You are on page 1of 72

PHY 104

General Physics II

Module 4-1
Electric Charge, Force, Electric Field,
Electric Flux and Gauss’ Law,
Electric Potential, and Electric
Potential energy,
Capacitance and dielectrics
1
M4-1 Electric Charge and Electric Fields

Topics:
❑ Electric Charge
❑ Coulomb’s Law
❑ The Electric Field

2
1. Electric Charge and Electric fields

▪ ประจุไฟฟ้า มผี 2 ชนิด ได้แก่ ประจุบวก และ ประจุลบ


ประจุต่างกันผลักกัน ประจุเหมือนกันดูดกัน

ไฟฟ้ าสถิต - การทาให้วตั ถุที่


เป็ นกลางทางไฟฟ้า เกิดการถ่ายเท ❑ในระบบโดดเดี่ยว ประจุจะเป็ นปริ มผาณอนุรักษ์ นั้นคือ ประจุ
ประจุ จากการ ขัดสี เหนี่ยวนา สัมผััส ไมผ่สามผารถสร้างขึ้นใหมผ่หรื อสู ญหายไปไหนได้
❑ ประจุจะมผีค่าเป็ นจานวนเต็มผเท่าของประจุมผูลฐาน
(elementary charge, q )

❑ ตัวนา (conductor) คือ วัสดุที่ยอมผให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ได้ อย่ างอิสระ เช่น ทองแดง และ อลูมผิเนียมผ
❑ ฉนวน (insulator) คือ วัสดุที่ไม่ ยอมให้ อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ได้ อย่ างอิสระ เช่น ไมผ้, แก้ว และ พลาสติ3ก
1. Electric Charge and Electric fields

Van de Graaff Generator


เมผื่อนาเอาวัสดุต่างกัน 2 ชนิดมผาขัดสี กนั จะมผีการถ่ายโอน
ประจุ โดยวัสดุตวั หนึ่งจะเสี ยประจุ ให้กบั วัสดุอีกชนิดหนึ่ง

Triboelectric series
Wimshurst machine

การทาให้วัสดุเกิดประจุไฟฟ้ า
4
1. Electric Charge and Electric fields

ตัวอย่างไฟฟ้าสถิต ที่พบในชีวติ ประจาวัน

5
2. Coulomb’s Law

Electroscope 1. ขนาดของแรงที่เกิดขึ้น
จะแปรัันตรงกับัลคูณ
Torsion balance ของประจุท้ งั สอง และ
แปรักัันกับกาลังสอง
ของระยะห่างระหว่าง
ประจุท้ งั สอง
2. ประจุชนิดเดียวกันเกิด
แรงัลัก ประจุต่างชนิด
กันเกิดแรงดูด
3. ทิศของแรงจะอยูใ่ นแนว
เส้นตรงที่เชื่อมผระหว่าง
ประจุท้ งั สอง

6
2. Coulomb’s Law

ลองวาดเส้ นแรงทีอ่ นุภาคแต่ ละตัว


กระทากัน !!
7
2. Coulomb’s Law

กฎของคูลอมบ์

Permittivity of free space

การรวมผแรงไฟฟ้า ต้องรวมผแบบเวกเตอร์

9
2. Coulomb’s Law
ตัวอย่ าง 1 มผีประจุบวก 2 ตัว q1 = 1.60x10-19 C และ q2 = 3.20x10-19 C วางอยูบ่ นแกน x
และห่างกันเป็ นระยะ R = 0.0200 m จงหาขนาดและทิศทางของแรงที่กระทาบนประจุ q2
โดยประจุ q1

10
2. Coulomb’s Law

ตัวอย่ าง 2 จากข้อ 1 ถ้าวางประจุลบ q3 = -3.20x10-19 C ที่ตาแหน่ง 34 𝑅 จากประจุ q1 จงหา


ขนาดและทิศทางของแรงที่กระทาบนประจุ q1 โดยประจุ q2 และ q3

11
2. Coulomb’s Law

ตัวอย่ าง 3 จากข้อ 1 ถ้าวางประจุลบ q4 = -3.20x10-19 C ที่ระยะ 34 𝑅 จากประจุ q1 จงหา


ขนาดและทิศทางของแรงที่กระทาบนประจุ q1 โดยประจุ q2 และ q4

12
2. Coulomb’s Law

ตัวอย่ างที่ 4 นาประจุ −2 × 10−6 C เข้าไป ตัวอย่ างที่ 5 โปรตอนตัวหนึ่งวางอยูใ่ นสนามผไฟฟ้า


