You are on page 1of 12

หมายเหตุ 1) ตัวสีแดงคือคำแนะนำให้ลบทิง้ ก่อนส่งแผน ตัวสีน้ำเงินคือเนื้อหาทีอ่ ยู่นอกเหนือแบบฟอร์ม

เขียนกรอกให้เพื่ออำนวยความสะดวก ดังนัน้ จำเป็ นต้องตรวจเช็คก่อนว่าตรงกับความต้องการท่านหรือไม่


หากสอดคล้องและต้องการบรรจุลงในแผนให้เปลีย่ นเป็ นสีดำ
2) เนื้อหาในแบบฟอร์มนี้ ใช้สำหรับระดับประถมศึกษาเป็ นหลัก หากเป็ นระดับมัธยมศึกษามีความ
แตกต่างกันให้ศกึ ษาเทียบเคียงกับหลักสูตรแกนกลาง

ึ ษาโดยครอบคร ัว
แบบฟอร์มการจ ัดทำแผนการจ ัดการศก
้ ฐานของครอบคร ัว
1. ข้อมูลพืน
บิดา นาย นิคม มานะ
วุฒกิ ารศึกษา ศิลปศาสตร์บณ ั ฑิตย์ (การท่องเทีย่ วและการโรงแรม)
อายุ 43 ปี
อาชีพ อิสระ
ทีอ่ ยู่ 72 หมู่ 12 ต.ขุนควร อ.ปง จ.พะเยา
มารดา นางสาว พัชราภรณ์ แยลูกู่
วุฒกิ ารศึกษา มัธยมศึกษาปีท่ี าปีท่ี 3
อายุ 28 ปี
อาชีพ อิสระ
ทีอ่ ยู่ 298 หมู่ 2 ต.ห้วยชมพู อ.เมืองเชียงราย จ.เชียงราย

2. ข้อมูลพืน้ ฐานของผู้เรียน
2.1 ระบุขอ้ มูลของผูเ้ รียน
ชือ่ -สกุล ด.ช.เมธาสทธ์ มานะ
วัน เดือน ปีเกิด 18 มีนาคม 2559 อายุ 7 ปี
ประวัตกิ ารศึกษา (กรณีเรียนในระบบโรงเรียนมาก่อน)
ประถมศึกษา ปีท่ี 1
2.2 พัฒนาการของผูเ้ รียน (ระบุการพัฒนาการของผูเ้ รียน/ความสามารถพิเศษ/ความ
ต้องการพิเศษ)
 พัฒนาการตามวัย
 พัฒนาการตามความสามารถพิเศษ
 พัฒนาการตามความต้องการพิเศษ

3. ระดับที่จดั การศึกษา
ประถมศึกษา ปี ที่ 1-3
เหตุผลในการจัดการศึกษาของครอบครัว

1
เนื่องจากครอบครัวต้องการดูและส่งเสริมลูกอย่างใกล้ชดิ เพือ่ ให้ลกู ได้เติบโตอย่างเต็มศักยภาพ ทัง้
ในด้านร่างกาย ความคิดและจิตใจ ประกอบกับเทคโนโลยีในปจจุ ั บนั ทีก่ า้ วหน้าไปอย่างรวดเร็ว ทำให้การเข้า
ถึงความรูเ้ ป็ นไปได้โดยง่าย ผ่านช่องทางต่าง ๆ เช่น สือ่ ออนไลน์ ชัน้ เรียน การฝึกอบรมต่าง ๆ เด็กสามารถ
เรียนรูส้ งิ่ ต่าง ๆ ได้ดว้ ยตัวเองในหลากหลายเรือ่ ง ทางครอบครัวจึงให้ความสำคัญกับแรงบันดาลใจหรือ
ความสุขในการเรียนรูข้ องเด็กแต่ละคน ตลอดจนต้องการจัดกระบวนการเรียนรูใ้ ห้เหมาะสมกับ บุคลิก
ลักษณะนิสยั ของลูก จึงตัดสินใจจัดการศึกษาโดยครอบครัว

4. จุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษา
ครอบครัวใช้แนวทางการจัดการศึกษาตามพระราชบัญญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ หมวด 4 มาตรา
23 มีหลักการและแนวทางในการพัฒนาคุณภาพของลูก โดยยึดตามจุดหมาย สมรรถนะ และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางขัน้ พืน้ ฐาน พ.ศ. 2551 โดยมีรายละเอียด
ดังนี้
๑. มีคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยมทีพ่ งึ ประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวนิ ยั และปฏิบตั ติ น
ตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนับถือ ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๒. มีความรู้ ความสามารถในการสือ่ สาร การคิด การแก้ปญั หา การใช้เทคโนโลยี และมีทกั ษะ
ชีวติ
๓. มีสขุ ภาพกายและสุขภาพจิตทีด่ ี มีสขุ นิสยั และรักการออกกําลังกาย
๔. มีความรักชาติ มีจติ สํานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมันในวิ ่ ถชี วี ติ และ
การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็ นประมุข
๕. มีจติ สํานึกในการอนุรกั ษ์วฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย การอนุ รกั ษ์และพัฒนาสิง่ แวดล้อม
มีจติ สาธารณะทีม่ งุ่ ทําประโยชน์และสร้างสิง่ ทีด่ งี ามในสังคม และอยูร่ ว่ มกันในสังคมอย่างมีความสุข

5. รูปแบบการจัดการศึกษา (โปรดระบุ)
จัดการศึกษาแบบครอบครัวเดี่ยวเป็ นหลัก โดยมีการนัดหมายทำกิจกรรมกับกลุ่มบ้านเรี ยน หรื อ
ครอบครัวอื่นร่ วมกันเป็ นประจำตามความสนใจร่ วมเป็ นครั้งคราว โดยในอนาคตอาจมีการจัดการศึกษาแบบ
มีขอ้ ตกลงร่ วมกับโรงเรี ยน โดยมีการเข้าไปใช้ทรัพยากรในโรงเรี ยนหรื อเข้าไปทำกิจกรรมร่ วมกัน หากเป็ น
ความต้องการของผูเ้ รี ยน

6. โครงสร้างเวลาเรียน
ครอบครัวจัดการเรียนรูเ้ ป็นรายปี โดยมีโครงสร้างดังนี้

กลุ่มประสบการณ์ /กลุ่ม เวลาเรียน


สาระการเรียนรู้ ป.1 (ชัวโมง/ปี
่ ) ป.2 (ชัวโมง/ปี
่ ) ป.3 (ชัวโมง/ปี
่ )
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 200 200 200
ภาษาไทย

2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 200 200 200
คณิตศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 200 200 200
วิทยาศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 200 200 200
สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 200 200 200
สุขศึกษาและพลศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 200 200 200
ศิลปะ
กลุ่มสาระการเรียนรูก้ าร 200 200 200
งานอาชีพและเทคโนโลยี
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 200 200 200
ภาษาต่างประเทศ
กลุ่มประสบการณ์ดา้ น 200 200 200
ภาษา
กลุ่มประสบการณ์ดา้ น 200 200 200
สังคม วัฒนธรรมและสิง่
แวดล้อม
กลุ่มประสบการณ์ศลิ ปะ 200 200 200
กลุ่มประสบการณ์ดนตรี 200 200 200
กลุ่มประสบการณ์ 200 200 200
สุขศึกษาและพลศึกษา
กลุ่มประสบการณ์ 200 200 200
วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี
กลุ่มประสบการณ์คณิต 200 200 200
ศาตร์และการใช้เหตุผล
กลุ่มประสบการณ์เกษตร 200 200 200
และการพึง่ ตนเอง
กลุ่มประสบการณ์ศรษฐ 200 200 200
ศาสตร์และการเงิน
กลุ่มประสบการณ์อาหาร 200 200 200
และโภชนาการ

3
กลุ่มประสบการณ์อ่นื ๆ 200 200 200
(ครอบครัวสร้างขึน้ ตาม
ความต้องการ)
กิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน 120 120 120
รวมเวลาเรียน 1000 1000 1000

