You are on page 1of 14

10/01/53

2. สนามไฟฟ้า
แรงทางไฟฟ้ าได้รับการพัฒนาโดย Michael Faraday โดยสนามไฟฟ้ าจะมีอยูบ่ ริ เวณรอบๆ
วัตถุทีมีประจุ เมือมีวตั ถุมีประจุอืนเคลือนทีเข้ามาในสนามไฟฟ้ านี3 จะเกิดแรงกระทําทาง
ไฟฟ้ ากระทําต่อมัน ตัวอย่างเช่นรู ปที 1 แสดงประจุทดสอบขนาดเล็กทีเป็ นบวก q0 วางอยู่
ใกล้วตั ถุทีมีประจุบวกจํานวนมากกว่า Q
Q นิ ยามความเข้มของสนามไฟฟ้ า E ทีตาํ แหน่ ง
q0 ของประจุทดสอบ q0ว่าเป็ นสนามไฟฟ้ าทีกระทํา
ต่อประจุหนึงหน่วย หรื อ
E
สนามไฟฟ้ า E ทีตาํ แหน่งใดใน space นิ ยามว่า
เป็ นแรงทางไฟฟ้ า F ทีกระทําต่อประจุทดสอบที
รู ป ประจุ ท ดสอบที เ ป็ นบวก เป็ นบวก q0 ที อยู่ทีตาํ แหน่ งนั3นหารด้วยขนาด
ปริ มาณน้อยวางอยูใ่ กล้กบั วัตถุทีมี ของประจุทดสอบ v
ประจุ บ วกจํา นวนมากกว่า Q v FE
E=
สนามไฟฟ้ า E มีทิศทางเดี ยวกับ q0
แรง F ทีกระทํากับประจุบวกซึ ง
สนามไฟฟ้ ามีหน่วยเป็ น นิวตันต่อคูลอมบ์ (N/C)
อยูใ่ นสนามไฟฟ้ า 1

สนามไฟฟ้า (Electric Field; E) หมายถึง บริ เวณโดยรอบประจุไฟฟ้ า ซึ งประจุไฟฟ้ า


สามารถส่ งอํานาจไปถึง หรื อ บริ เวณทีเมือนําประจุไฟฟ้ าเข้าไปวางแล้วจะเกิดแรง กระทํา
บนประจุไฟฟ้ านั3น
ตามจุดต่างๆ ในบริ เวณสนามไฟฟ้ าย่อมมีความเข้มของสนามไฟฟ้ าต่างกัน
จุดทีอยูใ่ กล้ประจุไฟฟ้ าจะมีความเข้มของสนามไฟฟ้ าสูงกว่าจุดทีอยูห่ ่างไกลออกไป
v
v FE
นิยาม สนามไฟฟ้ าเป็ นแรงต่อประจุ 1 คูลอมบ์ มีหน่วยเป็ น N/C E =
q
สนามไฟฟ้ า E เนื องจากประจุ q ทีอยูห่ ่างเป็ นระยะทาง r จะมีค่าเท่ากับ
v
v FE 1 q ) k Eq ) E คือ สนามไฟฟ้ า (N/C)
E= = r= 2 r
q 4πε0 r 2 r F คือ แรงไฟฟ้ า (N)
q คือ ประจุไฟฟ้ า (C)
วิธีหาความเข้มของสนามไฟฟ้ า ณ จุดใดๆ
1. เขียนรู ป แสดงตําแหน่งประจุเข้าของสนาม
2. นําประจุ +1 C ไปวางไว้ ณ จุดทีจะหาความเข้มของสนามไฟฟ้ า
3. เขียนทิศทางของแรงทีกระทําต่อประจุ +1 C ณ จุดนั3นด้วย
4. หาความเข้มของสนามไฟฟ้ า จากสูตร 2