วางในบริ เวณหนึ่งๆ ปรากฏว่าเกิดแรงกระทากับ ขนาด 2.0 × 104 N/C ที่มผีทิศตามผแนวแกน +x จงหา
ประจุขนาด 8 × 10−6 N ในทิศจากซ้ายไปขวา แรงไฟฟ้าที่เกิดบนโปรตอนนี้
จงหาขนาดและทิศทางของสนามผไฟฟ้าที่จุดนั้น

13
3. The Electric field

❑ เส้ นสนามไฟฟ้ า
เส้นสนามผไฟฟ้า
ประจุบวก จะมีทศิ พุ่งออก
ประจุลบ จะมีทศิ พุ่งเข้ า
โดยเส้นสนามผไฟฟ้าจะมผีทิศตั้ง
ฉากกับพื้นัิวของวัตถุที่มผีประจุ
นั้นๆ

14
3. The Electric field

สนามไฟฟ้ า ณ จุดหนึ่ง คือ แรงทีก่ ระทาต่ อประจุขนาดหนึ่งหน่ วยทีจ่ ุดนั้นๆ

สนามผไฟฟ้า มผีหน่วยเป็ น N/C

สนามผไฟฟ้าลัพธ์ของกลุ่มผจุดประจุ ณ ตาแหน่งหนึ่ง เป็ นัลรวมผ แบบเวกเตอร์


ของสนามผไฟฟ้าเนื่องจากจุดประจุทุกจุด ซึ่งเป็ นไปตามผ Superposition principle

15
3. The Electric field

ตัวอย่างการหาสนามผไฟฟ้ามผีหลายแบบ ขึ้นอยูก่ บั ลักษณะของวัสดุที่มผีอานาจทาง


ไฟฟ้า ซึงสามผารถแบ่งตัวอย่างการหาค่าสนามผไฟฟ้าตามผความผต่อเนื่องของประจุ
ได้เป็ น

o The electric field due to a charged particle


o The electric field due to a dipole
o The electric field due to a line of charge
o The electric field due to a charged disk

16
3. The Electric field due to a point charge

ตัวอย่ างการหาสนามไฟฟ้ าเนื่องจากกลุ่มประจุ


ตัวอย่ างที่ 5 จุดประจุ 3 ตัว วางตัวอยูบ่ นระนาบ xy โดย ประจุ𝑞1 = +2𝑄 , 𝑞2 = −2𝑄 และ 𝑞3 = −4𝑄
จงคานวณหาค่าสนามไฟฟ้าที่จุดกาเนิด

17
3. The Electric field due to a point charge

ตัวอย่างที่ 6 การหาสนามไฟฟ้าเนื่องจากไดโพลไฟฟ้า

18
3. The Electric field due to a dipole

สนามไฟฟ้ าเนื่องจากไดโพลไฟฟ้ า
สนามไฟฟ้ าเนื่องจากขั้วคู่ไฟฟ้ า

𝑝Ԧ แทน electric dipole moment


มผีหน่วยเป็ น..............................................
ถ้ าประจุไฟฟ้ าวางตัวดังรู ปข้ างล่ าง สนามไฟฟ้ าจะมีค่า
เป็ นเท่ าไร ?

19
3. The Electric field due to a line of charge

ตัวอย่ างที่ 7 การหาสนามไฟฟ้ าของเส้ นประจุวงกลม


ถ้านาเส้นประจุมผาขดเป็ นวงกลมผ เราสามผารถคานวณหาค่าสนามผไฟฟ้าที่จุด P ได้เป็ น

20
3. The Electric field due to a line of charge

ตัวอย่ างการหาสนามไฟฟ้ าของเส้ นประจุวงกลม


ถ้านาเส้นประจุมผาขดเป็ นวงกลมผ เราสามผารถคานวณหาค่า
สนามผไฟฟ้าที่จุด P ได้เป็ น

ถ้ าจุดทีส่ นใจ, P อยู่ไกลมากๆ, 𝑧 ≫ 𝑅

ได้ รูปสมการเหมือนสนามไฟฟ้ าของจุดประจุเลย !!