4
7. การจัดสาระการเรียนรู้
ในการจัดสาระการเรียนรูน้ นั ้ ทางครอบครัวให้ความสำคัญกับการพัฒนาศักยภาพเด็กเป็ นรายบุคคล
และกระบวนทัศน์แบบ “องค์รวม” คือ ศาสตร์ต่าง ๆ มีความเชือ่ มโยงเกีย่ วข้องกัน การจัดกระบวนการเรียนรู้
จึงเริม่ ต้นจาก ความสนใจของเด็ก ทรัพยากร บุคลากรและสิง่ แวดล้อมทีอ่ ยูร่ อบตัว
โดยการจัดกลุ่มสาระการเรียนรูข้ องศูนย์การเรียนเด็กเรียนรูเ้ องแบ่งเป็ น 11 กลุ่มดังนี้
กลุ่มประสบการณ์ดา้ นภาษา
กลุ่มประสบการณ์ดา้ นสังคม วัฒนธรรมและสิง่ แวดล้อม
กลุ่มประสบการณ์ศลิ ปะ
กลุ่มประสบการณ์ดนตรี
กลุ่มประสบการณ์สขุ ศึกษาและพลศึกษา
กลุ่มประสบการณ์วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กลุ่มประสบการณ์คณิตศาตร์และการใช้เหตุผล
กลุ่มประสบการณ์เกษตรและการพึง่ ตนเอง
กลุ่มประสบการณ์เศรษฐศาสตร์และการเงิน
กลุ่มประสบการณ์อาหารและโภชนาการ
กลุ่มประสบการณ์อ่นื ๆ (ครอบครัวสร้างขึน้ ตามความต้องการ)

โดยแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรูม้ รี ายละเอียดดังนี้

กลุ่มประสบการณ์ดา้ นภาษา เรียนเกีย่ วกับภาษาต่าง ๆ เช่น ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และภาษา


อื่น ๆเรียนรูใ้ นการใช้ภาษาต่าง ๆ เพือ่ การสือ่ สาร แสวงหาความรู้ ประกอบอาชีพ และศึกษาต่อ ในระดับที่
สูงขึน้ รวมทัง้ มีความรูค้ วามเข้าใจในเรือ่ งราวและวัฒนธรรมอันหลากหลายของประชาคมโลก โดย ประกอบ
ด้วย สาระสำคัญ ดังนี้
1) ภาษาเพือ่ การสือ่ สาร การใช้ภาษาในการฟงั -พูด-อ่าน-เขียน แลกเปลีย่ น ข้อมูล ข่าวสาร แสดง
ความรูส้ กึ และความคิดเห็น ตีความ นำเสนอข้อมูล ความคิดรวบยอดและความคิดเห็นในเรือ่ งต่าง ๆ และ
สร้างความสัมพันธ์ระหวางบุคคลอย่างเหมาะสม
2) ภาษาและวัฒนธรรม การใช้ภาษาต่างประเทศตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ความสัมพันธ์
ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาต่าง ๆ
3) ภาษากับความสัมพันธ์กบั กลุ่มสาระการเรียนรูอ้ ่นื การใช้ภาษาต่างประเทศในการ เชือ่ มโยง
ความรูก้ บั กลุ่มสาระการเรียนรูอ้ ่นื เป็นพืน้ ฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และ เปิ ดโลกทัศน์ของตน
4) ภาษากับความสัมพันธ์กบั ชุมชนและโลก การใช้ภาษาต่าง ๆ ในสถานการณ์ทแ่ี ตกต่างกัน ทัง้ ใน
ห้องเรียนและนอกห้องเรียน ชุมชน และสังคมโลก เป็ นเครือ่ งมือพืน้ ฐานในการศึกษาต่อ ประกอบอาชีพ และ
แลกเปลีย่ นเรียนรูแ้ ละเชือ่ มโยงกับสังคมโลก

กลุ่มประสบการณ์ดา้ นสังคม วัฒนธรรมและสิง่ แวดล้อม

5
เรียนรูค้ วามสัมพันธ์ทเ่ี ชือ่ มโยงกันระหว่าง บุคคลต่าง ๆ ทีเ่ รียงร้อยเป็ นสังคม มีวฒ
ั นธรรม ความคิด
ความเชือ่ ทีแ่ ตกต่างกันไปตามบริบท ของประวัตศิ าสตร์ สิง่ แวดล้อม เชือ่ มสัมพันธกัน เพือ่ ช่วยให้ผเู้ รียน
เข้าใจและสามารถปรับตนเองกับบริบทสังคมทีแ่ ตกต่างกันได้ เป็ นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้
ทักษะ คุณธรรม

