิได้เกิดจากการแยกส่ วนแต่เป็ นการแปลความหมายของสถานการณ์
ทั้งหมดเป็ นส่ วนรวมจนเกิดการหยัง่ เห็นขึ้นในใจ

163
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

การเรี ยนรู้ ของกลุ่มเกสตัลท์ ที่เน้น"การรับรู้ เป็ นส่ วนรวมมากกว่าส่ วนย่อย" นั้น ได้สรุ ปเป็ นกฎ
การเรี ยนรู ้ของ ทั้งกลุ่ม ออกเป็ น 4 กฎ เรี ยกว่ากฎการจัดระเบียบเข้าด้วยกัน (The Laws of Organization)ดังนี้
กฏแห่ งความแน่ นอนหรื อชัดเจน (Law of Pragnanz)
กฏแห่ งความคล้ายคลึง (Law of Similarity)
กฏแห่ งความใกล้ชิด (Law of Proximity)
กฏแห่ งการสิ้นสุ ด(Law of Closure)
กฎแห่ งความต่ อเนื่อง (Law of Continuity) สิ่ งเร้าที่มีทิศทางในแนวเดียวกัน ซึ่ งผูเ้ รี ยนจะรับรู ้วา่
เป็ นพวกเดียวกัน
กฎแห่ งความสมบูรณ์ (Law of Closer) สิ่ งเร้าที่ขาดหายไปผูเ้ รี ยนสามารถรับรู ้ให้เป็ นภาพ
สมบูรณ์ได้โดยอาศัยประสบการณ์เดิม
1. กฏแห่ งความแน่ นอนหรื อชัดเจน (Law of Pragnanz)ซึ่ งกล่าวว่าเมื่อต้องการให้มนุ ษย์เกิดการ
รับรู ้ ในสิ่ งเดียวกัน ต้องกาหนดองค์ประกอบขึ้น 2 ส่ วน คือ ภาพหรื อข้อมูลที่ตอ้ งการให้สนใจ เพื่อเกิดการ
เรี ยนรู ้ในขณะนั้น (Figure)ส่ วนประกอบหรื อพื้นฐานของการรับรู ้ (Background or Ground) เป็ นสิ่ งแวดล้อม
ที่ประกอบอยูใ่ นการเรี ยนรู ้ นั้น ๆ แต่ผสู ้ อนยังมิตอ้ งการให้ผเู ้ รี ยนสนใจในขณะนั้น ปรากฏว่า วิธีการ
แก้ปัญหา โดยกาหนดFigure และ Background ของเกสตัลท์ได้ผลเป็ นที่น่าพอใจ เพราะสามารถทา ให้
มนุษย์เกิดการเรี ยนรู ้ดว้ ยการรับรู ้อย่างเดียวกันได้ ซึ่ งนักศึกษาจะได้ ทราบรายละเอียดในเรื่ องทฤษฎีการ
เรี ยน รู ้ของกลุ่มเกสตัลท์ในโอกาสต่อไป แต่ในที่น้ ีขอเสนอพอสังเขป ดังนี้
บางครั้ง Figure อาจเปลี่ยนเป็ น Ground และ Ground อาจเปลี่ยนเป็ น Figure ก็ได้ ถ้าผูส้ อนหรื อผูน้ าเสนอ
เปลี่ยนสิ่ งที่ตอ้ งการให้ผเู ้ รี ยน หรื อกลุ่มเป้ าหมายเบนความสนใจไปตามที่ตนต้องการ โปรดดูภาพต่อไปนี้

ดูภาพซ้ายมือนี้ นักศึกษาเห็นว่าเป็ นนางฟ้า หรื อว่า ปี ศาจ


ถ้ามองสี ดาเป็ นภาพสี ขาวเป็ นพื้น จะเห็นเป็ นรู ปอะไร

164
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

แต่ถา้ มองสี สีขาวเป็ นภาพสี ดา เป็ นพื้น จะเห็นเป็ นรู ปอะไร ลองพิจารณาดู

ดูภาพซ้ายมือนี้ นักศึกษาเห็นว่าเป็ นรู ปพานหรื อว่าเป็ นรู ปคน 2 คนหันหน้าเข้าหากัน


ถ้าดูสีขาวเป็ นภาพ สี ดาเป็ นพื้นก็จะเป็ นรู ปพาน ถ้าดูสีดาเป็ นภาพ สี ขาวเป็ นพื้น
ก็อาจจะเห็นเป็ นรู ปคน 2 คน หันหน้าเข้าหากัน ต่อไปลองพิจารณารู ป 2 รู ป ข้างล่างนี้ดูซิ

ดูภาพซ้ายมือนี้อีกที ก็คงมีความรู ้สึก เช่นเดียวกับรู ปที่ผา่ นมา


คืออาจจะเป็ นรู ปคน 2 คนหันหน้าเข้าหากัน หรื อรู ปพาน
แต่ถา้ ดูรูปขวามือนี้มาก่อน ก็คงไม่มีใครที่จะเห็นว่ารู ปซ้ายมือเป็ นรู ปพาน
คงจะตอบว่าเป็ นรู ปคน 2 คน หันหน้าเข้าหากัน

165
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ดูภาพซ้ายมื่อนี่ซิ ว่าเป็ นหญิงชรา


หรื อว่าหญิงสาวหลายคนบอกว่าเป็ นได้ท้ งั สองอย่าง

จะเห็นได้วา่ ภาพเดียวกัน คนบางคนยังเห็นไม่เหมือนกัน ทั้งนี้ ขึ้นอยูก่ บั ประสบการณ์เดิมของแต่ละคน


อิทธิ พลของประสบการณ์ที่มีต่อการรับรู ้ภาพและพื้น การมองเห็นรู ป เป็ นภาพ (Figure) และพื้น
(Ground) สลับกันนั้นตามทฤษฎี ของกลุ่ม เกสตัลท์ เชื่อว่า การรับรู ้ในลักษณะเช่นนี้ ขึ้นยูก่ บั ประสบการณ์
ของบุคคลเป็ นสาคัญ หรื อ ประสบการณ์เดิมของบุคคล มี ผลต่อการรับรู ้ ภาพและพื้น หรื อภาพสองนัย
2. กฏแห่ งความคล้ายคลึง (Law of Similarity)
กฎนี้เป็ นกฎที่ Max Wertheimer ตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1923 โดยใช้เป็ นหลักการในการวางรู ปกลุ่มของการรับรู ้
เช่น กลุ่มของ เส้น หรื อสี ที่คล้ายคลึงกัน หมายถึงสิ่ งเร้าใด ๆ ก็ตาม ที่มีรูปร่ าง ขนาด หรื อสี ที่คล้ายกัน
คนเราจะรับรู ้วา่ เป็ นสิ่ งเดียวกัน หรื อพวกเดียวกัน

166
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

จากภาพข้างบนนี้ เราจะเห็นว่า รู ปสี่ เหลี่ยมเล็ก ๆ แต่ละรู ป ที่มีสีเข้ม เป็ นพวกเดียวกัน


3. กฏแห่ งความใกล้ชิด (Law of Proximity)
สาระสาคัญของกฎนี้ มีอยูว่ า่ ถ้าสิ่ งใด หรื อสถานการณ์ใดที่เกิดขึ้นในเวลาต่อเนื่ องกัน หรื อในเวลาเดียวกัน
อินทรี ยจ์ ะเรี ยนรู ้ ว่า เป็ นเหตุและผลกัน หรื อ สิ่ งเร้าใดๆ ที่อยูใ่ กล้ชิดกัน มนุษย์มีแนวโน้มที่จะรับรู ้ สิ่ งต่างๆ
ที่อยูใ่ กล้ชิดกันเป็ นพวกเดียวกัน หมวดหมู่เดียวกัน

จากภาพข้างบนนี้ เราจะเห็นว่ามีทหารเป็ น 5 Columns


(Proximity : These forty soldiers are seen as five columns because of spacing)
4. กฏแห่ งการสิ้นสุ ด (Law of Closure)
สาระสาคัญของกฎนี้มีอยูว่ า่ "แม้วา่ สถานการณ์หรื อปั ญหายังไม่สมบูรณ์ อินทรี ยก์ ็จะเกิดการเรี ยนรู ้ ได้จาก
ประสบการณ์เดิมต่อสถานการณ์น้ นั "

167
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ลองดูภาพต่อไปนี้ แล้วลองพิจารณาดูวา่ ถึงแม้เส้นต่าง ๆ ไม่จาเป็ นต้องลากไปจนสุ ด หรื อบรรจบกัน แต่เมื่อ


สายตามองก็พอจะเดาได้วา่ น่าจะเป็ นรู ปอะไร

ภาพต่อไปนี้ก็เช่นกัน แม้จะไม่ใช่ภาพที่เขียนขึ้นอย่างสมบูรณ์แต่คนที่มีประสบการณ์เดิม ก็พอจะรู ้


ว่า เป็ นภาพ สุ นขั
5. กฎแห่งความต่อเนื่ อง (Law of Continuity)สิ่ งเร้าที่มีทิศทางในแนวเดียวกัน ซึ่ งผูเ้ รี ยนจะรับรู ้วา่
เป็ นพวกเดียวกัน
6. กฎแห่งความสมบูรณ์ (Law of Closer)สิ่ งเร้าที่ขาดหายไปผูเ้ รี ยนสามารถรับรู ้ให้เป็ นภาพสมบูรณ์
ได้โดยอาศัยประสบการณ์เดิม

5.กลุ่มจิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis)
ผูน้ ากลุ่มได้แก่ Sigmund Freud ฟรอยด์เชื่อว่า พฤติกรรมของมนุษย์ ส่วนมากกาหนดขึน้ โดย
สั ญชาตญาณ ซึ่งมีมาตั้งแต่ กาเนิด สัญชาตญาณเหล่านี้ส่วนมากจะอยูใ่ นระดับจิตไร้สานึก เขาเชื่ อว่าการ
ทางานของจิตแบ่งเป็ น 3 ระดับ เปรี ยบเสมือนก้อนน้ าแข็งลอยอยูใ่ นทะเลคือ
1.จิตรู้ สานึก (Conscious) เป็ นส่ วนที่โผล่ผวิ น้ าขึ้นมา ซึ่ งมีจานวนน้อยมาก
2.จิตก่อนสานึก (Preconscious) เป็ นส่ วนที่อยูใ่ กล้ๆผิวน้ า เป็ นเรื่ องของความจาที่บุคคลเก็บสะสม
ไว้ ซึ่ งอาจจะนึกไม่ออกในทันทีแต่ไม่ชา้ ก็เรี ยกความจานั้นออกมาได้
3.จิตไร้ สานึก (Unconscious) เป็ นส่ วนใหญ่ของก้อนน้ าแข็งที่อยูใ่ ต้น้ า จิตส่ วนนี้ฟรอยด์เชื่ อว่ามี
อิทธิ พลมากต่อพฤติกรรมของมนุษย์ กระบวนการจิตไร้สานึกนี้หมายถึง,ความคิด,ความกลัวและความ
ปราถนาของมนุษย์ ซึ่ งผูเ้ ป็ นเจ้าของเก็บกดไว้โดยไม่รู้ตวั แต่มีอิทธิ พลต่อเขา พลังของจิตไร้สานึกอาจจะ
ปรากฏขึ้นในรู ปของความฝัน การพลั้งปาก หรื อการแสดงออกมาเป็ นกิริยาอาการที่บุคคลทาโดยไม่รู้ตวั เป็ น
ต้น

168
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

นอกจากนี้ ฟรอยด์ ยังได้ศึกษาถึงโครงสร้างทางจิตพบว่าโครงสร้างทางจิตประกอบด้วย


1. อิด (Id)
2. อีโก้ (Ego)
3. ซุ ปเปอร์ อีโก้ (Superego)
1. อิด (Id) หมายถึงตัณหาหรื อความต้องการพื้นฐานของมนุษย์เป็ นสิ่ งที่ยงั ไม่ได้ขดั เกลา ซึ่ งทาให้
มนุษย์ทาทุก อย่างเพื่อความพึงพอใจของตนเองหรื อทาตามหลักของความพอใจ (Pleasure principle) เปรี ยบ
เหมือนสันดานดิบของ มนุษย์ ซึ่ งแบ่งออกเป็ น สั ญชาติญาณ แห่ งการมีชีวติ (Life instinct) เช่น ความ
ต้องการอาหาร ความต้องการทางเพศ ความต้องการหลีกหนีจากอันตราย กับสั ญชาติญาณแห่ ง ความตาย
(Death instinct) เช่น ความก้าวร้าว หรื อการทาอันตรายต่อตนเองและผูอ้ ื่น เป็ นต้น บุคคล จะแสดง
พฤติกรรมตามความพอใจ ของเขาเป็ นใหญ่ ไม่คานึงถึงค่านิยมของสังคม และ ความพอใจของ บุคคลอื่นจึง
มักเป็ นพฤติกรรมที่ไม่เป็ นไปตามครรลองของมาตรฐานในสังคม บุคคลที่มีบุคลิกภาพเช่นนี้ มักได้รับการ
ประณามว่ามีบุคลิกภาพไม่ดี หรื อไม่เหมาะสม

2. อีโก้ (Ego) หมายถึง ส่ วนที่ควบคุมพฤติกรรมที่เกิดจากความต้องการของ Id โดยอาศัยกฎเกณฑ์ ทาง


สังคม และหลักแห่งความจริ ง (Reality principle) มาช่วยในการตัดสิ นใจ ไม่ใช่แสดงออกตามความ พอใจ
ของตนแต่เพียงอย่างเดียว แต่ตอ้ งคิดแสดงออกอย่างมีเหตุผลด้วยนัน่ คือบุคคลจะแสดงพฤติกรรม โดยมีเหตุ
และผล ที่เหมาะสมกับกาลเทศะใน สังคม จึงเป็ นบุคลิกภาพที่ได้รับการยอมรับมากในสังคม ในคนปรกติที่
สามารถปรับตัวอยูไ่ ด้ในสังคมอย่างมีความสุ ข ฟรอยด์ เชื่ อว่าเป็ นเพราะมีโครงสร้าง ส่ วนนี้แข็งแรง
3. ซุ ปเปอร์ อีโก้ (Superego) หมายถึงมโนธรรมหรื อจิตส่ วนที่ได้รับการพัฒนาจากประสบการณ์ การ
อบรมสั่งสอน โดยอาศัยหลักของศีลธรรมจรรยา ขนบธรรมเนียมประเพณี และค่านิยมต่าง ๆ ใน สังคม
นั้น Superego จะเป็ นตัวบังคับ และควบคุมความคิดให้แสดงออกในลักษณะที่เป็ นสมาชิกที่ดีของ สังคม
โดยยึดหลักค่านิยมของสังคม (Value principle) ที่ตดั สิ นว่าสิ่ งใดเป็ นสิ่ งที่ดีในสังคมกล่าวคือบุคคล จะแสดง
พฤติกรรมตาม ขอบเขตที่สังคมวางไว้ แต่บางครั้งอาจไม่เหมาะ สม เช่น เมื่อถูกยุงกัดเต็มแขน - ขา ก็ไม่ยอม
ตบยุง เพราะกลัวบาป หรื อสงสารคนขอทานให้เงินเขาไปจนหมด ในขณะที่ ตนเองหิ วข้าวไม่มีเงินจะ ซื้ อ
อาหารกินก็ยอมทนหิ ว เป็ นต้น
6. กลุ่มปัญญานิยม (Cognitivism)
การรู ้การคิด (Cognition) หมายถึง กระบวนการทางจิตซึ่ งทาการเปลี่ยนข้อมูลที่ผา่ นเข้ามาทาง
ประสาทสัมผัสไปในรู ปแบบต่างๆ กระบวนการนี้ทาหน้าที่ต้ งั แต่ลดจานวนข้อมูล (Reduced) เปลี่ยนรหัส
(Code)และส่ งไปเก็บไว้ (Store) ในหน่วยความจาและรื้ อฟื้ นเรี ยกคืน (Retrieve) มาได้เมื่อต้องการ การรับรู ้
จินตนาการ การแก้ปัญหา การจาได้ และการคิด คาเหล่านี้ ลว้ นอธิ บายถึงขั้นตอนต่างๆ เมื่อเกิดการรู ้-การคิด
นักจิตวิทยากลุ่มนี้คดั ค้านว่ามนุษย์เรามิได้เป็ นเพียงแต่หน่วยรับสิ่ งเร้า ที่อยูเ่ ฉยๆ เท่านั้น แต่จิตจะมี