หมายความว่ าไง ??
21
3. The Electric field due to a charged disk

ตัวอย่ างที่ 2.6 การหาสนามไฟฟ้ าของแผ่ นประจุ


วงกลม

22
3. The Electric field due to a charged disk

ตัวอย่ างการหาสนามไฟฟ้ าของแผ่ นประจุวงกลม


สนามไฟฟ้ าเนื่องจากแผ่ นประจุวงกลม สามารถหาได้ จากสมการ

แต่ถา้ จุด P อยูไ่ กลมผากๆ ค่าสนามผไฟฟ้าจะมผีค่าเป็ น

23
3. The Electric field

Measuring the Elementary Charge


A Point Charge in an Electric Field:

Ink-Jet Printing

24
4. A dipole in an electric field

จากรู ปทางซ้ายมผือ แสดงโมผเลกุลของน้ า ซึ่ งการวางตัวของอะตอมผ


แสดงความผเป็ นไดโพล Electric dipole moment,
เมผื่อ d แทน ระยะห่างระหว่างอนุภาค

ถ้านา electric dipole ไปวางไว้ในบริ เวณที่มผีสนามผไฟฟ้าสมผ่าเสมผอ


ถึงแมผ้วา่ แรงที่กระทาต่อไดโพลมผีค่าเป็ นศูนย์ แต่ทอร์กเนื่องจากแรงทั้ง
สองมผีค่าไมผ่เป็ นศูนย์

25
4. A dipole in an electric field
A dipole in an Electric Field:
Electric dipole ที่วางอยูใ่ นสนามผไฟฟ้าสมผ่าเสมผอ จะเกิดทอร์กเนื่องจากแรงจากประจุท้ งั สอง
มผีค่าไมผ่เป็ นศูนย์

26
M4-1 Gauss’ Law

Topics:
❑ Flux of Electric Field
❑ Gauss’s Law
❑ Gauss’s Law and Coulomb’s Law
❑ Applying Gauss’s Law: Cylindrical / Planar /Spherical
Symmetry

26
1. Flux of Electric field

ฟลักซ์ไฟฟ้า แทนเส้นสนามผแรงไฟฟ้าที่ัา่ นพื้นที่หน้าตัดหนึ่งๆ


✓ ฟลักซ์ไฟฟ้า หาได้จากัลคูณเชิงสเกลาร์ระหว่างสนามผไฟฟ้าและพื้นที่ัวิ
✓ ฟลักซ์ไฟฟ้า เป็ นปริ มผาณสเกลาร์
✓ เวกเตอร์ของพื้นที่ัวิ จะมผีทิศตั้งฉากกับพื้นัิวเสมผอ

28
1. Flux of Electric field

จงเรียงลาดับขนาดของฟลักซ์ สนามไฟฟ้ า

29
1. Flux of Electric field

ถ้าฟลักซ์ไฟฟ้าที่พงุ่ ั่านพื้นที่ัวิ ปิ ดรู ปร่ างใดๆ ที่ไมผ่ได้ขนานหรื อตั้ง


ฉาก จะแบ่งพื้นัิวนั้นออกเป็ นพื้นที่เล็ก

ฟลักซ์ไฟฟ้า มผีค่าขึ้นกับ
1.....................................................
2.....................................................
3. ...................................................

ฟลักซ์ไฟฟ้าที่พงุ่ ั่านพื้นที่ัวิ ปิ ดใดๆ จะมผี


ค่าสัดส่ วนกับจานวนของสนามผไฟฟ้าที่
ั่านพื้นที่ัวิ ปิ ดนั้น
30
2. Gauss’ Law
กฏของเกาส์จะสัมผพันธ์กบั ฟลักซ์ไฟฟ้า ที่พงุ่ ั่านพื้นที่ัวิ ปิ ด หรื อ ัิว
เกาส์เซียน ซึ่งฟลักซ์ไฟฟ้าจะมผีค่าขึ้นกับประจุที่ถูกล้อมผรอบด้วยัิว
ปิ ดหนึ่งๆ นั้นคือ

เมผื่อแทนลงในสมผการ

31
ัิวเกาส์เซียน (Gaussian surface) เป็ นัิวสมผมผติที่สร้างขึ้น มผีลกั ษณะเป็ นพื้นัิวปิ ดใช้ในการหาสนามผไฟฟ้า
2. Gauss’ Law

การประยุกต์ ใช้ กฏของเกาส์

✓ เพื่อใช้ในการหาสนามผไฟฟ้า โดยการสร้ างวงล้ อมผิวปิ ดรอบประจุทสี่ นใจ


✓ ควรเลือกสร้ างผิวปิ ดที่มีลกั ษณะสมมาตร เพื่อให้ง่ายต่อการแก้ปัญหาทาง
คณิ ตศาสตร์
✓ ลักษณะของพื้นัิว, dA ที่สร้างขึ้นควรวางตัวในแนวตั้งฉากหรื อขนาน กับ
สนามผไฟฟ้า