กลุ่มประสบการณ์ดา้ นศิลปะ
เรียนรูเ้ พือ่ สร้างเสริมจินตนาการ ทักษะในกระบวนการคิด วางแผน การทำงาน การพัฒนาทักษะ
ต่าง ๆ ทัง้ ในด้านการใช้รา่ งกายและการใช้อุปกรณ์เครือ่ งมือ การเลือกสี วัสดุต่าง ๆ เพือ่ การถ่ายทอด ความ
คิด อารมณ์ ความรูส้ กึ ผ่านงานศิลปะในรูปแบบต่าง ๆ

กลุ่มประสบการณ์ดา้ นกลุ่มดนตรี
เรียนรูด้ นตรีในฐานะภาษาเพือ่ สือ่ สาร ถ่ายทอดอารมณ์ ความรูส้ กึ ความคิดผ่านเสียง ผ่านร่างกาย
หรืออุปกรณ์ต่าง ๆ ฝึกฝนการเชือ่ มโยงสมองและร่างกาย สร้างเสริมจินตนาการ และสุทรียภาพ

กลุ่มประสบการณ์ดา้ นสุขศึกษาและพลศึกษา
เรียนรูใ้ นการดูแลสุขภาพตนเอง ความเข้าใจในร่างกาย ความเจ็บปว่ ย เพือ่ สามารถดูแลร่างกายและ
จิตใจให้มสี ขุ ภาพทีด่ ี มีกจิ กรรมทีส่ ง่ เสริมความแข็งแรงของร่างกาย ผ่านการออกกําลังกาย การเล่นเกมและ
กีฬา เป็ นเครือ่ งมือในการพัฒนาโดยรวมทัง้ ด้านรางกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปญั ญา เรียนรูก้ ารทำงาน
เป็ นทีม การอยูร่ ่วมกันกับผูอ้ ่นื เรียนรู้ เข้าใจอารมณ์ และจัดการอารมณ์ได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์

กลุ่มประสบการณ์ดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เรียนรูแ้ ละทำความเข้าใจโลก ผ่านกระบวนสร้างความรู้ ตัง้ แต่การหาข้อมูลต่าง ๆ เรียนรูผ้ า่ นองค์ความรูเ้ ดิม
การสังเกต จัดบันทึก ทำความเข้าใจ ปรากฎการณ์ เหตุกาณณ์ต่าง ๆ การนำข้อมูลความรูม้ าวิเคราะห์
ประมวลผล ทดสอบ ตรวจทาน และต่อยอดความคิดใหม่ ๆ ทัง้ นี้กระบวนการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์เป็ นการ
เรียนรูโ้ ลก จึงสามารถเรียนรูไ้ ด้ในหลากหลาย หัวข้อ หรือสาระวิชา เช่น ชีววิทยา เคมี ฟิสกิ ส์ นิเวศวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ และเทคโนโลยีต่าง ๆ เป็ นต้น

กลุ่มประสบการณ์ดา้ นคณิตศาตร์ และการใช้เหตุผล


เรียนรูค้ ณิตศาสตร์ในแง่มุมต่าง ๆ
1) ในฐานะเครือ่ งมือในชีวติ ประจำวัน การแก้ไขปญั หาต่าง ๆ เช่น การคิดคำนวณ การช่างตวงวัด
การหาคำตอบต่าง ๆ
2) ในฐานะระบบภาษาทีเ่ พิม่ ความแม่นยำและชัดเจนให้กบั ภาษาธรรมชาติ ผ่านทางศัพท์และ
ไวยากรณ์บางอย่าง สำหรับการอธิบายและศึกษาความสัมพันธ์ทงั ้ ทางกายภาพและนามธรรม
ทัง้ นี้ซง่ึ เป็นไปตามความสนใจของผูเ้ รียน

6
กลุ่มประสบการณ์ดา้ นเกษตรและการพึง่ ตนเอง
เรียนรูก้ ารจัดการกับทรัพยากรธรรมชาติ แรงงาน และทุน โดยอาศัยความรูแ้ ละประสบการณ์ เพือ่
ให้ได้มาซึง่ ผลผลิตจากทัง้ พืชและสัตว์ เสริมสร้างทักษะ การวางแผน การคำนวณทรัพยากร เรียนรูท้ ำความ
เข้าใจสภาพภูมอิ ากาศและฤดูกาล ฝึกฝนทักษะการปฎิบตั งิ านด้านกาารเกษตร

