You are on page 1of 6

1.

สนามไฟฟ้ าคือบริเวณรอบ ๆ
ประจุไฟฟ้ าทีป
่ ระจุไฟฟ้ าสามารถส่งอานาจไปถึง ถ้า
นาประจุทดสอบ (q)
ไปวางในสนามไฟฟ้ าจะเกิดมีแรงกระทาต่อประจุทดสอบนัน ้
โดย ขนาดของสนามไฟฟ้ า หรือความเข้มสนามไฟฟ้ า เท่ากับ
..........................................

หรือ E = .... . มีหน่ วยเป็ น . . . . . . . . .

ทิศของสนามไฟฟ้ าดูจาก . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .

2. การวัดค่าของสนามไฟฟ้ า ณ จุดใดๆ วัดได้โดย. . . . . .


....... .......... ........... ......................... ...... ......
. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .. . . . . . . . .. . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . .
......

+Q +1C
R

-Q +1C

R
เมือ
่ Q = ประจุไฟฟ้ าทีท่ าให้เกิดสนามไฟฟ้ า (C)
R E = ค่าของสนามไฟฟ้ า (N/C)
F = แรงกระทาบนประจุทดสอบ
R = ระยะระหว่างประจุ Q
ถึงตาแหน่ งทีต
่ อ
้ งการหาความเข้มข้นของสนามไฟฟ้ า (m)
ข้อสังเกต
E เป็ นปริมาณเวกเตอร์การหาความสนามไฟฟ้ าลัพธ์
หาจากหลักของเวกเตอร์

1
ลักษณะของสนามไฟฟ้ าเนื่องจากประจุชนิดต่าง ๆ
1. ประจุไฟฟ้ าเป็ นจุด
Q A
+1C
R

สนามไฟฟ้ าทีจ่ ุดใด ๆ ห่างออกไป R เมตร

EA= …………… มีหน่ วยเป็ น N/C

2. ประจุไฟฟ้ าบนตัวนาทรงกลมซึง่ ประจุกระจายอยูท่ ผ


ี่ วิ อย่างสม่าเสมอ
(ถือเสมือนว่าเป็ นประจุรวมทีจ่ ุดศูนย์กลาง)

B
Q Q =ประจุไฟฟ้ ารวมทีผ
่ วิ ตัวนาทรงกลม
r R . Ar =รัศมีทรงกลม
c R =ระยะห่างจากจุดศูนย์กลางของทรงกลม

ก. สนามไฟฟ้ านอกทรงกลมห่างจากจุดศูนย์กลาง R เมตร (ทีจ่ ุด


A)

E A= ……………

ข. สนามไฟฟ้ าทีผ
่ วิ ทรงกลม (ทีจ่ ุด B)

E B= ……………

ค. สนามไฟฟ้ าภายในทรงกลมทุก ๆ จุดภายในทรงกลม


สนามไฟฟ้ ามีคา่ = 0
จากรูป EC = 0 (เพราะว่า C เป็ นจุด ๆ หนึ่งภายในทรงกลม
เส้นแรงไฟฟ้ าไม่ผา่ นดังนัน
้ ความเข้มของสนามไฟฟ้ ามีคา่ เป็ นศูนย์)

แรงทีก
่ ระทาต่อประจุไฟฟ้ าในสนามไฟฟ้ าเมือ่ นาประจุไฟฟ้ าไปวาง
ในสนามไฟฟ้ า ประจุนน
้ ั จะถูกแรงกระทาจากสนามไฟฟ้ ามีขนาด

F = …………… มีหน่ วยเป็ น.........


2
E F E F
+Q +q +Q -q

E E E F
F
-Q +q -Q +q

เมือ
่ Q = ประจุไฟฟ้ าทาให้เกิดสนามไฟฟ้ า E
q =ประจุไฟฟ้ าทีน
่ าไฟวางในสนามไฟฟ้ า E
F =แรงกระทาทีป ่ ระจุ q ได้รบั จากสนามไฟฟ้ า E

ตั ว อ ย่ า ง ที่ 1จ ง ห า ส น า ม ไ ฟ ฟ้ า ณ จุ ด A ซึ่ ง อ ยู่ ห่ า ง จ า ก จุ ด ป ร ะ จุ 6