32
3. Gauss’ Law and Coulomb’s Law
พิสูจน์ การแปลงกฏของเกาส์ให้อยูใ่ นรู ปกฏของคูลอมผบ์
1. พิจารณา ประจุ 1 ตัว สร้างัิวเกาส์เซียนทรงกลมผ ล้อมผรอบประจุ ดังรู ป
2. อาศัยกฏของเกาส์ และ ประจุภายในัิวปิ ด qenc = q ดังสมผการ

33
4. Applying Gauss’ Law
ขั้นตอนการหาสนามไฟฟ้ า จากกฏของเกาส์
1. พิจารณาเส้นประจุที่ยาวอนันต์ สร้างพื้นที่ัวิ ปิ ดรู ปทรงกระบอกล้อมผรอบ
เส้นประจุน้ ี
2 หาฟลักซ์ไฟฟ้า Φ = 𝐸. 𝐴Ԧ = 𝐸𝐴𝑐𝑜𝑠𝜃
Φ = 𝐸 2𝜋𝑟ℎ 𝑐𝑜𝑠0 = 𝐸 2𝜋𝑟ℎ
**ไมผ่มผีฟลักซ์ไฟฟ้าที่หวั และท้ายของทรงกระบอก
เนื่องจากทิศของสนามผไฟฟ้าและทิศของพื้นัิวตั้งฉากกัน
3. จาก Gauss’ Law𝜀0 Φ = 𝑞𝑒𝑛𝑐
แทนค่า ได้เป็ น
𝜀0 𝐸(2𝜋𝑟ℎ) = 𝑞𝑒𝑛𝑐

สนามไฟฟ้ า
เนื่องจากเส้ นประจุ 33
4. Applying Gauss’ Law

Nonconduction Sheet ขั้นตอนการหาสนามไฟฟ้ า จากกฏของเกาส์


1. พิจารณาแั่นประจุอนันต์ สร้างพื้นที่ัวิ ปิ ดรู ป
ทรงกระบอกล้อมผรอบแั่นประจุน้ ี
2. หาฟลักซ์ไฟฟ้า Φ = 𝐸. 𝐴Ԧ = 𝐸𝐴𝑐𝑜𝑠𝜃
Φ = 𝐸𝐴 + 𝐸𝐴 = 2𝐸𝐴
3. จาก Gauss’ Law

แทนค่า ได้เป็ น

สนามไฟฟ้ าเนื่องจาก
แผ่ นประจุอนันต์
34
4. Applying Gauss’ Law

Two Conduction plates


พิจารณาแั่นตัวนาที่มผีประจุขนาดใหญ่
อนันต์ โดยรู ป a มผีประจุบวก และ รู ป b
มผีประจุลบ
สนามผไฟฟ้าแต่ละแั่น จะให้สนามผไฟฟ้าเป็ น 𝜎1
𝐸 =
𝜀𝑜
แต่ถา้ นาแั่นประจุท้ งั สองมผาวางคู่ขนานกัน จะ
ได้สนามผไฟฟ้า ระหว่างแั่นประจุคู่ขนานนี้เป็ น

สนามไฟฟ้ าเนื่องจากแผ่ น
ประจคู่ขนานอนันต์ 35
4. Applying Gauss’ Law
พิจารณาทรงกลมผกลวง ที่มผีประจุ q และมผีรัศมผี R
เลือกสร้างพื้นที่ัวิ ปิ ดทรงกลมผ
1. สร้างวงปิ ด S1 กรณี r < R
2. สร้างวงปิ ด S2 กรณี r R
**กรณีประจุทรงกลมกลวง ต้ องแยกคิด
สนามไฟฟ้ าภายใน หรื อ ภายนอกทรงกลม
สนามไฟฟ้ าภายนอกทรงกลม

สนามไฟฟ้ าภายในทรงกลม

36
4. Applying Gauss’ Law

พิจารณาทรงกลมผตัน ที่มผีรัศมผี R และมผีความผ


หนาแน่นประจุเป็ น  เลือกสร้างพื้นที่ัวิ ปิ ดทรง
กลมผ
สนามไฟฟ้ า เมื่อ r > R

สนามไฟฟ้ า เมื่อ r < R

37
4. Applying Gauss’ Law

38
Electric Potential

❑ Electric Potential Energy


❑ Electric Potential
❑ Equipotential Surface
❑ Calculation the Potential from the Field
❑ Potential Due to a Point Charge and a Group of Point Charges
❑ Potential Due to a Continuous Charge Distribution