กลุ่มประสบการณ์ดา้ นเศรษฐศาสตร์และการเงิน
เรียนรูก้ ารจัดการทรัพยากรอันมีจำกัด พิจารณาถึงรูปแบบทีพ่ ฤติกรรมมนุ ษย์ได้เลือกในการบริหาร
ทรัพยากรเหล่านี้ ฝึกวิเคราะห์และอธิบายวิถที บ่ี ุคคลหรือองค์กรทำการจัดสรรทรัพยากรอันจำกัดเพือ่ ตอบ
สนองความต้องการมากมายและไม่จำกัด เรียนรูเ้ กีย่ วกับการเงิน การบริหารจัดการเงิน และทรัพยากรของ
ตัวเองอย่างมีประสิทธิภาพ

กลุ่มประสบการณ์ดา้ นอาหารและโภชนาการ
เรียนรูเ้ กีย่ วกับการทักษะทำอาหารและขนมต่าง ๆ การเลือกและความเป็ นมาของวัตถุดบิ ทีส่ มั พันธ์
กับธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในแต่ละท้องที่ เชือ่ มโยงถึงวัฒนธรรมและระบบนิเวศทีแ่ ตกต่างกันในพืน้ ทีต่ ่าง
ๆ รวมถึงการช่าง ตวงวัด คุณสมบัตทิ แ่ี ตกต่างกันของสสาร อุณหภูม ิ แรงดัน เรียนรูเ้ รือ่ งสารอาหาร ทีส่ ง่ ผล
ต่อสุขภาพและการเกิดโรค ตลอดจนกระบวนการของร่างกายในการรับประทาน ,ย่อย ,ดูดซึม ,ลำเลียง และ
ขับถ่าย สารอาหาร
กลุ่มประสบการณ์อ่นื ๆ
ครอบครัวสามารถสร้างกลุ่มประสบการณ์ต่าง ๆ ได้ตามความต้องการ ตามทีส่ อดคล้องกับวิถชี วี ติ

7
ตารางสรุปกระบวนการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู/้ เป้าหมายคุณภาพผูเ้ รียน กิจกรรม การวัดและ หลักฐาน


กลุ่มประสบการณ์ ทีม่ งุ่ หวังในชัน้ ปี /ช่วงชัน้ / (สามารถนำมาจาก ประเมินผล ร่องรอย
ระดับการศึกษา ตารางชีวติ / กิจกรรม การเรียนรู้
(เลือกอย่างใดอย่าง ทีท่ ำในแต่ละวันมา
หนึ่ง หรือมีทงั ้ 2 เช่น ปรับใส่ให้เหมาะสม/
กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ ในทางกลับกันถ้า
กลุ่มประสบการณ์ทอ่ ง ต้องการบรรลุเป้า
เทีย่ วธรรมชาติ) หมาย หรือยากให้ลกู
พัฒนาด้านใดก็
กำหนดกิจกรรมให้
นำไปสูก่ ารพัฒนา
ด้านนัน้ )
การสังเกตและ บันทึก
การจดบันทึก และ
รูปภาพ
วิดโี อ
การรวบรวม ผลงาน/
ผลงาน แฟ้ม
สะสมผล
งาน
การเทียบ ชือ่ หนังสือ
ระดับจาก
หนังสือเรียนที่
ใช้

หมายเหตุ : เป้าหมายคุณภาพผูเ้ รียนทีม่ งุ่ หวังเป็ นไปตามความประสงค์ของครอบครัวผูจ้ ดั การศึกษา

8
8. จัดกิ จกรรมพัฒนาผูเ้ รียน ได้แก่ การเข้าร่วมกิจกรรมทีจ่ ดั ขึน้ โดยองค์กรต่าง ๆ กิจกรรมจิตอาสา
กิจกรรมศึกษาธรรมชาติ การจัดอบรม การจัดการเรียนรูต้ ่าง ๆ ตามโอกาสและจังหวะเวลาทีเ่ หมาะสม

9. การจัดกระบวนการเรียนรู้
เป็ นการจัดตามวิถชี วี ติ ของครอบครัว การเข้าร่วมกิจกรรมและการฝึ กอบรม ผสมกับการเรียนรูใ้ นชัน้ เรียน
ต่าง ๆ