169
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

กระบวนการสร้างข้อสนเทศขึ้นใหม่หรื อชนิ ดใหม่ การ ตอบสนองของมนุษย์ข้ ึนอยูก่ บั กระบวนการทางาน


ของจิตในการประมวลผลข้อมูล และเมื่อมีขอ้ มูลใหม่หรื อประสบการณ์ใหม่การตอบสนองก็เปลี่ยนไปได้
7. กลุ่มมนุษยนิยม (Humanism)
ผูน้ าสาคัญในกลุ่มมนุษย์นิยม ได้แก่ คาร์ ล โรเจอร์ (Calr R. Rogers, 1902-1987) จิตวิทยา กลุ่ม
มนุษย์นิยมพัฒนาขึ้นประมาณปี ค.ศ. 1940 โดยเชื่ อว่าเราสามารถเข้าใจถึงธรรมชาติของมนุษย์ได้ดีข้ ึนด้วย
การศึกษาถึง การรับรู ้ของบุคคลที่เกี่ยวกับตนเอง ความคิดส่ วนตัวที่เขามีต่อบุคคลอื่นและโลกที่เขาอาศัยอยู่
และยังมีความเชื่อว่า มนุษย์ เรามีคุณลักษณะที่สาคัญที่ทาให้เราแตกต่างไปจากสัตว์คือมนุษย์เรามีความมุ่ง
มัน่ อยากที่จะเป็ นอิสระ เราสามารถกาหนดตัวเองได้และเรามีพลังจูงใจ (Motivational Force) ที่จะพัฒนา
ตนเองไปสู่ ระดับที่สมบูรณ์ข้ ึน ที่แสดงถึงความเป็ นจริ งแห่งตน ซึ่ งหมายถึงการพัฒนาความรู ้ความสามารถ
ที่ตนเองมีอยูใ่ ห้เต็มที่ (Self Actualization)

ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบการกระทาของสกินเนอร์
สกินเนอร์ (Skinner) เป็ นผูค้ ิดทฤษฎีการ วางเงื่อนไขแบบการกระทาหรื อแบบปฏิบตั ิการ โดย
จาแนกทฤษฎีทางพฤติกรรมออกเป็ น 2 ประเภท คือ
1. พฤติกรรมทีเ่ กิดจากการเรียนรู้ แบบ Type S (Response Behavior) ซึ่งมีสิ่งเร้ า (Stimulus)
เป็ นตัวกาหนดหรื อดึงออกมา เช่น น้ าลายไหลเนื่ องจากใส่ อาหารเข้าไปในปาก สะดุง้ เพราะถูกเคาะที่สะบ้า
ข้างเข่า หรื อการหรี่ ตาเมื่อถูกแสงไฟ พฤติกรรมดังกล่าวเป็ นการตอบสนองแบบอัตโนมัติ
2. พฤติกรรมที่เกิดจากการเรี ยนรู้ แบบ Type R (Operant Behavior) พฤติกรรมหรื อกาตอบสนอง
ขึ้ น อยู่ก ับ การเสริ ม แรง (Reinforcement) การตอบสนองแบบนี้ จะต่ า งกับ แบบแรก เพราะอิ น ทรี ย ์เ ป็ น
ตัวกาหนดหรื อเป็ นผูส้ ั่งให้กระทาต่อสิ่ งเร้า ไม่ใช้ให้สิ่งเร้าเป็ นตัวกาหนดพฤติกรรมของอินทรี ย ์ เช่น การถาง
หญ้า การเขี ยนหนังสื อ การรี ดผ้า พฤติ กรรมต่าง ๆ ของคนในชี วิตประจาวันเป็ นพฤติ กรรมแบบOperant
Conditioning)หลักการเรี ยนรู ้ที่สาคัญ หลักการเรี ยนรู ้ของทฤษฎีการวางเงื่ อนไขแบบการกระทา เน้นการ
กระทาของผูท้ ี่เรี ยนรู ้มากกว่าสิ่ งเร้าที่กาหนดให้ กล่าวคือ เมื่อต้องการให้อินทรี ยเ์ กิดการเรี ยนรู ้จากสิ่ งเร้าใด
สิ่ งเร้ าหนึ่ ง เราจะให้ผูเ้ รี ยนรู ้ เลื อกแสดงพฤติ กรรมเองโดยไม่บงั คับหรื อบอกแนวทางในการเรี ยนรู ้ เมื่ อ
ผูเ้ รี ยนแสดงพฤติ กรรมการเรี ยนรู ้ แล้วจึ ง "เสริ มแรง" พฤติ กรรมนั้นทันที เพื่อให้ผูเ้ รี ยนรู ้ ว่าพฤติกรรมที่
แสดงออกนั้นเป็ นพฤติ ก รรมการเรี ยนรู ้ หรื อกล่ าวอี กนัยหนึ่ งทฤษฎี การเรี ยนรู ้ การวางเงื่ อนไขแบบการ
กระทานั้น พฤติกรรมการตอบสนองจะขึ้นอยูก่ บั การเสริ มแรง (Reinforcement) ตัวเสริ มแรงแบ่งออกเป็ น 2
ลักษณะ คือ
การเสริมแรงทางบวก (Positive Reinforcement ) เป็ นการให้สิ่งเสริ มแรงที่บุคคลพึงพอใจ มีผลทาให้
บุคคลแสดงพฤติกรรมถี่ข้ ึน
การเสริมแรงทางลบ (Negative Reinforcement) เป็ นการนาเอาสิ่ งที่บุคคลไม่พึงพอใจออกไป มีผลทา
ให้บุคคลแสดงพฤติกรรมถี่ข้ ึน
170
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

การลงโทษ (Punishment) คือ การทาให้อตั ราการตอบสนองหรื อความถี่ของการแสดงพฤติกรรม


ลดลง การลงโทษมี 2 ทาง ได้แก่
การลงโทษทางบวก (Positive Punishment) เป็ นการให้สิ่งเร้าที่บุคคลที่ไม่พึงพอใจ มีผลทาให้บุคคล
แสดงพฤติกรรมลดลง
การลงโทษทางลบ (Negative Punishment) เป็ นการนาสิ่ งเร้าที่บุคคลพึงพอใจ หรื อสิ่ งเสริ มแรงออก
ความต้องการของมนุษย์ตามแนวความคิดของมาสโลว์ (Maslow)
มาสโลว์ ได้แบ่งความต้องการของมนุษย์ออกเป็น 5 ขั้นเรียงตามลาดับ ดังนี้

ขั้นที่ 1 ความต้องการทางกาย (Physiological Needs) คือความต้องการปัจจัยพื้นฐานในการดารงชีวิต


ขั้นที่ 2 ความต้องการความ มั่นคงปลอดภัย (Safety and Security Needs) คือความต้องการที่จะมี
ชีวิตที่มั่นคง ปลอดภัย
ขั้นที่ 3 ความต้องการความรักและการเป็นที่ยอมรับของกลุ่ม (Love and Belonging Needs) มนุษย์
เมื่อเข้าไปอยู่ในกลุ่มใดก็ต้องการให้ตนเป็นที่รักและยอมรับในกลุ่มที่ตนอยู่
ขั้นที่ 4 ความต้องการได้ รับการยกย่องจากผู้อื่น (Self -Esteem Needs) เป็นความต้องการในลาดับ
ต่อมา ซึ่งความต้องการในชั้นนี้ถ้าได้รับจะก่อให้เกิดความภาคภูมิใจใจตนเอง
ขึ้นที่ 5 ความต้องการในการเข้าใจและรู้จักตนเอง (Self-Actualization Needs) เป็นความต้องการ
ชั้นสูงของมนุษย์ ซึ่งน้อยคนที่จะประสบได้ถึงขั้นนี้

171
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

มาสโลว์ ได้กล่าวเน้นว่า ความต้องการต่าง ๆ เหล่านี้ต้องเกิดเป็นลาดับขั้น และจะไม่มีการข้ามขั้น ถ้า


ขั้นที่ 1 ไม่ได้รับการตอบสนอง ความต้องการในลาดับขั้นที่ 2-5 ก็ไม่อาจเกิดขึ้นได้ การตอบสนองที่ได้รับในแต่
ละขั้นไม่จาเป็นต้องได้รับทั้ง100% แต่ต้องได้รับบ้างเพื่อจะได้เป็นบันไดนาไปสู่การพัฒนาความต้องการใน
ระดับที่สูงขึ้นในลาดับขั้นต่อไป

จิตวิทยาการแนะแนว
Frank Parsons (แฟรงค์ พาร์ สันส์ ) บิดาแห่ งการแนะแนว
การแนะแนว หมายถึ ง กระบวนการทางการศึกษาที่ช่วยให้ บุคคลรู ้ จกั และเข้าใจตนเองและสิ่ งแวดล้อม
สามารถนาตนเองได้ แก้ปัญหาได้ดว้ ยตนเอง และพัฒนาตนเองได้ตามศักยภาพ ปฏิบตั ิตนให้เป็ นสมาชิ กที่ดี
ของสังคม การแนะแนวไม่ใช่การแนะนา อาจกล่าวได้วา่ การแนะแนวเป็ นการช่วยเหลือ ให้เขาสามารถช่วย
ตนเองได้ ประเภทของการแนะแนว
1. การแนะแนวการศึกษา (Education Guidance)
2. การแนะแนวอาชีพ (Vocational Guidance)
3. การแนะแนวส่ วนตัวและสังคม (Personal and Social Guidance)
บริการแนะแนว
1.บริ การสารวจนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล (Individual Inventory Service)
2.บริ การสนเทศ (Information Service)
3.บริการให้ คาปรึกษา (Counseling Service) เป็ นหัวใจของการแนะแนว
4.บริ การจัดวางตัวบุคคล (Placement Service)
5.บริ การติดตามผล
ระบบการดูแลช่ วยเหลือนักเรี ยน
1. รู ้จกั นักเรี ยนเป็ นรายบุคคล ด้านความสามารถ การเรี ยน อื่นๆ ด้านสุ ขภาพ กาย ใจ พฤติกรรม
ด้านครอบครัว เศรษฐกิจ การคุม้ ครองนักเรี ยน
2. การคัดกรองนักเรี ยน (ดูขอ้ มูล จัดกลุ่ม) ปกติ ,กลุ่มเสี่ ยง
3. การส่ งเสริ มพัฒนาให้ได้คุณภาพ
4. การป้ องกันและแก้ปัญหา ( ใกล้ชิด หาข้อมูล ให้คาปรึ กษา )
5. การส่ งต่อ ทั้งภายในและภายนอกโรงเรี ยน แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก SDQ (The Strength and
Difficulties Questionnaires)
เป้ าหมายการแนะแนว มี 3 ประการ คือ
1.ป้ องกันปัญหา
2.แก้ไขปัญหา
3.ส่ งเสริมพัฒนา

172
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

ระบบดูแลช่ วยเหลือนักเรียน
การดูแลช่ วยเหลือนักเรียน คือ การส่ งเสริม พัฒนา ป้ องกัน และแก้ ไขปัญหา เพื่อให้ นักเรียนได้ พฒ ั นา
เต็มศักยภาพ มีคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ มีภูมิค้ ุมกันทางจิตใจทีเ่ ข้ มแข็ง คุณภาพชี วติ ทีด่ ี มีทกั ษะการดารงชี วติ
และรอดพ้นจากวิกฤติท้งั ปวง
ระบบการดูแลช่ วยเหลือนักเรียน เป็ นกระบวนการดาเนินงานดูแลช่ วยเหลือนักเรียนทีม่ ีขนึ้ ตอนชั ดเจน
พร้ อมทั้งมีวธิ ีการ และเครื่ องมือทีม่ ีมาตรฐาน คุณภาพ และมีมาตรฐานการทางานทีต่ รวจสอบได้ โดยมีครู
ประจาชั้ น / ครู ทปี่ รึกษาเป็ นบุคลากรหลักในการดาเนินงานและบุคลากรทุกฝ่ ายทีเ่ กีย่ วข้ องทั้งในและนอกสถานศึกษา
อันได้ แก่ คณะกรรมการสถานศึกษาผู้ปกครอง ชุ มชน ผู้บริหาร และครู ทกุ คน ฯลฯ มีส่วนร่ วม
การดาเนินงานตามระบบดูแลช่ วยเหลือนักเรี ยน
ตามขั้นตอนของระบบดูแลช่ วยเหลือนักเรียน 5 ขั้น

ขั้นที่ 1 การรู ้จกั นักเรี ยนรายบุคคล เช่น ดีที่สุด คือ


* สรุ ปการออกเยีย่ มบ้านนักเรี ยน และจากระเบียบสะสม
SDQ (Strength and Difficulties Questionnaire)
ขั้นที่ 2 การคัดกรองนักเรี ยน เช่น แบ่งนักเรี ยนออกเป็ น 4 กลุ่ม คือ
* สรุ ปแบบคัดกรองนักเรี ยนทั้งชั้นเรี ยน
1.กลุ่มปกติ 2.กลุ่มพิเศษ >>> (ส่ งเสริ ม)
3.กลุ่มเสี่ ยง 4.กลุ่มมีปัญหา >>> (แก้ไขปั ญหา)
ขั้นที่ 3 การส่ งเสริ มพัฒนา
* สรุ ปผลการส่ งเสริ มและพัฒนาศักยภาพนักเรี ยน ตามความสนใจ ความถนัดและความสามารถ
* ผลการส่ งเสริ มและพัฒนาศักยภาพนักเรี ยนตามความสนใจ ความถนัดและความสามารถ
* ตารางการวางแผนการจัดกิจกรรมโฮมรู มประจาวิชา
ขั้นที่ 4 การป้ องกันและแก้ไขปั ญหา
* สรุ ปผลการป้ องกันและการแก้ไขปั ญหา
ขั้นที่ 5 การส่ งต่อภายในและภายนอก
* สรุ ปการส่ งต่อภายในและภายนอก
ขั้นตอนการดาเนินงานตามระบบดูแลช่ วยเหลือนักเรียน
1. จัดทาระเบียนสะสมเพื่อรับทราบข้อมูลต่างๆ ได้แก่ ข้อมูลส่ วนตัวของนักเรี ยน ข้อมูลเกี่ยวกับสุ ขภาพ ข้อมูล
เกี่ยวกับผลการเรี ยน ข้อมูลเกี่ยวกับบุคลิกภาพ ข้อมูลการวางเป้าหมายในอนาคต
2. ประเมินนักเรี ยนตามแบบการประเมิน SDQ ซึ่ งมีท้ งั หมด 3 ฉบับ ได้แก่