39
3. Electric Potential : Electric Potential Energy
Electric potential energy, U
งานที่เราต้องทาในการเคลื่อนที่ประจุบวก 𝑞𝑜 ในสนามผไฟฟ้า 𝐸
สมผ่าเสมผอ จากจุด A ไปยังจุด B เป็ นเท่าไร
3. Electric Potential : Electric Potential Energy
Electric potential energy, U
งานที่เราต้องทาในการเคลื่อนที่ประจุบวก 𝑞𝑜 ในสนามผไฟฟ้า 𝐸
สมผ่าเสมผอ จากจุด A ไปยังจุด B คือ

Ԧ ∆𝑆Ԧ = −𝑞0 𝐸. ∆𝑆Ԧ


𝑊𝐴𝐵 𝑜𝑟 𝑊𝐴→𝐵 = 𝐹.
เนื่องจากแรงไฟฟ้าเป็ นแรงอนุรักษ์ (conservative force) เมผื่อเกิดงาน จะมผีัล
ทาให้พลังงานศักย์ไฟฟ้าลดลง ซึ่งเป็ นไปตามผความผสัมผพันธ์
∆𝑈 = 𝑈𝐵 − 𝑈𝐴 = −𝑊𝐴𝐵 = −𝑞0 𝐸. ∆𝑆Ԧ

ข้ อสั งเกต เนื่องจากแรงไฟฟ้าเป็ นแรงอนุรักษ์ 𝐵


ดังนั้น เส้นทางการเคลื่อนที่ของประจุ จึงไมผ่มผี ∆𝑈 = −𝑞0 න 𝐸 . 𝑑 𝑆Ԧ
ัลต่อการเปลี่ยนแปลงพลังงานศักย์ 𝐴
41
3. Electric Potential : Electric Potential
นิยาม ศักย์ไฟฟ้า คือ พลังงาน
ศักย์ไฟฟ้าต่อหนึ่งหน่วยประจุ
ทดสอบ
ดังนั้น ความผต่างศักย์ไฟฟ้า (potential difference : V) ระหว่างจุด 2 จุด สามผารถ
เขียนเป็ นความผสัมผพันธ์ได้วา่
𝐵
∆U
∆V = 𝑉𝐵 − 𝑉𝐴 = = − න 𝐸. 𝑑 𝑆Ԧ
𝑞0 𝐴

42
3. Electric Potential : Equipotential Surfaces
ผิวสมศักย์ (equipotential surface) คือ
ัิวที่ให้ศกั ย์ไฟฟ้าเท่ากันทุกๆจุดบนัิว
นั้น
ดังนั้น การเคลื่อนที่ของประจุบนัิวสมผ
ศักย์จะไมผ่ทาให้เกิดงาน โดยที่ัวิ สมผ
ศักย์จะตั้งฉากกับเส้นสนามผไฟฟ้าที่ัา่ น
ัิวเสมผอ

43
3. Electric Potential :
Calculation the Potential from the Field

ถ้าให้ Vi = 0 จะได้วา่

ตัวอย่ าง 2 ความต่ างศักย์ ระหว่ างจุดสองจุด ทีอ่ ยู่ใน


สนามไฟฟ้ าของจุดประจุ
พิจารณาสนามผไฟฟ้าเนื่องจากจุดประจุ..................................................
𝐵
∆V = 𝑉𝐵 − 𝑉𝐴 = − න 𝐸. 𝑑 𝑆Ԧ
𝐴

𝑟 1 𝑘𝑞
𝑉𝐵 − 𝑉𝐴 = −kq ‫ 𝐵 𝑟׬‬2 . 𝑑𝑟 = ቃ
𝑟 𝐴 𝑟

44
3. Electric Potential : Potential due to a Point Charge
and Group of Point Charges
จากรู ป จงหาค่าศักย์ไฟฟ้า เมื่อเราย้ายประจุทดสอบ
จากจุด Pไปยังจุดต่างๆ เป็ นระยะทาง r

45
3. Electric Potential : Potential due to a Point Charge
and Group of Point Charges
ความต่างศักย์ไฟฟ้าของจุดประจุ