1
10/01/53

การคํานวณหาสนามไฟฟ้าทีจุด P เนืองจากกลุ่มของจุดประจุหลายๆ กลุ่ม

ทีจุด P ใดๆ สนามไฟฟ้ ารวมทีเกิ ดจากกลุ่มประจุจะเท่ากับผลรวม


แบบเวกเตอร์ ของสนามไฟฟ้ าเนืองจากแต่ละประจุ นัน คือ

v 1 qi qi
E=
4 πε 0
∑ ri2
r̂i = k E ∑ 2 r̂i
i i ri

เมือ ri คือระยะทางจากประจุ qi ไปยังตําแหน่ง P (ตําแหน่งของประจุทดสอบ)

r̂i คือเวกเตอร์ หน่วยมีทิศทางจาก qi ไปยัง P


3

2
10/01/53

ตัวอย่าง 1 Electric field due to two charges


ประจุ q1 = 7.0 µC อยูท่ ีจุดกําเนิ ด และประจุ q2 = -5.0 µC อยูบ่ นแกน x ห่ างจากจุด
กําเนิด 0.3 m ดังรู ป จงหาสนามไฟฟ้ าทีตาํ แหน่ง P ซึงมีพิกดั ที (0,0.40) m
วิธีทาํ
เริ มแรกให้หาขนาดของสนามไฟฟ้ าทีจุด P ทีเกิดจากประจุ
แต่ละตัว สนาม E1 เกิดจากประจุ 7.0 µC และ E2 เกิดจาก
ประจุ -5.0 µC
q1  7 × 10 − 6 
E1 = k E = (9 × 10 9 )  = 3.9x10 5 N/C

r12  (0.40)
2

−6
q2 9  5 ×10 
E2 = k E = (9 ×10 )  = 1.8x105 N/C
2
r2  2 
 (0.5) 

รู ป สนามไฟฟ้ า E ทีจุด P เท่ากับ


ผลรวมแบบเวกเตอร์ E1+E2 6

3
10/01/53

v 5
E1 มีเฉพาะองค์ประกอบในแนวแกน y เป็ น E1y = 3.9 ×10 N/C
v 3 5
E 2 มีองค์ประกอบในแนวแกน x เป็ น E 2x = E 2 cosθ = 5 E 2 = 1.1x10 N/C
4
และมีองค์ประกอบในแกน –y เป็ น E 2y = −E 2 sin θ = − E 2 = −1.4 x105 N/C
5
ดังนั3นเขียนในรู ปเวกเตอร์ได้ ดังนี3
v v
E1 = (3.9 ×105 ) ˆj E 2 = (1.1×105 ) î − (1.4 ×105 ) ĵ

สนามลัพธ์ E ทีจุด P เป็ นผลรวมระหว่าง E1 และ E2


v v v
E = E1 + E2 = (0 +1.1×105 )î + (3.9 ×105 −1.4 ×105 )ĵ
= (1.1×105 )î + (2.5×105 )ĵ

จะได้ E มีขนาด = (E x ) 2 + (E y ) 2 = (1.1x105 ) 2 + (1.1x105 ) 2 = 2.7 × 105 N / C


Ey (2.5x10 5 ) กับแกนบวก x
และทํามุม Φ = θ = tan −1 = tan −1 = 66 o
Ex (1.1x10 5 )

แบบฝึ กหัด จงหาแรงไฟฟ้ าทีกระทําต่อประจุ 2x10-8 C ทีจุด P


ตอบ 5.4x10-3 N มีทิศเดียวกับสนามไฟฟ้ า E 7

ตัวอย่าง 2 Electric field of dipole


ไดโพลไฟฟ้ า (an electric dipole) นิยามคล้ายกับว่าเป็ นคู่ประจุ +q และประจุ -q
อยูห่ ่ างกันเป็ นระยะทางค่าหนึ ง ดังรู ป จงหาสนามไฟฟ้ า E ทีจุด P ทีเกิดจาก
ประจุทีซ ึ ง P มีระยะทาง y >> a จากจุดกําเนิด
วิธีทาํ
ทีจุด P สนาม E1 และ E2 ทีเกิดจากประจุท3 งั สองมีขนาด
เท่ากันเนืองจากจุด P มีระยะห่างจากประจุท3 งั สอง
เท่ากัน สนามรวมทั3งหมดคือ Ev = Ev + Ev
1 2
q q
เมือ E1 = E 2 = k E 2 = k E 2 2
r y +a
องค์ประกอบในแนวแกน y ของ E1 และ E2 หักล้าง
รู ป สนามไฟฟ้ า E ที จุด P กันและกัน องค์ประกอบในแนวแกน x นํามาบวกกัน
เนื องจากประจุ 2 ตัวทีมีขนาด เนื องจากเวกเตอร์ ท3 งั สองมีทิศในแกนบวก x ทั3งคู่
เท่ากันแต่มีทิศทางตรงข้ามกัน มี ดังนั3น E จะขนานกับแกน x มีขนาดเท่ากับ
ค่า เท่ ากับผลรวมแบบเวกเตอร์
ของ E1 และE2 2 E1 cos θ 8