173
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

2.1 แบบประเมินตนเอง SDQ (ฉบับนักเรี ยนประเมินตนเอง)


2.2 แบบประเมินตนเอง SDQ (ฉบับผูป้ กครองเป็ นผูป้ ระเมินนักเรี ยน)
2.3 แบบประเมินตนเอง SDQ (ฉบับครู เป็ นผูป้ ระเมินนักเรี ยน)
3. ประเมินนักเรี ยนตามแบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ EQ โดยมีการแปลผลเป็ น 3 ด้าน คือ เก่ง ดี มีสุข
4. วิเคราะห์นกั เรี ยน ทั้ง 9 ด้านตามแบบบันทึกการคัดกรองนักเรียนรายบุคคล ดังต่อไปนี้
4.1 ด้านความสามารถของนักเรี ยน
 ด้านการเรี ยน
 ด้านความสามารถ
4.2 ด้านสุ ขภาพร่ างกาย
4.3 ด้านสุ ขภาพและพฤติกรรม ( พิจารณาแบบประเมิน SDQ 3 ชุด )
4.4 ด้านครอบครัว
4.5 ด้านเศรษฐกิจ
4.6 ด้านการคุม้ ครองของนักเรี ยน
4.7 ด้านพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
4.8 ด้านความฉลาดทางอารมณ์ ( พิจารณาแบบประเมิน EQ )
4.9 ด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์
5. ประเมินผลการคัดกรองนักเรี ยนรายบุคคล ตามแบบบันทึกการคัดกรองนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล ( ตามข้อ 3 )
โดยขั้นตอนนี้สามารถแบ่งกลุ่มนักเรี ยน เป็ น 3 กลุ่ม ได้แก่
 กลุ่มปั ญหา ( ป )
 กลุ่มเสี่ ยง ( ส )
 กลุ่มปกติ ( - )
6. ดาเนินการเยีย่ มบ้านนักเรี ยนเพื่อรับทราบข้อมูลเพิ่มเติมของนักเรี ยนจากผูป้ กครอง โดย
ใช้แบบบันทึกการเยีย่ มบ้ านนักเรียน
7. ให้คาปรึ กษาเบื้องต้นกับนักเรี ยน ดังนี้
* หากเด็กอยูก่ ลุ่มปกติ
ดาเนินการ ส่ งเสริ ม ดาเนินการส่ งต่อ เขียนรายงาน
* หากเด็กมีปัญหา
ดาเนินการหาสาเหตุของปัญหา ดาเนินการแก้ไข สรุ ปผล เขียนรายงาน
ตาม แบบบันทึกการให้ คาปรึกษาเบื้องต้ น , การบันทึกการส่ งต่ อ , แบบรายงานแจ้ งผลการช่ วยเหลือนักเรียน

174
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

8. จัดกิจกรรมประชุมผูป้ กครองในชั้นเรี ยน ( Clasroom meeting ) โดยจัดเอกสารสานสั มพันธ์ กบั ผู้ปกครอง


คณะทางานระบบดูและช่ วยเหลือนักเรียน 3 ทีม คือ ทา นา ประสาน
1.ทีมนา ( ผอ.สถานศึกษา ) ประชุมอย่างน้อยภาคเรี ยนละ 1 ครั้ง
2.ทีมทา (หัวหน้ าระดับชั้ น ) ประชุ มอย่ างน้ อยสั ปดาห์ ละ 1 ครั้ง
3.ทีมประสาน ( รอง ผอ.สถานศึกษา ) ประชถมอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

เชาว์ ปัญญาและความถนัด
บิดาแห่ งสติปัญญา(เชาว์ ปัญญา) อัลเฟรด บิเนต์
เด็กอายุ 13 ปี อายุสมอง 13 ปี มี IQ เท่ าไร
สู ตรหา iQ iQ = อายุสมอง คูณร้อย ส่ วนอายุจริ ง
จากคาถามอายุสมอง 13 อายุจริ ง 13
หาค่าได้ดงั นี้ 13*100/13 =100 “ไอคิว” ปกติ
IQ = [อายุสมอง (Mental Age) ÷ อายุจริ ง (Chronologic Age)] × 100

175
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

วิจยั ทางการศึกษา

การศึกษา คือ กระบวนการพัฒนาบุคคลให้มีความเจริ ญงอกงาม โดยเฉพาะการทาให้เกิดการเรี ยนรู ้


การวิจัยการศึกษา คือ กระบวนการเสาะแสวงหาความรู ้ที่นาไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
การวิจัย มาจากคาว่า Research มีรากศัพท์มาจาก Re + Search
Re แปลว่า ซ้ า
Search แปลว่า ค้น
Research แปลว่า ค้นคว้าซ้ าแล้วซ้ าอีก ซึ่ งน่าจะหมายถึง การค้นหาความรู ้ความจริ ง ค้นแล้วค้นอีก
ซึ่งจะทาให้ได้รับรู ้ความรู ้ความจริ งที่น่าเชื่อถือ ถูกต้อง เพราะมีขอ้ มูลที่เพียงพอต่อการสรุ ปเป็ นความรู ้ความ
จริ งนั้น ๆ
ลักษณะของการวิจัย
1. การวิจยั เป็ นการค้นคว้าที่ตอ้ งอาศัยความรู ้ ความชานาญ และความมีระบบ
2. การวิจยั เป็ นงานที่มีเหตุผลและมีเป้าหมาย
3. การวิจยั จะต้องมีเครื่ องมือหรื อเทคนิคในการเก็บรวบรวมข้อมูล ที่มีความเที่ยงตรง และเชื่อถือได้
4. การวิจยั จะต้องมีการรวบรวมข้อมูลใหม่และ ความรู ้ใหม่
5. การวิจยั เป็ นการศึกษาค้นคว้าที่มุ่งหาข้อเท็จจริ ง
6. การวิจยั ต้องอาศัยความเพียรพยายาม ความซื่อสัตย์ กล้าหาญ
7. การวิจยั จะต้องมีการบันทึกและเขียนการรายงาน การวิจยั อย่างระมัดระวัง
ลักษณะทีไ่ ม่ ใช่ การวิจัย
1. การที่นิสิตนักศึกษาไปค้นคว้า เอกสารตาราแล้วนามาเรี ยบเรี ยง ตัดต่อ
2. การค้นพบ (Discovery) โดยทัว่ ไป โดยบังเอิญ
3. การรวบรวมข้อมูลแล้วนามา จัดทาตาราง
4. การทดลองปฏิบตั ิการ ตามคู่มือที่แนะนาไว้ต่อไปนี้เป็ นการวิจยั หรื อไม่
วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
ในการดาเนินการวิจยั นั้นโดยปกติเราจะมีวตั ถุประสงค์สาคัญต่อไปนี้
1. เพื่อใช้ในการบรรยาย ผลที่ได้จากการวิจยั สามารถที่จาบรรยายลักษณะของสิ่ งที่ทาการศึกษาวิจยั
นั้น ว่าเป็ นเช่นไร อยูท่ ี่ใด มีกี่ประเภท มากน้อยเพียงใด มีสภาพเป็ นอย่างไร มีพฒั นาการหรื อเปลี่ยนแปลงไป
อย่างไร หรื อ มีปัญหาอะไร มีความพึงพอใจมากน้อยเพียงใด เป็ นต้น
2. เพื่อใช้ในการอธิ บาย ผลที่ได้จากการวิจยั จะสามารถบอกเหตุผลของสิ่ งที่เกิดขึ้นได้ ว่ามีสาเหตุมา

176
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

จากสิ่ งใดหรื อได้รับอิทธิ พลจาก ตัวแปรใดหรื อปั จจัยใด รวมทั้ง ปั จจัยใดมีอิทธิ พลมากน้อยกว่ากัน ซึ่ งผูว้ จิ ยั
อาจทดลองใส่ ปัจจัยลงไป ในสิ่ งที่ศึกษาแล้วสังเกตการเปลี่ยนแปลงหรื อปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น แล้วจะช่วย
อธิ บายได้วา่ การเปลี่ยนแปลงหรื อปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นนั้น เป็ นเพราะสาเหตุใดหรื อได้รับอิทธิ พลจากสิ่ งใด
3. เพื่อใช้ในการทานาย ในบางครั้ง เราจาเป็ นที่จะต้องทราบอนาคตของสิ่ งที่ศึกษา ว่าเป็ นเช่นไร อันจะ
ช่วยให้มนุษย์สามารถที่เตรี ยมการ ปรับตัวให้ทนั การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นได้ในอนาคตได้ ซึ่ งการวิจยั นี้
อาจจะอาศัยข้อมูลที่เกิดขึ้น มาแล้วในอดีตจนถึงปั จจุบนั แล้วทาการวิเคราะห์แนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
ซึ่งอาจจะอาศัยวิธีการทางสถิติ หรื ออาศัยประสบการณ์ของผูเ้ ชี่ยวชาญหลาย ๆ คน เป็ นต้น
4. เพื่อใช้ในการควบคุม ในการดาเนินกิจกรรม อย่างใดอย่างหนึ่งซึ่ งต้องการประสิ ทธิ ภาพและ
คุณภาพของงาน จาเป็ นที่จะต้องเฝ้าติดตามการเปลี่ยนแปลง และมีการปรับปรุ งการดาเนินกิจกรรมนั้น ๆ อยู่
เสมอ ซึ่ งเพื่อ ให้สามารถได้ขอ้ มูลที่ถูกต้องทันเหตุการณ์และเพียงพอต่อการตัดสิ นใจ แก้ปัญหาและ
ปรับปรุ งงานนั้น ๆ จาเป็ นจะต้องอาศัยกระบวนการวิจยั ที่รอบรอบรัดกุมยิง่ ขึ้น
5. เพื่อใช้ในการพัฒนา ในการวิจยั จะช่วยให้ทราบสภาพความเป็ นอยู่ หรื อสภาพการดาเนิ นการใด ๆ
ว่ามีประสิ ทธิ ภาพ หรื อมีปัญหา หรื อความต้องการเพียงใด และสามารถทดลองแก้ปัญหาหรื อปรับปรุ งสภาพ
การดาเนิ นงานใด ๆ อยูเ่ สมอ ก็จะทาให้สภาพความเป็ นอยู่ หรื อสภาพดาเนินการใด ๆ ได้รับการพัฒนาให้มี
ประสิ ทธิ ภาพและส่ งผลต่อคุณภาพของงานนั้น อันจะส่ งผลต่อความสงบสุ ขของมนุษย์นนั่ เอง

ประโยชน์ ของการวิจัย
1. ช่วยให้ได้ความรู ้ใหม่ ทั้งทางทฤษฎีและปฏิบตั ิ
2. ช่วยพิสูจน์หรื อตรวจสอบความถูกต้องของกฏเกณฑ์ หลักการและทฤษฎีต่างๆ
3. ช่วย ให้เข้าใจสถานการณ์ ปรากฏการณ์และ พฤติกรรมต่าง ๆ
4. ช่วยพยากรณ์ผลภายหน้าของสถานการณ์ ปรากฏการณ์และพฤติกรรมต่าง ๆ ได้อย่าง ถูกต้อง
5. ช่วยแก้ไขปั ญหาได้อย่างถูกต้องและมีประสิ ทธิ ภาพ
6. ช่วยในการวินิจฉัย ตัดสิ นใจได้อย่างเหมาะสม
7. ช่วยปรับปรุ งการทางานให้มีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้น
8. ช่วยปรับปรุ งและพัฒนาสภาพความเป็ นอยู่ และวิธีดารงชีวติ ได้ดียงิ่ ขึ้น
9. ช่วยกระตุน้ บุคคลให้มีเหตุผล รู ้จกั คิดและค้นคว้าหาความรู ้อยูเ่ สมอ

วิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานการวิจยั ในชั้นเรี ยน เป็ นขั้นตอนสุ ดท้ายของกระบวนการวิจยั ในชั้นเรี ยน หลังจาก
ที่ได้ดาเนิ นการวิเคราะห์ขอ้ มูลที่เก็บรวบรวมมาจนได้ผลการวิจยั ตามวัตถุ ประสงค์แล้ว การเขียนรายงาน
การวิจยั โดยทัว่ ไปมีวตั ถุประสงค์เพื่อสรุ ปผลการวิจยั เผยแพร่ ให้ผสู ้ นใจได้ศึกษา รับรู ้ นารู ปแบบวิธีการ
ดาเนินงานและผลการวิจยั ไปใช้ในการปฏิบตั ิงาน รวมทั้งเพื่อเสนอเป็ นผลงานทางวิชาการสาหรับขอเลื่อน
177
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

และก าหนดต าแหน่ ง ให้ สู ง ขึ้ น ด้ว ย แต่ ก ารเขี ย นรายงานการวิ จ ัย ในชั้น เรี ย นไม่ ไ ด้ใ ห้ ค วามส าคัญ กับ
วัตถุประสงค์ดงั กล่าว แต่เป็ นการเขียนเพื่อบันทึกรวบรวมองค์ความรู ้เกี่ยวกับวิธีการหรื อนวัตกรรมที่คิดค้น
แสวงหามาใช้ในการแก้ปัญหา
องค์ ประกอบของรายงานการวิจัยในชั้นเรียน
โดยทัว่ ไปแล้วในรายงานการวิจยั ในชั้นเรี ยนของครู ประกอบด้วย
1) วัตถุประสงค์ของการวิจยั
2) วิธีการดาเนินการวิจยั
3) ผลการวิจยั
4) ข้อสังเกตหรื อข้อสงสัยเพิ่มเติม และ
5) สิ่ งที่ตอ้ งศึกษาต่อไป ประเด็นที่น่าสนใจและ

แนวทางในการวิจัยต่ อไป หรื อควรประกอบด้ วย


1) บทนา (ความเป็ นมาและความสาคัญของปั ญหา และวัตถุประสงค์ ของการวิจัย)
2) แนวคิดทีส่ าคัญ (และสมมุติฐาน) ของการวิจัย
3) วิธีดาเนินการวิจัย (ตัวแปร กลุ่มตัวอย่ าง เครื่ องมือ และวิธีการเก็บข้ อมูล)
4) การวิเคราะห์ ข้อมูลและการแปลความหมาย และ
5) สรุ ปผล อภิปราย และข้ อเสนอแนะ
การเขียนรายงานวิจัยในชั้นเรียนจึงควรมีองค์ ประกอบที่สาคัญดังนี้
1. ชื่ อเรื่ องการวิจัย
2. ปัญหาและความสาคัญของปัญหา
3. วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
4. วิธีการวิจัย
4.1 กลุ่มเป้ าหมาย
4.2 วิธีการหรื อนวัตกรรมทีใ่ ช้
4.3 วิธีการรวบรวมข้ อมูล
4.4 วิธีการวิเคราะห์ ข้อมูล
4.5 ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล
5. สรุ ปและสะท้ อนผล