ศักย์ไฟฟ้าของจุดประจุ
ศักย์ไฟฟ้าของกลุ่มประจุ

46
3. Electric Potential : Potential due to a Point Charge
and Group of Point Charges
Example, Net Potential of Several Charged Particles:

47
3. Electric Potential :
Potential due to a Continuous Charge Distribution

ก่อนจะคานวณหาสนามผไฟฟ้าจากศักย์ไฟฟ้า จะได้อธิบายการหาศักย์ไฟฟ้าเนื่องจาก
ประจุต่อเนื่อง ซึ่งมผีลกั ษณะการหาคล้ายกับการวิธิการคานวณของสนามผไฟฟ้า

พิจาณาสมผการหาศักย์ไฟฟ้าที่จุดใดๆ

แต่ถา้ ประจุมผีการกระจายตัวอย่างต่อเนื่อง จึงต้องมผีการแบ่งประจุออกเป็ นส่ วนเล็ก dq


ซึ่งจะได้ศกั ย์ไฟฟ้าย่อย เป็ น

ดังนั้น ศักย์ไฟฟ้าทั้งหมผด เป็ น

48
3. Electric Potential :

49
3. Electric Potential :

50
3. Electric Potential :
Potential of a Charged Isolated Conductor

(a) A plot of V(r) both


inside and outside a
charged spherical shell
of radius 1.0 m.

(b) A plot of E(r) for the


same shell.
It is wise to enclose yourself in a
cavity inside a conducting shell,
where the electric field is
guaranteed to be zero. A car
(unless it is a convertible or made
with a plastic body) is almost
ideal. 51
3. Electric Potential :
Potential of a Charged Isolated Conductor

Faraday Cage

ศึกษาเพิม่ เติมได้ จาก


https://www.youtube.com/watch?v=yHfgqDcEqfA
https://www.youtube.com/watch?v=zFaXqnZ90_g
https://www.youtube.com/watch?v=WqvImbn9GG4 52
M4-1 Capacitance

Topics:
❑ Calculating the capacitance
❑ Capacitors in parallel and in series
❑ Energy stored in an electric field
❑ Capacitor with a dielectric

53
M4-1 Capacitance: Calculating the capacitance
ตัวเก็บประจุ (Capacitor) เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บพลังงานในรู ปของสนามผ ไฟฟ้า ประกอบด้วยตัวนา
2 ตัว ที่มผีรูปร่ างคล้ายกัน วางอยูใ่ กล้กนั ในสุ ญญากาศ หรื อตัวกลางที่เป็ นฉนวน โดยจะใส่ ประจุบนตัวทั้ง
สองเท่าๆกัน แต่เป็ นประจุชนิดตรงข้ามผกัน

ค่ าความจุไฟฟ้ า (Capacitance), C เป็ นค่าคงที่สาหรับตัวเก็บประจุหนึ่งๆ โดยค่ าความจุ จะมีค่าขึน้ กับ


รู ปทรง ขนาด และระยะห่ างระหว่ างตัวนาทั้งสอง ไมผ่ได้มผีค่าขึ้นกับ q และ V
หน่วยของค่าความผจุไฟฟ้า เป็ น coulomb/volt นั้นคือ
1 F = 1 C/V
54
M4-1 Capacitance: Calculating the capacitance
ค่ าความจุไฟฟ้ า มีค่าขึน้ กับ ➢ รู ปร่ างและขนาดของแั่นตัวนา
➢ ระยะห่างระหว่างแั่นตัวนา
➢ ชนิดของวัสดุที่อยูร่ ะหว่างตัวนา

วิธีการคานวณหาค่ าความจุของตัวเก็บประจุทมี่ รี ูปทรงต่ างๆ


1. หาค่าสนามผไฟฟ้า E

2. หาค่าความผต่างศักย์ V จากสนามผไฟฟ้าในข้อ 1

q
3. แทนค่าในสมผการ C =
V

55
M4-1 Capacitance: Calculating the capacitance
ค่ าความจุไฟฟ้ าของตัวเก็บประจุแบบแผ่ นคู่ขนาน
1. หาค่าสนามผไฟฟ้า E
สนามผไฟฟ้าเนื่องจากแั่นประจุคู่ขนาน
𝑞