10. การวัด และประเมิ นผลการเรียนรู้


10.1 แนวทาง/วิ ธีการวัด และประเมิ นผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลในรูปแบบการเรียนรูข้ องครอบครัวใช้การประเมินผลตามสภาพจริงโดย
ครอบครัว ด้วยเครือ่ งมือทีห่ ลากหลายดังนี้
1) การสังเกตและการจดบันทึกทัง้ ทีเ่ ป็ นตัวหนังสือ ภาพถ่าย คลิบวิดโี อ
2) การรวบรวมผลงานทีแ่ สดงออกถึงความก้าวหน้าแต่ละด้านของผูเ้ รียน
3) การเทียบระดับจากหนังสือเรียนทีใ่ ช้ หรือประกาศนียบัตรต่าง ๆ
4) การประเมินผูเ้ รียนจากบุคคลภายนอก เช่น ครูผสู้ อน หรือผูจ้ ดั กิจกรรมต่าง ๆ
5) การทำแบบทดสอบ ข้อสอบ
6) การสนทนา สอบถามและสัมภาษณ์ผเู้ รียน
ทัง้ นี้การเลือกใช้เครือ่ งมือในการประเมินเป็ นไปตามความเหมาะสมอาจจะมีการใช้หรือไม่ใช้เครื่อง
มือใดเครือ่ งมือหนึ่งได้

10.2 การตัดสิ นผลการเรียน


1) ผูเ้ รียนต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทัง้ หมด
2) ผูเ้ รียนต้องได้รบั การประเมินทุกตัวชีว้ ดั และผ่านตามเกณฑ์ทค่ี รอบครัวกําหนด
3) ผูเ้ รียนต้องได้รบั การตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา
4) ผูเ้ รียนต้องได้รบั การประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ทค่ี รอบครัวกำหนด ในการอ่าน
คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน

10.3 ระดับผลการเรียน
1) ในการตัดสินเพือ่ ให้ระดับผลการเรียนรายกลุ่มประสบการณ์ / สาระวิชา ครอบครัว เลือกใช้ระดับ
คุณภาพการให้ระดับผลการเรียน 4 ระดับ คือ ดีเยีย่ ม ดี ผ่าน และไม่ผา่ น
ผูเ้ รียนมีผลการประเมินร้อยละ 80 ขึน้ ไป ให้ได้รบั ผลการเรียน ระดับดีเยีย่ ม
ผูเ้ รียนมีผลการประเมินอยูร่ ะหว่างร้อยละ 65 - 79 ให้ได้รบั ผลการเรียน ระดับดี
ผูเ้ รียนมีผลการประเมินอยูร่ ะหว่างร้อยละ 50 - 64 ให้ได้รบั ผลการเรียน ระดับผ่าน

9
ผูเ้ รียนมีผลการประเมินต่ำกว่าร้อยละ 50 ให้ได้รบั ผลการเรียน ระดับปรับปรุง

2) การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นนั ้ ให้ระดับผลการ


ประเมินเป็ น ดีเยีย่ ม ดี และผ่าน
3) การประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน จะต้องพิจารณาทัง้ เวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบตั ิ
กิจกรรมและผลงานของผูเ้ รียน ตามเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษากําหนด และให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็ น ผ่านและ
ไม่ผา่ น
10.4 เกณฑ์การจบการศึกษา
1) ผูเ้ รียนเรียนรูต้ าม กลุ่มประสบการณ์/ สาระวิชา ได้รบั การตัดสินผลการเรียนอยูใ่ นระดับผ่านขึน้
ไป
2) ผูเ้ รียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน อยูใ่ นระดับผ่านขึน้ ไป
3) ผูเ้ รียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ อยูใ่ นระดับผ่านขึน้ ไป
4) ผูเ้ รียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน และมีผลการประเมินอยูใ่ นระดับผ่านขึน้ ไป

11. อื่นๆ (ครอบครัวสามารถเพิ่ มเติ มรายละเอียดที่เห็นว่าเป็ นประโยชน์ ต่อผูเ้ รียนได้)


………………………..........................
…………………………………………………………………………….
…………………………………………………………………….........................…………………………

10
11
12

You might also like