178
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

หลักการเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานการวิจยั ในชั้นเรี ยนให้น่าเชื่อถือและยอมรับได้ ควรคานึงถึงสิ่ งต่อไปนี้
1. ปั ญหาที่นามาวิจยั ต้องเป็ นปั ญหาที่แท้จ ริ ง มีข้อมูลชั ดเจนว่ าเป็ นปั ญหา ไม่ใช่เป็ นเพียงสาเหตุ
ของปัญหา เป็ นปั ญหาที่สามารถหาคาตอบได้ดว้ ยการวิจยั และเป็ นองค์ความรู ้ใหม่
2. ชื่อเรื่ องการวิจยั หรื อชื่อปัญหาวิจยั ต้องมีความกะทัดรัด และชัดเจนในตัวของมัเอง เฉพาะเจาะจง
และน่ า สนใจ ค าว่า การศึ ก ษาเกี่ ย วกับ การวิจยั การทดลอง การวิเคราะห์ กาส ารวจ หรื อการค้นหาก็
ตาม คาเหล่านี้ไม่จาเป็ นต้องใช้
3. วัต ถุ ป ระสงค์ข องการวิจ ัย ควรใช้ภ าษาที่ ชัด เจน เข้า ใจง่ า ย ไม่ ว กวน หลี ก เลี่ ย งการใช้ค า
ซ้ าซ้อน นาไปสู่ การตั้งสมมุติฐานและสามารถทาการทดสอบได้
4. วิธีการวิจยั มีความถู กต้องมีขอ้ มูลครบถ้วนและถูกต้องตามความเป็ นจริ ง เครื่ องมือที่ใช้ในการ
เก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการวิเคราะห์ขอ้ มูล และผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลมีความเที่ยงตรง
5. การสื่ อความหมายตั้งแต่ตน้ จนจบมีความชัดเจน สอดคล้องต่อเนื่อง ผูอ้ ่านสามารถเข้าใจได้ดี
การเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจยั ในชั้นเรี ยนเป็ นการวิจยั เชิ งคุณภาพ ซึ่ งเกิดขึ้นจากการค้นคว้าทดลองแสวงหาความจริ งเชิง
วิทยาศาสตร์ อย่างใกล้ชิดในสถานการณ์ จริ งของครู ในชั้นเรี ยน หรื อในโรงเรี ยน ไม่มีรูปแบบการเขียน
รายงานที่เป็ นสากล เน้นรู ปแบบที่ เรี ยบง่าย ใช้การบรรยายเป็ นหลักในการนาเสนอข้อค้นพบที่เป็ นองค์
ความรู ้ ใหม่จากการแก้ปัญหา ซึ่ งก็ข้ ึ นอยู่กบั ว่าครู ผูว้ ิจยั จะมี ความสามารถในการบันทึ กรายละเอี ยดของ
องค์ประกอบต่าง ๆ ที่เกิ ดขึ้นจากการวิจยั ได้มากน้อยหรื อดี เพียงใด ดังนั้นการเขียนรายงานการวิจยั ในชั้น
เรี ยนที่มีความเป็ นไปได้ และอยูใ่ นวิสัยที่ครู ผสู ้ อนโดยทัว่ ไปจะทาได้ จึงควรมีโครงสร้างและองค์ประกอบ
ที่สาคัญ ดังนี้
1. วิ ธีโบราณ (Older methods) ในสมัยโบราณมนุษย์ได้ความรูม้ าโดย
1.1 การสอบถามผู้ร้หู รือผูม้ ีอานาจ (Authority) เป็ นการได้ความรูจ้ ากการสอบถามผูร้ ู้ หรือผู้
มีอานาจ เช่น ในสมัยโบราณเกิดโรคระบาด ผูค้ นก็จะถามจากผูท้ ม่ี อี านาจว่าควรทา อย่างไร ซึง่ ในสมัย
นัน้ ผูม้ อี านาจก็จะแนะนาให้ทาพิธสี วดมนต์ออ้ นวอนต่อสิง่ ศักดิ ์สิทธิ ์ต่าง ๆ ให้ช่วยคลีค่ ลายเหตุการณ์ต่าง
ๆ คนจึงเชื่อถือโดยไม่มกี ารพิสจู น์
1.2 ความบังเอิ ญ (Chance) เป็ นการได้ความรูม้ าโดยไม่ตงั ้ ใจ ซึง่ ไม่ได้เจตนาทีจ่ ะศึกษาเรือ่ งนัน้
โดยตรง แต่บงั เอิญเกิดเหตุการณ์หรือปรากฏการณ์บางอย่างทาให้มนุษย์ได้รบั ความรูน้ นั ้ เช่น เพนนิซลิ ิ
นจากราขนมปั ง
1.3 ขนบธรรมเนี ยมประเพณี (Tradition) เป็ นการได้ความรูม้ าจากสิง่ ทีค่ นในสังคมประพฤติ
ปฏิบตั สิ บื ทอดกันมาจนเป็ นขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรม ผูท้ ใ่ี ช้วธิ กี ารนี้ ควรตระหนักด้วยว่า
สิง่ ต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในอดีตจนเป็ นขนบธรรมเนียมประเพณีนนั ้ ไม่ใช่จะเป็ นสิง่ ทีถ่ ูกต้องและเทีย่ งตรง
เสมอไป ดังนัน้ ผูท้ ใ่ี ช้วธิ กี ารนี้ควรจะได้นามาประเมินอย่างรอบคอบเสียก่อนทีจ่ ะยอมรับว่าเป็ น
ข้อเท็จจริง
179
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

1.4 ผูเ้ ชี่ยวชาญ (Expert) เป็ นการได้ความรูจ้ ากผูเ้ ชีย่ วชาญเฉพาะเรือ่ ง เมือ่ มีปัญหาหรือ
ต้องการคาตอบเกีย่ วกับเรือ่ งใดก็ไปถามผูเ้ ชีย่ วชาญ เฉพาะเรือ่ งนัน้ เช่น เรือ่ งดวงดาวต่าง ๆ ในท้องฟ้ า
จากนักดาราศาสตร์ เรือ่ งความเจ็บป่ วยจากนายแพทย์
1.5 ประสบการณ์ ส่วนตัว (Personal experience) เป็ นการได้ความรูจ้ ากประสบการณ์ทต่ี น
เคยผ่านมา ประสบการณ์ของแต่ละบุคคลช่วยเพิม่ ความรูใ้ ห้บุคคลนัน้ เมือ่ ประสบปั ญหาก็พยายาม
ระลึกถึงเหตุการณ ์์หรือวิธกี ารแก้ปัญหาในอดีตเพื่อเป็ นแนวทางในการแก้ปัญหาทีป่ ระสบอยู่
1.6 การลองผิดลองถูก (Trial and error) เป็ นการได้ความรูม้ าโดยการลอง แก้ปัญหาเฉพาะ
หน้า หรือปั ญหาทีไ่ ม่เคยทราบมาก่อน เมือ่ แก้ปัญหานัน้ ได้ถูกต้องเป็ นทีพ่ งึ พอใจ ก็จะกลายเป็ นความรู้
ใหม่ทจ่ี ดจาไว้ใช้ต่อไป ถ้าแก้ปัญหาผิดก็จะไม่ใช้วธิ กี ารนี้อกี
2. วิ ธีการอนุมาน (Deductive method) คิดขึน้ โดยอริสโตเติล (Aristotle) เป็ นวิธกี ารคิดเชิง
เหตุผล ซึง่ เป็ นกระบวนการคิดค้นจากเรือ่ งทัว่ ๆ ไปสู่เรือ่ งเฉพาะเจาะจง หรือคิดจากส่วนใหญ่ไปสู่
ส่วนย่อยจากสิง่ ทีร่ ไู้ ปสู่ สิง่ ทีไ่ ม่รู้ วิธกี ารอนุ มานนี้จะประกอบด้วย
2.1 ข้อเท็จจริ งใหญ่ ซึง่ เป็ นเหตุการณ์ทเ่ี ป็ นจริงอยูใ่ นตัวมันเอง หรือเป็ นข้อตกลงทีก่ าหนดขึน้
เป็ นกฎเกณฑ์
2.2 ข้อเท็จจริ งย่อย ซึง่ มีความสัมพันธ์กบั ข้อเท็จจริงใหญ่ หรือเป็ นเหตุผลเฉพาะกรณีทต่ี อ้ งการ
ทราบความจริง
2.3ผลสรุป เป็ นข้อสรุปทีไ่ ด้จากการพิจารณาความสัมพันธ์ของเหตุใหญ่และเหตุยอ่ ย
ตัวอย่างการหาความจริ งแบบนี้ เช่น
ตัวอย่างที่ 1 ข้อเท็จจริงใหญ่ : สัตว์ทุกชนิดต้องตาย
ข้อเท็จจริงย่อย : แมวเป็ นสัตว์ชนิดหนึ่ง ผลสรุป : แมวต้องตาย

ตัวอย่างที่ 2 ข้อเท็จจริงใหญ่ : ถ้าโรงเรียนถูกไฟไหม้ ครูจะเป็ นอันตราย


ข้อเท็จจริงย่อย : โรงเรียนถูกไฟไหม้
ผลสรุป : ครูเป็ นอันตราย

ถึงแม้ว่าการแสวงหาความรู้โดยวิธกี ารอนุ มาน จะเป็ นวิธ ีการที่มปี ระโยชน์ อ ย่างยิง่ แต่ ก็มขี ้อ จากัด
ดังนี้
1. ผลสรุปจะถูกต้องหรือไม่ ขึน้ อยูก่ บั ข้อเท็จจริงใหญ่กบั ข้อเท็จจริงย่อย หรือทัง้ คู่ ไม่ถูกต้องก็จะ
ทาให้ขอ้ สรุปพลาด ไปด้วย ดังเช่นตัวอย่างที่ 2 นัน้ การที่โรงเรียนถูกไฟไหม้ ครูในโรงเรียนอาจจะไม่
เป็ นอันตรายเลยก็ได้
2. ผลสรุปทีไ่ ด้เป็ นวิธกี ารสรุปจากสิง่ ทีร่ ไู้ ปสู่สงิ่ ที่ไม่รู้ แต่วธิ กี ารนี้ไม่ได้เป็ นการยืนยันเสมอไปว่า
ผลสรุปทีไ่ ด้จะเชื่อถือได้เสมอไป เนื่องจากถ้าสิง่ ทีร่ แู้ ต่แรกเป็ นข้อมูลทีค่ ลาดเคลื่อนก็จะส่งผลให้ขอ้ สรุป
นัน้ คลาดเคลื่อนไปด้วย

180
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

3. วิ ธี ก ารอุ ป มาน (Inductive Method) เกิ ด ขึ้น โดยฟรานซิ ส เบคอน (Francis Bacon)
เนื่อ งจากข้อ จากัดของวิธ ีก ารอุ ม านในแง่ท่วี ่ าข้อ สรุป นัน้ จะเป็ นจริงได้ต่ อ เมื่อ ข้อ เท็จ จริงจะต้อ งถู ก
เสียก่อน จึงได้เสนอแนะวิธกี ารเสาะแสวงหาความรู้ โดยรวบรวมข้อเท็จจริงย่อย ๆ เสียก่อนแล้วจึงสรุป
รวบไปหาส่วนใหญ่ หลักในการอุปมานนัน้ มีอยู่ 2 แบบด้วยกันคือ
3.1 วิธกี ารอุปมานแบบสมบูรณ์ (Perfect inductive method) เป็ นวิธกี ารแสวงหาความรู้โดย
รวบรวม ข้อเท็จจริงย่อย ๆ จากทุกหน่ วยของกลุ่มประชากร แล้วจึงสรุปรวมไปสู่ ส่วนใหญ่ วิธนี ้ีปฏิบตั ิ
ได้ยากเพราะบางอย่างไม่สามารถนามาศึกษาได้ครบทุกหน่ วย นอกจากนี้ยงั สิ้นเปลืองเวลา แรงงาน
และค่าใช้จา่ ยมาก
3.2 วิธกี ารอุปมานแบบไม่สมบูรณ์ (Imperfect inductive method) เป็ นวิธกี าร เสาะแสวงหา
ความรู้ โดยรวบรวมข้อเท็จจริงย่อย ๆ จากบางส่วนของกลุ่มประชากร แล้วสรุปรวมไปสู่ส่วนใหญ่ โดยที่
ข้อมูลทีศ่ กึ ษานัน้ ถือว่าเป็ นตัวแทนของสิง่ ที่จะศึกษาทัง้ หมด ผลสรุปหรือ ความรูท้ ไ่ี ด้รบั สามารถอ้างอิง
ไปสู่กลุ่มทีศ่ กึ ษาทัง้ หมดได้ วิธกี ารนี้เป็ นทีน่ ิยมมากกว่าวิธอี ุปมานแบบสมบูรณ์ เนื่องจากสะดวกในการ
ปฏิบตั แิ ละประหยัดเวลา แรงงานและค่าใช้จา่ ย
4. วิ ธี ก ารทางวิ ท ยาศาสตร์ (Scientific method) เป็ นการเสาะแสวงหาความรู้โ ดยใช้ ห ลัก การ
ของ วิธกี ารอนุมานแล ะวิธกี ารอุปมานมาผสมผสานกัน Charles Darwin เป็ นผูร้ เิ ริม่ นาวิธกี ารนี้มาใช้ ซึง่
เมื่อต้องการค้นคว้าหาความรู้ หรือแก้ปัญหาในเรื่องใดก็ต้องรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องนัน้ ก่อน แล้วนา
ข้อมูลมาใช้ในการสร้างสมมติฐาน ซึ่งเป็ นการคาดคะเนคาตอบล่วงหน้า ต่อจากนัน้ เป็ นการตรวจสอบ
ปรับปรุงสมมติฐาน การเก็บรวบรวมข้อมูล และการทดสอบสมมติฐาน และJohn Dewey ปรับปรุงให้ดี
ขึน้ แล้วให้ช่อื วิธนี ้ีว่า การคิดแบบใคร่ครวญรอบคอบ (reflective thinking) ซึ่งต่อมาเป็ นที่รจู้ กั กันในชื่อ
ของวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์
วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ เป็ นวิธกี ารเสาะแสวงหาความรูท้ ด่ี ใี นการแก้ปัญหาต่าง ๆ ไม่เพียงแต่ ปั ญหาที่
เกิดขึ้นในห้อ งปฏิบตั ิก ารวิท ยาศาสตร์เ ท่า นัน้ แต่ ยงั สามารถนามาประยุกต์ใ ช้ใ นการแก้ปัญ หาทาง
การศึกษาด้วย
ขัน้ ตอนของวิ ธีการแก้ปัญหาทางวิ ทยาศาสตร์
1. ขัน้ ปั ญหา (Problem)
2. ขัน้ ตัง้ สมมติฐาน (Hypothesis)
3. ขัน้ รวบรวมข้อมูล (Gathering Data)
4. ขัน้ วิเคราะห์ขอ้ มูล (Analysis)
5. ขัน้ สรุป (Conclusion)
ขัน้ ตอนของวิ ธีการทางวิ ทยาศาสตร์ที่ใช้แก้ปัญหาทางการศึกษา
1. การตระหนักถึงปั ญหา ขัน้ นี้ผเู้ สาะแสวงหาความรูม้ คี วามรูส้ กึ หรือตระหนักว่าปั ญหาคือ
อะไร หรือมีความสงสัยใคร่รเู้ กิดขึน้ ว่าคาตอบของปั ญหานัน้ คืออะไร
2. กาหนดขอบเขตของปั ญหาอย่างชัดเจนและเฉพาะเจาะจง ขัน้ นี้จะต้องกาหนดขอบเขต
ของปั ญหาทีต่ นจะศึกษาหาคาตอบนัน้ มีขอบเขตกว้างขวางแค่ไหน