ไมโครคูลอมบ์ เป็ นระยะ 10 cm

ตัวอย่างที่ 2 หยดน้ามันเล็กๆ หยดหนึง่ มีมวล 16 มิลลิกรัม


ลอยนิ่งอยูใ่ นสนามไฟฟ้ าซึง่ มี
ความเข้ม 10 -7 N/C
ถ้าประจุไฟฟ้ าของหยดน้ามันนี้เกิดจากอิเล็กตรอนมีมากเกินจานวนโปรตรอน
จงหา
ก. หยดน้ามันอิเล็กตรอนอิสระกีอ่ นุภาค ข. ประจุไฟฟ้ าของหยดน้ามัน
(คูลอมบ์)

ตัวอย่างที่ 3 จุด A และจุด B อยูห ่ า่ งจากจุดประจุ q เป็ นระยะ 20 เซนติเมตร


แ ล ะ 50 เซ น ติ เ ม ต ร ต าม ล าดับ ถ้ า ที่ จุ ด Aส น าม ไ ฟ ฟ้ ามี ค่ า เท่ า กับ 5
โวลต์ ต่ อ เมตร และมี ทิ ศ ชี้ เข้ า หาประจุ แ ล้ ว สนามไฟฟ้ าที่จุ ด B มี ค่า เท่ า ไร
และมีทศิ อย่างไร

3
ตัวอย่างที่ 4 สนามไฟฟ้ ามีทศิ พุง่ ออกจากผิวโลกทรงกลมตัวนาลูกหนึ่งมีมวล
m แขวนด้วยเชือกภายใต้สนามไฟฟ้ าสม่าเสมอ 5  10 นิวตัน/ คูลอมบ์
4

หากทรงกลมมีประจุอยู่ 4  10 คูลอมบ์
6

ทาให้เชือกแขวนทามุม 45 กับแนวดิง่ มวลของทรงกลมจะมีคา่ เท่าใด

ตัวอย่างที่ 5 จงหาขนาดสนามไฟฟ้ า ทีท่ าให้อเิ ล็กตรอน


มีแรงทางไฟฟ้ าเท่ากับน้าหนักของมันเอง
กาหนดให้มวลของอิเล็กตรอนเท่ากับ 9  10 กิโลกรัม ประจุของอิเล็กตรอน
31

เท่ากับ 1.6  10 คูลอมบ์


19

ตัว อย่ า งที่ 6ทรงกลมตัว น าเส้ น ผ่ า นศู น ย์ ก ลาง 10 เซนติ เ มตร มี ป ระจุ 1
ไมโครคูลอมบ์ จงหาค่า
ความเข้มสนามไฟฟ้ า ณ ตาแหน่ งทีอ ่ ยูห
่ า่ งจากจุดศูนย์กลางเป็ นระยะ 20 , 10
, 5 และ 4 เซนติเมตร ตามลาดับ
5
4
4
B A
C
วิธีทา

แบบฝึ กหัด
1. จากรูป จงหาว่าสนามไฟฟ้ าของประจุ +2x10–3 คูลอมบ ์ ณ.จุ
Q =ด+2
A จะมี
x ความเข ้ม
่ วตัน/คูลอมบ ์ และ มีทศ
กีนิ ิ ไปทางซ ้ายหรือขวา 10–3 C *
A
3
ม.

2. จากรูป จงหาว่าสนามไฟฟ้ าของประจุ –4 x 10–3 คูลอมบ ์ ณ.จุด Q


A=จะมี
4 x

ความเข ้มกีนิ วตัน/คูลอมบ ์ และ มีทศ ้
ิ ขึนหรือลง
1 10–3 C
ม. *A

่ าหนดให ้ จงหาว่าสนามไฟฟ้ าลัพธ ์ทีจุ่ ด X


3. จากรูปทีก A = +4 x B = 3 x
มีขนาดเท่าใด –9
X
10–9 C
10 C 3 *
3
ม. ม.

5
4. (มช 44) ประจุบวก q1 = 2 ไมโครคูลอมบ ์ วางห่างจาก ประจุลบ q2 = –2
ไมโครคูลอมบ ์ เป็ นระยะ 6 เมตร
สนามไฟฟ้ าทีต ่ าแหน่ งกึงกลางระหว่
่ าง 2 ประจุนี ้ ในหน่ วยของ N/C
มีคา่ เป็ นเท่าใด
1. –2 x103
2. 0
3. 2 x 103
4. 4 x103

A = +4 x
่ าหนดให ้ จงหาว่าสนามไฟฟ้ าลัพธ ์ทีจุ่ ด X มีขนาดเท่าใด
5. จากรูปทีก
10 –9C 3 X*

ม. 3
ม.
B = 3 x
10–9 C

You might also like