มผีคาเป็ น E =
𝜀0 𝐴
2. หาค่าความผต่างศักย์ V จากสนามผไฟฟ้าในข้อ 1

𝑞 𝑑 𝑞𝑑
V = න 𝐸𝑑𝑠 = න 𝑑𝑠 =
+ 𝜀0 𝐴 0 𝜀0 𝐴
q
3. แทนค่าในสมผการ C =
V
ค่ าความจุไฟฟ้ าของตัวเก็บประจุ
แบบแผ่ นคู่ขนาน
56
M4-1 Capacitance: Calculating the capacitance
ตัวอย่างที่ 1

57
M4-1 Capacitance: Calculating the capacitance
ค่ าความจุไฟฟ้ าของตัวเก็บประจุแบบทรงกระบอก
1. หาค่าสนามผไฟฟ้า E
𝑞 = 𝜀0 𝐸𝐴 = 𝜀0 𝐸(2𝜋𝑟𝐿)
𝑞
ดังนั้น 𝐸 =
2𝜋𝜀0 𝑟𝐿
2. หาค่าความผต่างศักย์ V จากสนามผไฟฟ้า
− 𝑏
𝑞 𝑑𝑟 𝑞 𝑏
V = න 𝐸𝑑𝑠 = න = 𝑙𝑛
+ 2𝜋𝜀0 𝐿 𝑎 𝑟 2𝜋𝜀0 𝐿 𝑎
q
3. แทนค่าในสมผการ C =
V
ค่ าความจุไฟฟ้ าของตัวเก็บประจุ
แบบทรงกระบอก
58
M4-1 Capacitance: Calculating the capacitance
ตัวอย่างที่ 2

59
M4-1 Capacitance: Calculating the capacitance
ค่ าความจุไฟฟ้ าของตัวเก็บประจุแบบทรงกลม
1. หาค่าสนามผไฟฟ้า E
𝑞 = 𝜀0 𝐸𝐴 = 𝜀0 𝐸(4𝜋𝑟 2 )
𝑞
ดังนั้น 𝐸 =
4𝜋𝜀0 𝑟 2
2. หาค่าความผต่างศักย์ V จากสนามผไฟฟ้า
− 𝑏
𝑞 𝑑𝑟 𝑞 𝑎𝑏
V = න 𝐸𝑑𝑠 = න 2 =
+ 4𝜋𝜀 0 𝐿 𝑎 𝑟 2𝜋𝜀0 𝐿 𝑏 − 𝑎
q
3. แทนค่าในสมผการ C =
V

ค่ าความจุไฟฟ้ าของตัวเก็บประจุ
แบบทรงกระบอก
60
M4-1 Capacitance: Capacitors in parallel and in series
การต่ อตัวเก็บประจุแบบขนาน
➢ ให้ความผต่างศักย์เท่ากัน
➢ ประจุแต่ละตัวมผีค่า
𝑞1 = 𝐶1 𝑉, 𝑞2 = 𝐶2 𝑉
และ 𝑞3 = 𝐶3 𝑉
➢ ประจุรวมผ q = 𝑞1 + 𝑞2 + 𝑞3

ถ้าระบบของตัวเก็บประจุน้ ี แทน
ด้วยตัวเก็บประจุเพียงตัวเดียวเป็ น

𝐶𝑒𝑞 = 𝐶1 + 𝐶2 + 𝐶3
ค่ าความจุรวม
61
M4-1 Capacitance: Capacitors in parallel and in series
การต่ อตัวเก็บประจุแบบอนุกรม
➢ ให้ค่าประจุเท่ากันเท่ากัน
➢ ศักย์ไฟฟ้าที่ัา่ นตัวเก็บประจุแต่ละตัว
𝑉1 = 𝑞/𝐶1 , 𝑉2 = 𝑞/𝐶2 และ 𝑉3 = 𝑞/𝐶3
➢ ค่าความผต่างศักย์รวมผ V = 𝑉1 + 𝑉2 + 𝑉3
ถ้าระบบของตัวเก็บประจุน้ ี แทนด้วยตัวเก็บประจุเพียง
ตัวเดียวเป็ น 1 1 1 1
= + +
𝐶𝑒𝑞 𝐶1 𝐶2 𝐶3

ค่ าความจุรวม
62
M4-1 Capacitance: Capacitors in parallel and in series
ตัวอย่างที่ 3 (a) Find the equivalent capacitance for the combination of capacitances
shown in Fig, across which potential difference V is applied.
(b) The potential difference applied to the input terminals in Fig. is V = 12.5 V. What is
the charge on C1 ?