181
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

3. ก าหนดสมมติฐาน ผู้แ สวงหาความรู้ คาดคะเนค าตอบของปั ญหาโดยการสังเกตจาก


ข้อเท็จจริงต่าง ๆ ทีม่ อี ยู่
4. กาหนดเทคนิคการรวบรวมข้อมูล รวมทัง้ การพัฒนาเครื่องมือที่มคี ุณภาพไว้ใช้ในการ
รวบรวมข้อมูลทีจ่ ะตอบปั ญหาทีต่ อ้ งการ
5. รวบรวมข้อมูล ผูเ้ สาะแสวงหาความรู้ นาเครือ่ งมือทีพ่ ฒ ั นาไว้ในขัน้ ที่ 4 มารวบรวมข้อมูล
ทีจ่ ะตอบปั ญหาทีต่ อ้ งการทราบ
6. วิเคราะห์ขอ้ มูล นาข้อมูลทีร่ วบรวมได้ในขัน้ ที่ 5 มาจัดกระทาเพื่อหาคาตอบ
7. สรุปผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ผูเ้ สาะแสวงหาความรู้ สรุปผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลที่ เกี่ยวข้อง
กับสมมติฐานทีค่ าดคะเนไว้บนพืน้ ฐานของผลทีไ่ ด้จากการวิเคราะห์ขอ้ มูล
ความหมายของการวิ จยั
การวิจยั ซึง่ ตรงกับภาษาอังกฤษว่า “Research” ถ้าจะแปลตามตัวหมายถึง การค้นหาซ้าแล้วซ้าอีก ซึง่
ความหมายของคาว่าวิจยั ทางด้านวิชาการได้มผี ใู้ ห้ความหมายไว้ต่าง ๆ กัน เช่น
เบสท์ (Best, 1981 อ้างถึงใน บุญเรียง ขจรศิลป์ , 2533 : 5) ได้ให้ความหมายของการวิจยั ไว้ว่าเป็ น
วิธกี ารที่เป็ นระบบระเบียบ และมีจุดมุ่งหมายในการวิเคราะห์ และคิดบันทึกการสังเกตที่มกี ารควบคุม
เพื่อ น าไปสู่ข้อ สรุ ป อ้ า งอิง หลัก การหรือ ทฤษฎีซ่ึง จะเป็ น ประโยชน์ ใ นการท างานและการควบคุ ม
เหตุการณ์ต่าง ๆ ได้
รัตนะ บัวสนธ์ (2543, 3) ได้ให้ความหมายของการวิจยั ไว้ว่า เป็ นการหาความจริงเชิง สาธารณะด้วย
วิธกี ารทีเ่ รียกว่ากระบวนการวิจยั ซึง่ มีลกั ษณะเป็ นระบบมีขนั ้ ตอน
ผ่องพรรณ ตรัยมงคลกูล (2543 : 21) สรุปความหมายของการวิจยั ไว้ว่า การวิจยั คือการศึกษาค้นคว้า
อย่างมีระบบระเบียบเพื่อทาความเข้าใจปั ญหาและแสวงหาคาตอบ เป็ นกระบวนการทีอ่ าศัยวิธกี ารทาง
วิทยาศาสตร์เป็ นหลัก
บุ ญ เรีย ง ขจรศิ ล ป์ (2533 : 5) ได้ ใ ห้ ค วามหมายของค าว่ า การวิจ ัย ทางด้ า นวิช าการ หมายถึ ง
กระบวนการเสาะแสวงหาความรู้ใหม่ ๆ หรือกระบวนการเสาะแสวงหาความรู้เพื่อตอบปั ญหาที่มอี ยู่
อย่างมีระบบ และมีวตั ถุประสงค์ทแ่ี น่ นอน โดยอาศัยวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์
ดังนัน้ การวิจยั ทางการศึกษาจึงหมายถึง กระบวนการเสาะแสวงหาความรูใ้ หม่ ๆ ที่เป็ นความจริงเชิง
ตรรกะ (Logical) หรือความจริงเชิงประจักษ์ (Empirical) เพื่อตอบปั ญหาทางการศึกษาอย่างมีระบบ และมี
วัตถุประสงค์ทแ่ี น่นอน โดยอาศัยวิธกี ารทางวิทยาศาสตร์เป็ นหลัก
การจัดประเภทการวิ จยั
การจัดประเภทการวิจยั ทางการศึกษานัน้ สามารถจัดได้หลายแบบแล้วแต่ว่าจะใช้อะไรเป็ นเกณฑ์ในการ
แบ่ง ซึง่ พอสรุป ได้ดงั นี้
1. ใช้ระเบียบวิธวี จิ ยั เป็ นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงประวัตศิ าสตร์
- เชิงบรรยาย
- เชิงทดลอง

182
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

2. ใช้จดุ มุง่ หมายของงานวิจยั เป็ นเกณฑ์ในการแบ่ง


- บริสุทธิ ์
- ประยุกต์
- เชิงปฏิบตั กิ าร
3. ใช้ลกั ษณะและวิธกี ารวิเคราะห์ขอ้ มูลเป็ นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงปริมาณ
- เชิงคุณภาพ
4. ใช้ลกั ษณะศาสตร์และสาขาวิชาทีเ่ กีย่ วข้องกับการวิจยั เป็ นเกณฑ์ในการแบ่ง
- วิทยาศาสตร์
- สังคมศาสตร์
- มนุษยศาสตร์
5. ใช้วธิ กี ารควบคุมตัวแปรเป็ นเกณฑ์ในการแบ่ง
- เชิงทดลอง
- เชิงกึง่ ทดลอง
- เชิงธรรมชาติ
สรุป......
ขั้นตอนในการดาเนินการวิจัย
- กาหนดปั ญหาที่จะดาเนินการวิจยั
- กาหนดวัตถุประสงค์การวิจยั
- ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง ( ทฤษฎี เอกสาร งานวิจยั )
- กาหนดกรอบแนวคิดและตั้งสมมติฐาน นิยามศัพท์
- กาหนดแบบการวิจยั
- กาหนดประชากรและวิธีการสุ่ มตัวอย่าง
- สร้างเครื่ องมือและหาประสิ ทธิภาพของเครื่ องมือ
- การรวมรวมข้อมูล ( แหล่งปฐมภูมิ, แหล่งทุติยภูมิ)
- การวิเคราะห์ขอ้ มูล
- การนาเสนอผล ( การเสนอรายงานการวิจยั )
- กาหนดปั ญหาที่จะดาเนินการวิจยั
เป็ นการกาหนดปั ญหาของการวิจยั และเป็ นสิ่ งที่มีความสาคัญมากในการวิจยั และในการเลือก
ปัญหาในการวิจยั ต้องพิจารณาจากความรู ้ ทัศนคติ ความสามารถของผูว้ ิจยั แหล่งความรู ้ที่จะเป็ นส่ วนเสริ ม
ให้งานวิจยั สาเร็ จ ประชากรและวิธีการสุ่ มตัวอย่างการรวบรวมข้อมูล รวมทั้งเงินทุน เวลาที่จะทาให้งานวิจยั
สาเร็ จ ซึ่งมีขอ้ ควรพิจารณาในการเลือกปั ญหาคือ
- ต้องเป็ นปัญหาที่มีความสาคัญ

183
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

- สามารถแก้ปัญหาด้วยวิธีการที่มีเหตุผล
- มีขอ้ มูลที่เที่ยงตรงและเชื่อถือสนับสนุน
- เป็ นปั ญหาที่แสดงถึงการริ เริ่ ม ซึ่ งการกาหนดปั ญหาดังกล่าวจะเป็ นกรอบในการช่วยชี้แนวทาง
ให้ผวู ้ จิ ยั กาหนดวัตถุประสงค์
- เป็ นกรอบในการศึกษาค้นคว้าทฤษฎี งานวิจยั
- เป็ นแนวทางกาหนดตัวแปรและสมมุติฐาน ช่วยกาหนดรู ปแบบและวิธีดาเนินการวิจยั

กาหนดวัตถุประสงค์ การวิจัย
การกาหนดวัตถุประสงค์ในการวิจยั (Statement of research objectives) เมื่อผูว้ ิจยั ตัดสิ นใจ
เกี่ยวกับสิ่ งที่จะทาการวิจยั แล้ว ผูว้ จิ ยั ต้องกาหนดข้อความที่เป็ นปั ญหาและวัตถุประสงค์ในการวิจยั ให้
ชัดเจน การกาหนดวัตถุประสงค์ในการวิจยั เป็ นการค้นหาคาตอบที่ตอ้ งการจากงานวิจยั วิธีการกาหนด
วัตถุประสงค์ที่นิยมใช้ที่สุดคือการตั้งสมมติฐานในการวิจยั
ทบทวนวรรณกรรมทีเ่ กีย่ วข้ อง ( ทฤษฎี เอกสาร งานวิจยั ) มีจุดมุ่งหมายเพื่อ
- มุ่งแสวงหาพื้นฐานทางทฤษฎีและแนวคิดต่างๆ
- มุ่งแสวงหาสถานภาพทางการวิจยั (อะไร เมื่อไร ที่ไหน ใคร อย่างไร)
- มุ่งวางแนวทางการวิจยั ที่เหมาะสม (กาหนดกรอบแนวคิด สมมติฐานการวิจยั )
โดยจะศึกษาจาก การประมวลเอกสารที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบเอกสาร การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
วรรณคดีที่เกี่ยวข้อง ทฤษฎี เอกสาร และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งการ ประมวลเอกสารที่เกี่ยวมีประโยชน์เพื่อ
- ทาให้ทราบว่าการวิจยั ที่ใกล้เคียงกับการวัยของตนนั้นนักวิจยั คนอื่นได้จดั การแก้ปัญหาของเขา
อย่างไร
- ทาให้นกั วิจยั ได้เรี ยนรู ้การแก้ปัญหาต่างๆ ซึ่ งจะเป็ นแนวทางแก้ปัญหาที่ตนอาจประสบต่อไป
- ทาให้นกั วิจยั ทราบถึงแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่ไม่เคยทราบมาก่อน
- ช่วยให้นกั วิจยั มองเห็นการวิจยั ของตนว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับการวิจยั อื่นๆ อย่างไร
- ช่วยให้ผวู ้ จิ ยั มีความคิดใหม่ๆ และวิธีการใหม่ๆ ในการทาวิจยั
- ช่วยให้นกั วิจยั ประเมินความพยายามของตนโดยเปรี ยบเทียบกับความพยายามของผูอ้ ื่นในเรื่ อง
ที่ใกล้เคียงกัน
- กาหนดกรอบแนวคิดและตั้งสมมติฐาน นิยามศัพท์
กรอบแนวคิดในการวิจัย (Conceptual framework ) หมายถึง แนวคิดของผูว้ จิ ยั ที่แสดงให้
เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรต้นและตัวแปร ตาม ที่ใช้ศึกษาในการวิจยั ครั้งนั้น ๆ โดยมีที่มาจากการ
ทบทวนเอกสารวรรณกรรม แนวคิดทฤษฎี ตลอดจนผลงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง แล้วนามาเขียนเป็ นแผนภาพ
เชื่อมโยงเพื่อแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรที่ศึกษาในงานวิจยั ประโยชน์ของกรอบความคิด
ในการวิจยั
184
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

1. ช่วยชี้ให้เห็นทิศทางของการวิจยั และประเภทของตัวแปรต้นตัวแปรตาม
2. ช่วยชี้ความสัมพันธ์ของตัวแปรต้นและตัวแปรตาม
3. บอกแนวทางในการออกแบบการวิจยั
4. บอกแนวทางการกาหนดวัตถุประสงค์และสมมติฐานการวิจยั
5. บอกแนวทางการเลือกใช้เครื่ องมือในการวิจยั
6. บอกแนวทางการเลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
7. บอกกรอบการแปรผลและอภิปรายผลการวิจยั

การกาหนดสมมุติฐาน หมายถึง การเขียนข้อความที่เป็ นข้อคาดหวังเกี่ยวกับความ แตกต่างที่อาจ


เป็ นไปได้ ระหว่างตัวแปรต่าง ๆ ซึ่ งสมมุติฐานนั้นไม่จาเป็ นว่าจะต้องเป็ นจริ งเสมอไป
คานิยามศัพท์ หลักการให้คานิยามตัวแปรที่ใช้ในการวิจยั ทุกตัวเป็ นการให้คานิยามเชิงปฏิบตั ิการ ที่
ใช้ในการวิจยั เรื่ องนั้น ๆ ทั้งนี้ เนื่องจากคาศัพท์บางคามีความหมายได้หลายคาจะให้เฉพาะความหมายที่ใช้
ในการวิจยั ครั้งนี้เท่านั้น ความหมายที่ให้จะเป็ นความหมายเชิงปฏิบตั ิการ เป็ นคาจากัดความที่ให้ไว้เพื่อให้
ผูอ้ ่านเข้าใจตรงกันกับผูว้ จิ ยั การให้ความหมายต้องทาอย่างระมัดระวัง ไม่ให้คา้ นกับแนวคิดทฤษฎี และมี
ความหมายที่แน่นอนชัดเจน วัดได้เป็ นอย่าเดียวกันไม่วา่ ใครวัด การให้คานิยามศัพท์ มีวตั ถุประสงค์ 2
ประการ
1. เพื่อให้เกิดความคงที่ของตัวแปรที่ศึกษา ตลอดระยะเวลาของการวิจยั
2. เพื่อนาไปสู่ การสร้างเครื่ องมือวัดและวิธีการวัดตัวแปรนั้น ๆ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

กาหนดแบบการวิจัย
ลักษณะของแบบการวิจยั
แบบการวิจยั ที่มีการทดลอง การออกแบบเป็ นการกาหนดรายละเอียดต่าง ๆ เกี่ยวกับการทดลองที่จาเป็ นดังนี้
- การกาหนดกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม
- กาหนดตัวแปรในการทดลอง
- เลือกแบบแผนแบบการทดลอง
- สร้างเครื่ องมืออุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง
- ดาเนินการทดลองตามแผนแบบ
แบบการวิจัยเชิงสารวจ
เป็ น การวิจยั ที่ไม่มีการสร้างสถานการณ์เชื่อมโยงใด ๆ กับข้อมูลที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติเป็ นการ
ค้นหาความจริ งตามสภาพการณ์ปัจจุบนั ที่ปรากฏอยูห่ รื อให้เห็นว่ามีขอ้ เท็จจริ ง อย่างไรที่ปรากฏอยูม่ ี
ความสัมพันธ์กนั อย่างไร โดยไม่มีการจัดกระทาเพื่อควบคุมตัวแปรใด ๆ รู ปแบบการวิจยั แบบสารวจจาแนก
ได้ดงั นี้ การสารวจเชิงบรรยาย การสารวจเชิงเปรี ยบเทียบ การสารวจเชิงสหสัมพันธ์ การสารวจเชิงสาเหตุ
185
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

การออกแบบการวิจยั ในการวิจยั เชิงสารวจที่สาคัญคือ


- ออกแบบการเลือกตัวอย่าง
- ออกแบบการวัดค่าตัวแปร
- ออกแบบการวิเคราะห์ขอ้ มูล
แบบการวิจัยเชิงพัฒนา
เป็ นการวิจยั ที่มุ่งเน้นที่จะนาผลการวิจยั มาเพื่อปรับปรุ ง เปลี่ยนแปลง เพิม่
คุณภาพ ประสิ ทธิ ภาพ การทางานปกติในองค์กรหรื อหน่วยงานต่าง ๆ โดยอาศัยยุทธศาสตร์ วิธีการหรื อ
เทคนิคต่าง ๆ ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั ลักษณะธรรมชาติของงานหรื อหน่วยงานนั้น ๆ
แบบการวิจัยเชิงประเมิน ( Evaluation Research )
การวิจยั เชิงประเมินผล ( Evaluation Research ) เป็ นรู ปแบบการวิจยั ชนิดหนึ่ง เหมือนการวิจยั เชิง
สารวจ แต่การวิจยั เชิงประเมินผล เป็ นวิธีการวิจยั ที่มุ่งหาความรู ้+ความจริ งมาหาคุณค่า ของสิ่ งที่วจิ ยั นั้น
เพื่อให้ผบู ้ ริ หารคิดสนใจว่าความยุติโครงการหรื อให้ดาเนิ นการต่อไป ในการวิจยั เชิงประเมินผลนั้น สามารถ
ดาเนินการประเมินได้ใน 3 ระดับ
1. ก่อนการดาเนินงาน
2 . ระหว่างดาเนินงาน
3. สิ้ นสุ ดโครงการ
กระบวนการและขั้นตอนการทาวิจยั เชิงประเมินผล
ขั้นที่ 1 เลือกโครงการและตั้งหัวข้อวิจยั
ขั้นที่ 2 ทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
ขั้นที่ 3 กาหนดปั ญหา เป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการประเมิน
ขั้นที่ 4 ออกแบบวิจยั วางแผนวิจยั ประเมิน
ขั้นที่ 5 เก็บรวบรวมข้อมูล
ขั้นที่ 6 วิเคราะห์ขอ้ มูลและแปรผล
ขั้นที่ 7 การเสนอรายงานวิจยั เชิงประเมินผล
การนาทฤษฎีมากาหนดกรอบแนวคิดในการวิจยั เชิงประเมินผล ในการวิจยั เชิงประเมินโครงการนั้น ทฤษฎี
ที่นิยม นามาใช้มากที่สุด คือทฤษฎี CIPP Model ของ Stufflebeanc หรื อ CIPPO Model ของ นายธเนศ ต่วน
ชะเอม
C I P P O
C = Contexts บริ บท ได้แก่ สภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง สิ่ งแวดล้อม ปั ญหาของพื้นที่ ความต้องการและ
ความพร้อมของประชาชน
I = Input คือ โครงการ นั้นคือ เมื่อประเมินบริ บทว่ามีความพร้อมและต้องการแล้วจึงนาโครงการสู่ ชุมชน
แล้วจึงประเมินโครงการนั้นว่ามีความเป็ นได้มากน้อยเพียงใด เป้ าหมายเป็ นอย่างไร
186
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

P= Process คือกระบวนการในการดาเนินงานตามโครงการที่กาหนดไว้ นั้นคือ นัก วิจยั เชิงประเมินให้ทา


การประเมินในหัวข้อต่อไปนี้ หลักการ/การวางแผน ,กิจกรรมและวิธีการขั้นตอนการดาเนินงาน, การร่ วมมือ
, วัสดุอุปกรณ์, งบประมาณ
P= Product คือผลผลิต เช่น จานวนคน, เป้าหมายที่กาหนดไว้, ผลที่ได้รับ, มีนวัตกรรมใหม่ ๆ
O= Outcome คือ ผลลัพธ์ที่ตามมาจากโครงการนั้น เช่น ความสบายใจ, ความคุม้ ค่า, การขยายเครื อข่าย,
ผลประโยชน์ที่ตามมาในภายหลัง ซึ่ งอาจมีท้ งั ผลบวกและผลลบ
กาหนดประชากรและวิธีการสุ่ มตัวอย่ าง
ประชากร ในการวิจยั หมายถึง จานวนทั้งหมดของกลุ่มบุคคล สัตว์ สิ่ งต่างๆ ที่อยูใ่ นขอบข่ายการวิจยั โดย
บ่างออกเป็ น 2 ประเภท
- ประชากรที่มีจานวนจากัด
- ประชากรที่มีจานวนไม่จากัด
ตัวอย่าง หมายถึง ประชากรบางส่ วนหรื อทั้งหมดที่ใช้เป็ นตัวแทนในการศึกษาวิจยั วิธีการเลือกตัวอย่างแบ่ง
ออกเป็ น 2 วิธี
1. การเลือกตัวอย่างแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็ น เป็ นการเลือกตามความเหมาะสมกับสถานการณ์ สะดวก
ปลอดภัยเช่น
- การเลือกตัวอย่างแบบเจาะจง
- การเลือกตัวอย่างแบบกาหนดโควตา
- การเลือกตัวอย่างตามโอกาส
- การเลือกตัวอย่างตามสะดวก
การที่เลือกตัวอย่างโดยไม่ทราบค่าความน่าจะเป็ นนี้ไม่เหมาะสมที่จะใช้การคานวณค่าสถิติอนุมาน ในการ
วิเคราะห์ขอ้ มูล เพราะไม่ทราบค่า Sampling error จึงเหมาะสมที่จะใช้กบั สถิติบรรยายต่าง ๆ
2. การเลือกตัวอย่างแบบทราบค่าความน่าจะเป็ นการเลือกโดยการสุ่ ม (Random) ที่แต่ละหน่วยของ
ประชากรมีโอกาสได้รับการเลือกตัวอย่างเท่าเทียมกัน การเลือกตัวอย่างแบบนี้แบ่งออกเป็ น 5 วิธี คือ
- การเลือกตัวอย่างโดยการสุ่ ม เป็ นวิธีการที่ง่าย ๆ แต่ประชากรต้องไม่ใหญ่มากนัก
- การเลือกตัวอย่างเป็ นระบบ เป็ นวิธีใช้ได้ดีในกรณี ที่ประชากรมีขนาดใหญ่ที่มีการจัดระบบอย่าง
ใดอย่างหนึ่ง
- การเลือกตัวอย่างแบบการจัดชั้น เป็ นวิธีการเลือกตัวอย่างที่มีการจัดขั้นก่อน เพื่อให้ตวั อย่างที่ได้มา
จากทุกชั้น
- การเลือกตัวอย่างแบบกลุ่ม เป็ นวิธีการเลือกตัวอย่างที่มีการแบ่งประชากรออกเป็ นกลุ่ม
เช่นเดียวกับการจัดชั้นแต่ลกั ษณะจะไม่เหมือนกัน โดยการแบ่งแบบนี้ลกั ษณะภายในของ
ประชากรแต่ละกลุ่มจะมีความแตกต่างกัน และแต่ละกลุ่มจะมีความคล้ายคลึงกัน แล้วจึงเลือกโดย
การสุ่ มจากกลุ่มเล็ก ๆ โดยใช้ทุกหน่วยของกลุ่มย่อยมาเป็ นตัวอย่าง
187
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

- การเลือกตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน จะใช้เมื่อประชากรที่ศึกษามีขนาดใหญ่ ประกอบด้วยกลุ่ม


ย่อย ๆ โดยในกลุ่มย่อย ๆ ประกอบด้วยหน่วยต่าง ๆ ที่มีลกั ษณะตามที่สนใจคล้าย ๆ กัน
สร้ างเครื่ องมือและหาประสิ ทธิภาพของเครื่ องมือ
การตรวจสอบคุณภาพเครื่ องมือการวิจยั
ความเที่ยงตรง (Validity) หมายถึง ความสามารถวัดได้ตรงกับสิ่ งที่ตอ้ งการจะวัด และ วัดได้ครอบคลุม
พฤติกรรมลักษณะที่ตอ้ งการการกาหนดความเที่ยงตรงตามเนื้อหา นั้นจะต้องกาหนดนิ ยามตามทฤษฎีและ
แปลงเป็ นนิยามเชิงปฏิบตั ิการ เพื่อหาตัวชี้ วดั
ความเชื่อมัน่ (Reliability) หมายถึง ความคงที่ในการวัดเมื่อวัดซ้ า ๆ กันหลายครั้งจะให้ค่าเหมือนเดิมหรื อ
ใกล้เคียงกันการหาค่าความเชื่ อมัน่ มีหลายวิธีการดังนี้
1. วิธีการสอบซ้ า
2. วิธีใช้ฟอร์ มคู่ขนาน
3. วิธีหาความสอดคล้องภายใน
3.1 วิธีแบ่งครึ่ ง
3.2 วิธีของคูเดอร์ ริ ชาร์ดสัน
3.3 วิธีสัมประสิ ทธิ์ แอลฟ่ า
อานาจจาแนก (Discrimination) เครื่ องมือการวิจยั ที่ดีตอ้ งสามารถจาแนกสิ่ งต่าง ๆ ออกตามคุ ณลักษณะที่
ต้องได้ประสิ ทธิ ภาพ (Effciency) เครื่ องมือการวิจยั ที่มีประสิ ทธิ ภาพ หมายถึงมีประสิ ทธิ ภาพในการใช้ได้
ง่ า ยสะดวก รวดเร็ ว และประหยัดค่ า ใช้จ่า ยการสร้ า งเครื่ องมื อให้มี ป ระสิ ท ธิ ภาพในการใช้ง านจึ ง ต้อ ง
พิจารณากลุ่มเป้ าหมายว่าจะใช้เครื่ องมือกับกลุ่มใด ธรรมชาติหรื อลักษณะพื้นฐานของกลุ่มเป้ าหมายเป็ นเช่น
ไร
การรวมรวมข้ อมูล ( แหล่ งปฐมภูมิ, แหล่ งทุติยภูมิ)
ในการดาเนิ นการเก็บรวบรวมข้อมูลผูว้ ิจยั จะต้องทราบว่าในการทาการวิจยั นั้นสามารถจะรวบรวม
ข้อมูลจากกลุ่ม ประชากรทั้งหมด หรื อ สุ่ มตัวอย่าง ซึ่ งในการสุ่ มตัวอย่างนั้นก็ตอ้ งทราบว่าจะต้องสุ่ มตัวอย่าง
โดยวิธีการใดที่จะให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็ นตัวแทนที่ดีของ กลุ่มประชากร ข้อมูลที่ผวู ้ ิจยั จะทาการรวบรวม
นั้นมาจากไหน ปฐมภูมิ (Primary Source)ทุติยภูมิ (Secondary Source)
ข้ อมูลทุติยภูมิ (Secondary data)
เป็ นข้อมูลสถิติซ่ ึ งเก็บรวบรวมมาก่อนแล้วเพื่อจุดมุ่งหมายอื่นซึ่ งอาจจะเอามาใช้ประกอบในงานวิจยั
ได้ (Churchill. 1996 : 54) หรื อหมายถึ งข้อมูลที่ได้นดั พิมพ์มาแล้วเพื่อจุดมุ่งหมายอื่นไม่ใช่ เพื่อจุดมุ่งหมาย
ในการศึ ก ษาปั จ จุ บ ัน (Kinnear and Tailor. 1996 : 856) ข้อ มู ล ทุ ติ ย ภู มิ อ าจจะอยู่ ใ นระบบข้อ มู ล ภายใน
ธุ รกิจ เช่น รายงานสารวจการขายจากใบสั่งซื้ อของลูกค้า อาจจะต้องอาศัยจากภายนอก เช่น ห้องสมุดธุ รกิจ
ข้อมูลสถิติของรัฐบาล รายงานจากสมาคมการค้า ฯลฯ
ข้ อมูลปฐมภูมิ (Primary data)
188
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

เป็ นข้อมูลที่เก็บรวบรวมจากแหล่งข้อมูลเบื้องต้นซึ่ งอาจจะเป็ นข้อมูลที่เกิ ดจากคาถามในการวิจยั


(Churchill. 1996 : 55) วิธีการในการวบรวมข้อมูลปฐมภูมิจะเกี่ยวข้องกับคาถามต่อไปนี้
(1) ควรรวบรวมโดยการสังเกตหรื อการออกแบบแบบสอบถาม
(2) ควรจะมีวธิ ี การสังเกตอย่างไร
(3) การสารวจด้วยตัวเองหรื อใช้เครื่ อง อิเล็กทรอนิกส์
(4) คาถามควรจะมีการบริ หารโดยบุคคล โทรศัพท์ หรื อใช้จดหมาย
การวิเคราะห์ ข้อมูลการออกแบบการวิเคราะห์ ข้อมูล (Analysis Design)
การวิเคราะห์ขอ้ มูล (Analysis of data) เป็ นการจาแนกข้อมูลออกเป็ นส่ วนย่อย ๆ เพื่อจัดข้อมูลต่าง ๆ
ให้เป็ นระบบหมวดหมู่ แล้วใช้ค่าสถิ ติช่วยในการสรุ ปลักษณะของข้อมูลนั้น ๆ ตามลักษณะของตัวแปรที่
ศึกษา ในกรณี ที่เป็ นข้อมูลเชิ งปริ มาณ จะ แตกต่างกับการวิเคราะห์ ขอ้ มูลในงานวิจยั เชิ งคุ ณภาพที่ใ ช้การ
วิเคราะห์โดยการ จาแนกชนิ ดและการเปรี ยบเทียบลักษณะของข้อมูลเพื่อหาความสัมพันธ์เกี่ยวโยงกัน ของ
ปรากฏการณ์ ต่างๆ โดยอาศัย กรอบแนวคิ ดและทฤษฎี ช่ วยในการสร้ างข้อสรุ ปนั้น การเลื อกใช้สถิ ติจะ
พิจารณาจาก
1. วัตถุประสงค์การวิจยั (เพื่อการบรรยาย, เพื่อเปรี ยบเทียบ, เพื่อหาความสัมพันธ์, เพื่อสร้างตัวแบบ)
2. หน่วยการวิเคราะห์ (เอกบุคคล, แบบกลุ่ม)
3. ระดับการวัดค่าตัวแปร (ระดับกลุ่ม, ระดับอันดับ, ระดับวง, ระดับอัตราส่ วน)
4. การเลือกตัวอย่าง (ใช้การสุ่ ม, ไม่มีการสุ่ ม)
ดังนั้นเทคนิคการวิเคราะห์และแปลผลขึ้นอยูก่ บั ลักษณะของข้อมูลที่นามาวิเคราะห์ดงั นี้
1. การวิเคราะห์ ข้อมูลเชิ งปริ มาณ ใช้วิธีการทางสถิ ติเป็ นวิธีการในการวิเคราะห์ ซึ่ งแบ่งได้เป็ น 2
ประเภทคือ
a. สถิติบรรยาย (Descriptive Statistics)การวิจยั ที่มุ่งหมายเพื่อการบรรยายข้อมูลตัวอย่างหรื อ
ประชากรโดยไม่อา้ งอิงไปถึงประชากรใด สามารถเลือกใช้สถิติบรรยายได้ดงั นี้
1. การแจกแจงความถี่
2. การจัดตาแหน่งเปรี ยบเทียบ (Proportion, Rate, Ratio, Percentage)
3. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ ส่วนกลาง (Mean, Median, Mode)
4. การวัดการกระจาย (S.D., Q.D., C.V., Range)
5. การวัดความสัมพันธ์ (rxy , rt , rbis)
6. การวัดการถดถอย
b. สถิติอนุมาน (Inferential Statistics) หรื อสถิติวเิ คราะห์ซ่ ึ งแยกย่อยออกเป็ น 2 กลุ่มคือ
1. Non-Parametric Statistics
2. Parametric Statistics
2. การวิเคราะห์ ข้อมูลเชิ งคุณภาพ ใช้เทคนิควิธีการที่เรี ยกว่า การจาแนกกลุ่มข้อมูลเชิงคุณภาพ
189
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