63
M4-1 Capacitance: Capacitors in parallel and in series
ตัวอย่ างที่ 4 Fig. shows plots of charge versus potential difference for three
parallel-plate capacitors that have the plate areas and separation given in the
table. Which plot goes with which capacitor?
Capacitor Area Separation
1 A d
2 2A d
3 A 2d

64
M4-1 Capacitance: Energy stored in an electric field
พลังงานศักย์ในตัวเก็บประจุ

Energy density – the potential energy per unit volume between the plates

65
M4-1 Capacitance: Energy stored in an electric field
ตัวอย่ างที่ 5 An isolated conducting sphere whose radius R is 6.85 cm has a charge q = 1.25 nC.
(a) How much potential energy is stored in the electric field of this charge conductor?
(b) What is the energy density at the surface of the sphere?

66
M4-1 Capacitance: Capacitor with a dielectric

ตัวเก็บประจุเมื่อมีสารไดอิเล็กตริก
สารไดอิเล็กตริ ก (dielectric) คือ สารจาพวกฉนวน เช่น ยาง แก้ว พลาสติก เมผื่อนาสารไดอิเล็กตริ ก ไปใส่
ไว้ระหว่างแั่นตัวนาคู่ขนาน พบว่าค่ าความจุของตัวเก็บประจุจะมีค่าเพิม่ ขึน้ เนื่องจากการใส่ ฉนวน
ระหว่างแั่นตัวนาทั้งสองจะทาให้สนามผไฟฟ้ามผีค่าลดลง ทาให้ความผต่างศักย์ระหว่างแั่นตัวนามผีค่าลดลง
ตามผไปด้วย

67
M4-1 Capacitance: Capacitor with a dielectric
ตัวเก็บประจุเมื่อมีสารไดอิเล็กตริก
ค่าความผจุไฟฟ้าที่เพิ่มผขึ้น เนื่องจากการใส่
สารไดอิเล็กตริ ก จะมผีค่าขึ้นกับ ค่าคงที่
ของสารไดอิเล็กตริ ก (dielectric constant,
) ซึ่งขึ้นอยูก่ บั ชนิดของสารไดอิเล็กตริ ก
𝜀
𝜅 = 𝜀𝑟 =
𝜀0
ยกตัวอย่างเช่น ค่าความผจุของตัวเก็บประจุ
แบบแั่นคู่ขนานที่มผีสารไดอิเล็กตริ ก
𝜀0 𝐴
𝐶 = 𝜅
𝑑 68
M4-1 Capacitance: Capacitor with a dielectric

69
M4-1 Capacitance: Dielectrics and Gauss’ Law
สนามไฟฟ้ าระหว่ างแผ่ นประจุคู่ขนาน เมื่อไม่ มสี ารไดอิเล็กตริก

สนามไฟฟ้ า ระหว่ างแผ่ นประจุคู่ขนานทีม่ สี ารไดอิเล็กตริก

70
M4-1 Capacitance: Dielectrics and Gauss’ Law
ตัวอย่ าง ตัวเก็บประจุแบบแั่นคู่ขนาน ที่มผีพ้นื ที่ตวั นา A = 5.56 cm2 และระยะห่างระหว่าง
แั่นคู่ขนานทั้งสองแั่นเป็ น d = 5.56 mm โดยช่องว่างระหว่างแั่นได้ใส่ สารไดอิเล็กตริ ก
อย่างละครึ่ งแั่นด้วยพื้นที่เท่ากัน ตามผรู ป กาหนดให้สารไดอิเล็กตริ ก ที่ใส่ ลงไปมผีค่าคงที่
เป็ น 1 = 7.00 และ 1 = 12.0 จงหาค่าความผจุไฟฟ้าของตัวเก็บประจุน้ ี

71
M4-1 Capacitance: Dielectrics and Gauss’ Law

ตัวอย่ าง ตัวเก็บประจุแบบแั่นคู่ขนาน ที่มผีพ้นื ที่ตวั นา A = 7.89 cm2 และระยะห่างระหว่าง


แั่นคู่ขนานทั้งสองแั่นเป็ น d = 4.62 mm โดยช่องว่างระหว่างแั่นได้ใส่ สารไดอิเล็กตริ ก
อย่างละครึ่ งแั่นด้วยพื้นที่เท่ากัน ตามผรู ป กาหนดให้สารไดอิเล็กตริ ก ที่ใส่ ลงไปมผีค่าคงที่
เป็ น 1 = 11.0 และ 1 = 12.0 จงหาค่าความผจุไฟฟ้าของตัวเก็บประจุน้ ี

72

You might also like