การวางแผนการวิเคราะห์ ข้อมูล
ในขั้นตอนของการวิเคราะห์ขอ้ มูลนั้นผูว้ ิจยั ควรจะมีการวางแผนก่อนโดยพิจารณาจากวัตถุประสงค์
ของการวิจยั ว่า ในแต่ละวัตถุประสงค์ของการวิจยั จะทาการวิเคราะห์อย่างไร ควรจะจัดกระทาข้อมูลอย่างไร
และใช้ค่าสถิติใดช่วยในการหาคาตอบตามวัตถุประสงค์น้ นั
การนาเสนอผล ( การเสนอรายงานการวิจัย)
บทที่ 1 บทนา
ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา
วัตถุประสงค์การวิจยั
ขอบเขตการวิจยั
ข้อตกลงเบื้องต้น
ประโยชน์ที่ได้รับจากการวิจยั
บทที่ 2 วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
ทฤษฎี แนวคิด และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง
กรอบแนวคิด
สมมุติฐานการวิจยั
นิยามศัพท์เฉพาะ
บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจยั
รู ปแบบการวิจยั
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
เครื่ องมือที่ใช้ในการวิจยั
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์ขอ้ มูลและสถิติที่ใช้
บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ( เสนอตามวัตถุประสงค์และสมมุติฐาน)
บทที่ 5 สรุ ป อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ
สรุ ปผลการวิจยั
อภิปรายผล
ข้อเสนอแนะ( ต่อหน่วยงาน เพื่อการวิจยั ครั้งต่อไป)

190
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

แบบทดสอบ
ข้ อสอบกฎหมายและระเบียบทีใ่ ช้ ในการปฏิบัติราชการ
1.พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ สอดคล้องกับข้อใดมากที่สุด
ก. กฎหมายแม่บทการจัดการศึกษา
ข. แนวทางจัดการศึกษาของรัฐบาล
ค. การปรับปรุ งการศึกษาสอดคล้องรัฐธรรมนูญ
ง. การปฏิรูปการศึกษาของประเทศไทยครั้งใหญ่
2.พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ สอดคล้องกับข้อใดมากที่สุด
ก. แผนพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมแห่งชาติ
ข. แผนพัฒนาประเทศชาติ
ค. แผนการศึกษาแห่งชาติ
ง. แผนพัฒนาการศึกษากระทรวงศาสนาและวัฒนธรรม
3.ข้อใดไม่สอดคล้องกับสิ ทธิ และหน้าที่ตาม พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ
ก. จัดการศึกษาสาหรับบุคคลซึ่ งมีความบกพร่ อง ร่ างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม
ข. บุคคลพิการได้รับการจัดการศึกษาตั้งแต่แรกเกิด หรื อพบความบกพร่ อง โดยไม่เสี ยค่าใช้จ่าย
ค. บุคคลที่มีความสามารถพิเศษต้องจัดด้วยรู ปแบบที่เหมาะสม โดยคานึงถึงความสามารถของบุคคลนั้น
ง. จัดให้บุคคลมีสิทธิ เสมอกัน จัดการศึกษาภาคบังคับ ขั้นพื้นฐานไม่นอ้ ยกว่า 12 ปี อย่างทัว่ ถึงมีคุณภาพ
4.ข้อใดเป็ นบุคลากรทางการศึกษา
ก. ครู ข. ครู ผชู ้ ่วย
ค. ผูอ้ านวยการสถานศึกษา ง. อาจารย์
5.ต่อไปนี้ขอ้ ใดไม่ใช่กรรมการโรงเรี ยน
ก. ผูแ้ ทนครู ข. ผูแ้ ทนศิษย์เก่า
ค. ผูแ้ ทนองค์กรเอกชน ง. ผูท้ รงคุณวุฒิ
6.ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับสิ ทธิ ประโยชน์บิดา มารดา ผูป้ กครอง พึงได้รับในการจัดการศึกษา
ก.การสนับสนุนจากรัฐให้ความรู ้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดู
ข. เงินอุดหนุ นจากรัฐสาหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของคนในการดูแล
ค. การยกเงินภาษีสาหรับค่าใช้จ่ายด้านการศึกษา
ง. การให้การศึกษาแก่บุตร หรื อบุคคลในการดูแลระบบการศึกษา

191
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

7.พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 เกิดจากรัฐธรรมนู ญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2540 มาตราใด


ก.80 ข.81
ค.82 ง.83
8.ให้มีการจัดการศึกษาภาคบังคับจานวนกี่ปี
ก.จานวน 9 ปี ข.จานวนไม่นอ้ ยกว่า 9 ปี
ค.จานวน 12 ปี ง.จานวน 15 ปี
9.ข้อใดหมายถึงการศึกษาภาคบังคับ
ก.อนุบาล – ป.6 ข.ป.1 - ม.3
ค.ป.1 - ม.6 ง.ม.1 – ม.6
10.ข้อใด ไม่ใช้ หลักการจัดการศึกษา (มาตรา 8 พรบ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542)
ก.เป็ นการศึกษาตลอดชีวติ สาหรับประชาชน
ข.ให้สังคมมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษา
ค.การพัฒนาสาระการเรี ยนรู ้เป็ นไปอย่างต่อเนื่ อง
ง.รัฐต้องจัดการศึกษาให้บุคคลที่มีสิทธิ และโอกาสเสมอกันในการรับการศึกษา
11.การประกันคุณภาพอยูใ่ นหมวดใดของ พรบ. การศึกษาแห่งชาติ 2542
ก.หมวด 1 ข. หมวด 3
ค.หมวด 5 ง.หมวด 6
12.การจัดการศึกษาต้องเป็ นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็ นมนุษย์ ที่สมบูรณ์ท้ งั ร่ างกาย จิตใจสติปัญญา
ความรู ้ หมายถึง
ก.หลักการการจัดศึกษา ข.ความมุ่งหมายในการจัดการศึกษา
ค.จุดมุ่งหมายในการจัดการศึกษา ง.กระบวนการจัดการศึกษา
13.การมอบอานาจให้ขา้ ราบการปฏิบตั ิราชการแทนข้อใดกล่าวผิด
ก. เมื่อมีการอานาจโดยชอบผูร้ ับมอบอานาจมีหน้าที่ตอ้ งรั บมอบอานาจนั้น
ข. ผูร้ ับมอบอานาจจะมอบอานาจให้ผดู ้ ารงตาแหน่งอื่นต่อไปก็ได้
ค. เมื่อผูว้ า่ ราชการจังหวัดได้รับมอบอานาจนั้นต่อไป ตามกฎหมายว่าด้วยระเบียบบริ หารราชการแผ่นดินก็
ได้
ง. ไม่มีขอ้ ใดกล่าวผิด

192
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

14.ในกรณี ที่ไม่มีผดู ้ ารงตาแหน่งหรื อมีแต่ไม่อาจปฏิบตั ิหน้าที่ได้ให้ดาเนินการตามข้อใด


ก. การรักษาราชการแทน ข. การปฏิบตั ิหน้าที่แทน
ค. การปฏิบตั ิราชการแทน ง. การรักษาการในตาแหน่ง
15.ข้อใดต่อไปนี้ที่คุรุสภาไม่สามารถออกใบอนุ ญาตประกอบวิชาชีพให้ได้
ก. ครู ข. ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
ค. นักศึกษาฝึ กประสบการณ์ ง. ผูบ้ ริ หารการศึกษา
16.ผูใ้ ดฝ่ าฝื นมาตรา 43 จะต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินกี่ปี
ก. ไม่เกิน 1ปี หรื อปรับไม่เกิน 20000 บาทหรื อทั้งจาทั้งปรับ
ข. ไม่เกิน 1ปี หรื อปรับไม่เกิน 30000 บาทหรื อทั้งจาทั้งปรับ
ค. ไม่เกิน 2ปี หรื อปรับไม่เกิน 20000 บาทหรื อทั้งจาทั้งปรับ
ง. ไม่เกิน 2ปี หรื อปรับไม่เกิน 30000 บาทหรื อทั้งจาทั้งปรับ
17.ผูใ้ ดเป็ นประธานการส่ งเสริ มสวัสดิการสภาครู และบุคลากรทางการศึกษา
ก. ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ข. กรรมการผูท้ รงคุณวุฒิ
ค. เลขาธิการคุรุสภา ง. เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา
18. สกสค. ย่อมาจากอะไร
ก. กรรมการส่ งเสริ มสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา
ข. คณะกรรมการส่ งเสริ มสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา
ค. สานักงานส่ งเสริ มสวัสดิการและสวัสดิภาพครู และบุคลากรทางการศึกษา
ง. สานักงานส่ งเสริ มสวัสดิภาพและสวัสดิการครู และบุคลากรทางการศึกษา
19.สมาชิกคุรุสภามี 2 ประเภท ได้แก่
ก. สมาชิกสามัญ และ สมาชิกกิตติมศักดิ์
ข. สมาชิกสามัญ และ สมาชิกทัว่ ไป
ค. สมาชิกสามัญ และ สมาชิกสารอง
ง. สมาชิกสามัย และ สมาชิกพิเศษ
20.คณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพมีอานาจวินิจฉัยชี้ขาด ยกเว้น ข้อใด
ก. ยกข้อกล่าวหา ข. ตักเตือน
ค. ภาคทัณฑ์ความประพฤติ ง. พักใบไม่อนุญาตไม่เกิน 3 ปี

193
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

21.กรรมการคุรุสภา กรรมการมาตรฐานวิชาชีพ หรื อบุคคลอื่นมีสิทธิ กล่าวโทษผูป้ ระกอบวิชาชีพที่ประพฤติ


ผิดจรรยาบรรณ ต้องแจ้งเรื่ องแก่ใคร
ก. กระทรวงศึกษาธิ การ. ข. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา.
ค. ก.ค.ศ.. ง. คุรุสภา
22.ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของมาตรฐานวิชาชีพ
ก. มาตรฐานความรู ้และประสบการณ์วชิ าชีพ
ข. มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน
ค. มาตรฐานการปฏิบตั ิตน
ง. มาตรฐานใบประกอบวิชาชีพ
23ข้อใดเป็ นองค์ประกอบของมาตรฐานการปฏิบตั ิตนที่เป็ นข้อบังคับว่าด้วยจรรยาบรรณของวิชาชีพ
ก. จรรยาบรรณต่อตนเอง ข. จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ ค. จรรยาบรรณต่อผูร้ ับบริ การ ง.
ถูกทุกข้อ
24.การพิจารณาโทษจรรยาบรรณ มีกี่สถาน
ก. 4 สถาน ข. 5 สถาน
ค. 6 สถาน ง. 7 สถาน
25.ข้อใด ไม่ใช่ โทษทางจรรยาบรรณวิชาชีพครู
ก.ยกข้อกล่าวหา ข.ตัดเตือน
ค.พักการใช้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ง.ตัดเงินเดือน
26.บุคคลใดมีคุณสมบัติบรรจุรับราชการครู
ก.ณเดช เป็ นโรคเรื้ อนในระยะติดต่อ
ข.โดม เป็ นโรคพิษสุ นขั บ้า
ค.มาริ โอ้ เป็ นโรคติดยาเสพติดให้โทษ
ง. เคน เป็ นโรคพิษสุ ราเรื้ อรัง
27.คุรุสภา เป็ นองค์การตามข้อใด
ก.องค์การมหาชน
ข.องค์การเอกชน
ค.นิติบุคคลในการกากับของกระทรวงศึกษาธิ การ
ง.ไม่มีขอ้ ใดถูก

194
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

28.ค่าต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ครั้งละกี่บาท
ก 100 บาท ข 200 บาท
ค 300 บาท ง 500 บาท
29.คาในข้อใดไม่ปรากฎตามมาตรา 4 ของพระราชบัญญัติสภาครู และบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2546
ก ครู
ข คณาจารย์
ค ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
ง ผูบ้ ริ หารการศึกษา
30.สถานศึกษาอาจจัดการศึกษาในรู ปแบบใดได้บา้ ง
ก การศึกษาตามอัธยาศัย
ข การศึกษาในระบบ
ค การศึกษานอกระบบ
ง รู ปแบบใดรู ปแบบหนึ่งหรื อทั้ง ข้อ ก ข หรื อ ค ก็ได้
31.ข้อใดไม่ใช่โทษทางวินยั ของครู ฯตามพระราชบัญญัติฯ
ก ภาคทัณฑ์ ข ให้ออก
ค ลดขั้นเงินเดือน ง ทุกข้อที่กล่าวมา
32.ข้อใดเป็ น กรณี ความผิดที่ปรากฏชัดแจ้ง
ก.ละทิง้ หน้าที่ราชการในคราวเดียวกันเกินกว่า 15 วัน โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร
ข.การเล่รการพนัน
ค.เมาสุ ราจนครองสติไม่ได้
ง.เป็ นผูม้ ีหนี้สินล้นพ้นตัว
33.คุณสมบัติแรกของผูท้ ี่จะเข้ารับราชการครู
ก.มีเชื้อชาติไทย ข.มีสัญชาติไทย
ค.อายุไม่ต่ากว่า 18 ปี บริ บูรณ์ ง.อายุไม่ต่ากว่า 20 ปี บริ บูรณ์
34.ข้อใดเป็ นความผิด ลหุโทษ
ก.ความผิดที่ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกิน 500 บาท
ข.ความผิดที่ตอ้ งการระวางโทษปรับไม่เกิน 1,000 บาท
ค.ความผิดที่ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกิน 500 บาท หรื อจาคุกไม่เกิน 1 เดือน
ง.ความผิดที่ตอ้ งการระวางโทษปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรื อจาคุกไม่เกิน 1 เดือน

195
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

35.โทษทางวินยั ของข้าราชการครู และบุคคากรทางการศึกษามีกี่สถาน


ก. 2 สถาน ข. 3 สถาน
ค. 4 สถาน ง. 5 สถาน
36,ละทิ้ง หมายถึง
ก.ตัวอยูแ่ ต่ไม่ทางาน ข.ไม่เอาใจใส่
ค.ไม่ อยู่ปฏิบัติงานตามหน้ าที่ ง. ถูกทั้ง ก และ ข
37.ทอดทิง้ หมายถึง
ก.ตัวอยูแ่ ต่ไม่ทางาน ข.ไม่เอาใจใส่
ค.ไม่อยูป่ ฏิบตั ิงานตามหน้าที่ ง. ถูกทั้ง ก และ ข
38.การลงโทษทางวินยั ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาให้ดาเนินการอย่างไร
ก.ทาเป็ นคาสั่ง ข.ทาเป็ นหนังสื อ
ค.ทาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร ง.ถูกทุกข้อ
39.มาตรฐานวิชาชีพครู มีจานวนกี่มาตรฐาน
ก. 3 มาตรฐาน ข. 4 มาตรฐาน
ค. 5 มาตรฐาน ง. 6 มาตรฐาน
40.ข้อใด ไม่ใช่ มาตรฐานวิชาชีพครู
ก.มาตรฐานการสอน ข.มาตรฐานความรู ้และประสบการณ์
ค.มาตรฐานการปฏิบตั ิ ง.มาตรฐานการปฏิบตั ิตน
41.กศจ. ย่อมาจาก อะไร
ก.อนุกรรมการศึกษาจังหวัด ข.อนุกรรมการศึกษาธิการจังหวัด
ค.คณะอนุกรรมการศึกษาจังหวัด ง.คณะกรรมการศึกษาธิการจังหวัด
42.การลาแบ่ งออกเป็ นกีป่ ระเภท
ก. 10 ประเภท ข. 11 ประเภท
ค. 12 ประเภท ง. 13 ประเภท
43.ใครคือ "ผูก้ าหนดหลักสู ตรแกนกลางระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน" ตาม พ.ร.บ. ฉบับนี้
ก. สภาการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ข. คณะกรรมการการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
ค. สภาการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ง. คณะกรรมการการศึกษาระดับก่อนอุดมศึกษา

196
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

44.การยืน่ ใบลาออกจากราชการของข้าราชการครู ที่ไม่ใช่กรณี ลาออกเพื่อดารงตาแหน่งทางการเมือง


หรื อสมัครรับเลือกตั้ง ให้ยนื่ ล่วงหน้าก่อนวันขอลาออกไม่นอ้ ยกว่ากี่วนั
ก. 7 วัน ข. 15 วัน
ค. 30 วัน ง. 90 วัน
45.อัตราส่ วนของครู ผคู ้ วบคุมต่อนักเรี ยนในการพาไปนอกสถานศึกษา
ก. 1 ต่อ 20 ข. 1 ต่อ 25
ค. 1 ต่ อ 30 ง. 1 ต่อ 35
46.ข้อใดกล่าวผิด
ก เวลาหยุดกลางวันของสถานศึกษาคือ 12.00น. -13.00 น.
ข วันหยุดราชการประจาสัปดาห์เต็มวันคือวันเสาร์และวันอาทิตย์
ค. สถานศึกษาจะเริ่มทางานหรื อหยุดราชการประจาสั ปดาห์ เป็ นอย่ างอื่นก็ได้ แต่ ต้องขออนุญาตต่ อเขตพืน้ ที่
การศึกษา
ง สถานศึกษาต้องมีเวลาทางานสัปดาห์ละไม่นอ้ ยกว่า 35 ชัว่ โมง
47.ข้อใดคือเวลาทางานของสถานศึกษา
ก 08.00น.-16.00 น. ข 08.30น. - 16.00 น.
ค 08.00น. - 16.30น. ง 08.30น.- 16.30 น.
48ข้อใดไม่ใช่อานาจหน้าที่ของผูบ้ ริ หารสถานศึกษา
ก. บริหารราชการและ เป็ นผู้บังคับบัญชาข้ าราชการครู และบุคลากรในสถานศึกษา
ข. ควบคุมดูแลให้การบริ หารงานบุคคลถูกต้องเรี ยบร้อยเป็ นไปตามนโยบาย
ค. พิจารณาความดีความชอบของข้าราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาในสถานศึกษา
ง. ส่ งเสริ ม สนับสนุนให้ขา้ ราชการครู และบุคลากรทางการศึกษาพัฒนาตนเองอย่าง
ต่อเนื่อง
49.ข้อใดคือตาแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่น
ก. ครู ผชู ้ ่วย ข. อธิการบดี
ค. ผูบ้ ริ หารสถานศึกษา ง. ศึกษานิเทศก์
50.สถานรับเลี้ยงเด็ก ต้องมีจานวนเด็กตามข้อใด
ก. 5 คน ข.ตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป
ค.เกิน 6 คน ง.ตั้งแต่ 6 คนขึน้ ไป
51.คณะกรรมการคุม้ ครองเด็ก มีกี่คณะ
ก. 2 คณะ ข. 3 คณะ
ค. 4 คณะ ง. 5 คณะ

197
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

52.ข้อใดไม่ใช่เด็กที่พึงได้รับการสงเคราะห์
ก.เด็กกาพร้าหรื อเด็กเร่ ร่อน ข.เด็กพิการ
ค.เด็กที่ตกอยูส่ ภาพยากลาบาก ง.เด็กที่ถูกทารุ ณกรรม
53.ส่ วนราชการส่ วนกลางของกระทรวงศึกษาธิ การตามข้อใดที่ไม่เป็ นนิติบุคคล
ก. สานักงานรัฐมนตรี
ข. สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
ค. สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา
ง. สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
54.ในกรณี ที่ไม่มีผดู ้ ารงตาแหน่งหรื อมีแต่ไม่อาจปฏิบตั ิหน้าที่ได้ให้ดาเนินการตามข้อใด
ก. การรักษาราชการแทน
ข. การปฏิบตั ิหน้าที่แทน
ค. การปฏิบตั ิราชการแทน
ง. การรักษาการในตาแหน่ง
55.ข้อใดไม่ถูกต้อง เกี่ยวกับสิ ทธิ ประโยชน์ บิดามารดา ผูป้ กครอง พึงได้รับในการจัดการศึกษา
ก. การสนับสนุนจากรัฐ ให้ความรู ้ความสามารถในการอบรมเลี้ยงดูแล
ข. การยกเว้นเงินภาษีสาหรับค่าใช้จ่ายด้านการศึกษา
ค. เงินอุดหนุนจากรัฐสาหรับการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของคนในการดูแล
ง. การให้การศึกษาแก่บุตรหรื อบุคคลในการ
56.ข้อใดไม่ถูกต้องในด้านการกระจายอานาจให้เขตพื้นที่และสถานศึกษา
ก. ด้านวิชาการ ข. งบประมาณ
ค. หลักสู ตรการสอน ง. การบริ หารทัว่ ไป
57.การจัดการศึกษาที่มีความยืดหยุน่ ในหลักสู ตรวิธีการ การประเมินผลและจุดมุ่งหมาย
ก. การศึกษาในระบบ ข. การศึกษานอกระบบ
ค. การศึกษาตามอัธยาศัย ง. การศึกษาเฉพาะทาง
58.อายุสาหรับเด็กการศึกษาภาคบังคับ
ก. ย่างเข้าปี ที่ 6 - ย่างเข้าปี ที่ 16
ข. ย่างเข้าปี ที่ 7 - ย่างเข้าปี ที่ 16
ค. ย่างเข้าปี ที่ 6 - ย่างเข้าปี ที่ 17
ง. ย่างเข้าปี ที่ 7 - ย่างเข้าปี ที่ 17
59.หากไม่พอใจผลการลงโทษทางวินยั
ก. ร้องทุกข์ ข. อุทธรณ์
ค. ร้องเรี ยน ง. ฟ้องศาล

198
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

60.ผูท้ ี่มีสิทธิ์ ขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพต้องมีอายุกี่ปีเป็ นอย่างน้อย


ก. 18 ปี บริ บูรณ์ ข. 20 ปี
ค. 20 ปี บริ บูรณ์ ง. ไม่จากัดอายุ

ข้ อสอบวิชาการศึกษา ภาค ข
1. ข้อใดไม่ใช่หลักการสาคัญ ของหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551
ก. มีโครงสร้างยืดหยุน่ ได้ ข. มีการกระจายอานาจ
ค. กากับติดตามและประเมินผล ง. ยึดผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ
2. การวัดผลประเมินผลในระดับใด ที่ใช้ในการตัดสิ นผลการเรี ยนของผูเ้ รี ยน
ก. ระดับชั้นเรี ยน ข. ระดับสถานศึกษา
ค. ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ง. ระดับชาติ
3. สถานศึกษาตองคานึงถึงเรื่ องใดในการจัดนักเรี ยนเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรี ยน
ก. วัย ข. วุฒิภาวะ ค. ความแตกตางบุคคล ง. ถูกทุกขอ
4. ขอใดคือขั้นตอนสุ ดทายของการจัดทาหลักสู ตรสถานศึกษา
ก. การจัดทาสาระของหลักสู ตร ข. การจัดหน่วยการเรี ยนรู
ค. การจัดทาแผนจัดการเรี ยนรู ง. การกาหนดอัตราเวลาเรี ยน
5. ขอใดคือเกณฑ์พิจารณาที่ใช่เวลาจัดการเรี ยนรู
ก. 20 ชัว่ โมงต่อภาคเรี ยนมีคาเทากับ 1 หน่วยกิต ข. 40 ชัว่ โมงตอภาคเรี ยนมีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต
ค. 20 ชัว่ โมงต่อปี มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต ง. 40 ชัว่ โมงต่อปี มีคาเทากับ 1 หน่วยกิต
6. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มัธยมศึกษาปี ที่ 4-6 ใช้ตวั ชี้วดั ใดเป็ นเป้ าหมาย
ก. ตัวชี้วดั ชั้นปี ข. ตัวชี้วดั ช่วงชั้น
ค. ตัวชี้วดั ช่วงชั้นปี ง. ตัวชี้วดั ชั้นปี ช่วงชั้น
7. ข้อใด ไม่ใช่ สมรรถนะสาคัญของผูเ้ รี ยน ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
ก. ความสามารถในการสื่ อสาร ข. ความสามารถในการคิด
ค. ความสามารถในการใช้ชีวติ ง. ความสามารถในการแก้ปัญหา
8. 5. ข้อใดไม่ใช่คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ ตามหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑
ก. รักชาติ ศาสนา กษัตริ ย ์ ข. มุ่งมัน่ ในการเรี ยน
ค. มีวนิ ยั ง. รักความเป็ นไทย

199
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

9. การเรี ยนรู ้แบบ BBL (Brain Based Learning) มีความหมาย ตรงกับข้อใด


ก. การเรี ยนรู ้ที่ใช้ครู เป็ นศูนย์กลาง เพื่อกระตุน้ สมอง
ข. การเรี ยนรู ้โดยใช้สมองซี กซ้าย เป็ นเครื่ องมือในการกระตุน้ สมอง
ค. การเรี ยนรู ้โดยใช้สมองซี กขวา เป็ นเครื่ องมือในการกระตุน้ สมอง
ง. การเรี ยนรู ้ที่ใช้โครงสร้างและหน้าที่ของสมอง เป็ นเครื่ องมือในการเรี ยนรู ้
10. ข้อใดไม่ใช่ กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยน ตามหลักสู ตรแกนกลาง 51
ก. กิจกรรมแนะแนว ข. กิจกรรมนักเรี ยน
ค. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ง. กิจกรรมลูกเสื อ เนตรนารี ยุวกาชาด
11. สถานศึกษามีการจัดทารายงานประจา ปี เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิ ดเผย
ต่อสาธารณชน คาว่า “รายงานประจาปี ” หมายความตรงกับข้อใด
ก. SSR ข. SAR ข. SRA ง. RSA
12. กระบวนการเสาะแสวงหาความรู ้เพื่อที่จะตอบคาถาม หรื อปั ญหาข้อสงสัยที่มีอยูอ่ ย่างเป็ นระบบ
โดยมีวตั ถุประสงค์ที่ชดั เจน หมายความตรงกับข้อใด
ก. การวิจยั ข. การวิจยั ในชั้นเรี ยน ค. การค้นหาคาตอบที่สงสัย ง. วิธีการแสวงหาความรู ้
13. ขั้นตอนแรกของการท าวิจยั ปฏิบตั ิการในชั้นเรี ยน ตรงกับข้อใด
ก. เลือกประเด็นคาถามวิจยั ที่สาคัญต่อการปฏิบตั ิงาน
ข. ตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ค. วางแผนการวิจยั
ง. ลงมือปฏิบตั ิพร้อมรวบรวมข้อมูล
14. วิจยั แบบง่าย เป็ นวิจยั ที่เหมาะกับครู ตรงกับข้อใด
ก. ไม่ทาให้ภาระของครู มีมากเกินไป
ข. ไม่เป็ นงานที่แปลกแยกจากการท างานปกติคือการจัดการเรี ยนรู ้
ค. เป็ นการวิจยั ที่มีกระบวนการที่ไม่ซบั ซ้อน สอดคล้องกลมกลืน เกิดประโยชน์กบั งานการเรี ยนการสอน
ปกติ
ง. ถูกทุกข้อ
15. การตั้งสมมุติฐานการวิจยั มีความจาเป็ นอย่างไร
ก. การคาดคะเนคาตอบ ข. บอกแนวทางการแก้ปัญหา
ค. บอกให้ทราบถึงรู ปแบบการวิจยั ง. เป็ นการกาหนดค่าสถิติของงานวิจยั

200
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

16. จุดมุ่งหมายของการวิจยั มีความจาเป็ นอย่างไร


ก. เป็ นการกาหนดหัวข้อของงานวิจยั ข. บอกให้ทราบว่าผูว้ จิ ยั ต้องการศึกษาค้นคว้าอะไร
ค. บอกแนวทางการแก้ไขและพัฒนางานวิจยั ง. บอกให้ทราบถึงรู ปแบบการวิจยั
17. ข้อใดกล่าวถึงหลักการจัดกิจกรรม แบบการจัดกิจกรรมการเรี ยนการสอนแบบเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ ได้
ถูกต้องที่สุด
ก. CIPP ข. CIPPA ค. SWOT ง. PDCA
18. “ทฤษฎีการเรี ยนรู ้แบบพหุปัญญา” ใครเป็ นเจ้าของทฤษฏีดงั กล่าว
ก. การ์ดเนอร์ ข. สกินเนอร์ ค. แมกซ์ ไลเนอร์ ง.แมกซ์ เวเบอร์
19. การเรี ยนรู ้ของสิ่ งมีชีวติ เกิดจากการวางเงื่อนไข (Conditioning) เป็ นหลักการเรี ยนรู ้ของนักจิตวิทยาท่าน
ใด
ก. พาฟลอฟ ข. จอห์น ดิวอี้ ค. บิเนต์ ง. วัตสัน
20. ทฤษฎีของใครว่าด้วยการเรี ยนรู ้เกิดจากการเสริ มแรง
ก. พลาฟลอฟ ข. วัตสัน ค. สกินเนอร์ ง. ธอร์นไดต์
21. ขั้นการพัฒนาบุคลิกภาพของเด็กหญิงหวงพ่อ หรื อเด็กชายหวงแม่ อยูท่ ี่ขอ้ ใด
ก. Oral staqe ข. Anal staqe ค. Plalic staqe ง. Lantency staqe
22. หัวใจของการแนะแนวคือข้อใด
ก. การบริ การให้คาปรึ กษา ข. การบริ การข้อมูลเกี่ยวกับเด็ก
ค. การบริ การจัดวางตัวบุคคล ง. การบริ การสารสนเทศ
23. Learning by doing เป็ นแนวคิดนักจิตวิทยาใด
ก. Rogers ข. Maslow ค. John Dewey ง. Freud
24. เด็กที่มี IQ ปานกลางได้แก่ เด็กที่มีเกณฑ์ภาคเชาว์ปัญญาในข้อใด
ก. 80 – 90 ข. 90 – 100 ค. 100 – 110 ง. 110 – 120
25. มนุษย์มีความต้องการไม่มีที่สิ้นสุ ดเป็ นแนวคิดผูใ้ ด
ก. Maslow ข. Skinner ค. Pavlov ง. Watson
26. พฤติกรรมก้าวร้าวแสดงออกมา โดยไม่มีเหตุผลใด ๆ คือข้อใด
ก. id ข. Eqo ค. Super eqo ง. ถูกทุกข้อ
27. หมวกแห่งความคิดเป็ นแนวคิดเป็ นแนวคิดของผูใ้ ด
ก. Bloom ข. Edward de Bono ค. Skinner ง. Thorndrike

201
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

28. Mind Mapping คือข้อใด


ก. แผนผังความคิด ข. แผนผังใยแมงมุม ค. การสอนแบบโครงสร้างความรู ้ ง. ถูกทุกข้อ
29. การจัดการสอนแบบใดที่ครู ตอ้ งเข้าใจการท างานและความถนัดของสมองซี กซ้ายกับสมองซี กขวา
ก. CIPPA ข. 4 MAT ค. Story line ง. CLE
30. การสอนตามข้อใดที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ
ก. การสอนแบบนิรนัย ข. การสอนแบบเป็ นทีม
ค. การสอนโดยใช้บทเรี ยนโปรแกรม ง. การสอนแบบสาธิต

202
ณัฎฐกรณ์ติวเตอร์ และกลุม่ พลังใหม่ สอบครูผ้ ชู ่วย 2561 ติดต่อ 089-5115014

203

You might also like