4
10/01/53

v v v q q
E = E1 + E 2 เมือ E1 = E 2 = k E = kE 2
r 2
y + a2

จากรู ป พบว่า cosθ = a / r = a /( y 2 + a 2 )1/ 2


ดังนั3น
q a
E = 2E 1cos θ = 2 k E
(y + a ) (y + a 2 )1/2
2 2 2

2qa
= kE
(y + a 2 )3/2
2

เพราะว่า y>>a เราสามารถละทิ3ง a2 ได้


ดังนั3น 2qa
E ≈ kE
y3

เราพบว่าขนาดของ E แปรผกผันตามกําลังสามของ ระยะทางทีอยู่บน


เส้นตรงทีต3 งั ฉากซึ งแบ่งครึ งระยะทางระหว่างไดโพล 9

ตัวอย่าง 3 Motion of charged particle in a uniform electric field


เมืออนุ ภาคมีประจุ q และ มวล m วางอยูใ่ นสนามไฟฟ้ า E แรงทางไฟฟ้ าที
กระทําต่อประจุคือ qE ถ้านี คือแรงเพียงอย่างเดียวทีกระทําต่ออนุ ภาคมันจะ
เป็ นแรงสุ ทธิ ทีกระทําต่อประจุและทําให้เกิดความเร่ งของอนุ ภาค ในกรณี น3 ี
สามารถประยุกต์ใช้กฎข้อสองของนิวตันกับอนุภาคได้ดงั นี3
v v v
F = ma = qE
v
v qE
ความเร่ งของอนุภาคเป็ นดังนี3 a=
m
ถ้า E มีค่าสมําเสมอ (มีขนาดและทิศทางคงที) จะได้วา่ ความเร่ งมีค่าคงทีดว้ ย
ถ้าอนุภาคมีประจุบวกเมือมันถูกเร่ งในทิศเดียวกับสนามไฟฟ้ า
ถ้าอนุภาคมีประจุลบมันจะถูกเร่ งในทิศตรงข้ามกับสนามไฟฟ้ า
10

5
10/01/53

สนามไฟฟ้าของประจุไฟฟ้าทีก ระจายกันอยู่อย่ างต่ อเนือง


ในกรณี ทีระยะทางระหว่างประจุในกลุ่มประจุมีค่าน้อยกว่าระยะทางระหว่างกลุ่มประจุ
กับจุ ดที สนใจหาสนามไฟฟ้ ามากๆ ในกรณี เช่ นนี3 ระบบที ประจุ อยู่ใกล้ชิดกันมากจะ
เทียบเท่ากับประจุทีกระจายอย่างต่อเนือง ตามเส้น ตลอดพื3นผิวหรื อตลอดปริ มาตร
ในการประมาณค่าสนามไฟฟ้ าทีเกิดจากการกระจาย
ของประจุอย่างต่อเนือง มีข3 นั ตอนดังนี3
เริ มแรก ให้แบ่งการกระจายของประจุเป็ นส่วน
เล็กๆ ซึงมีประจุ ∆ q
แล้วคํานวณหาสนามไฟฟ้ าทีเกิดจากส่วนประกอบ
ย่อยๆ ∆q เหล่านี3แต่ละส่วนทีกระทําต่อจุด P

รู ป สนามไฟฟ้ าที จุด P เนื องจาก แล้วทําการหาสนามไฟฟ้ ารวมทีกระทําที P อัน


เนื องมาจากการกระจายของประจุ โดยการรวม
การกระจายประจุ อย่างต่อเนื องซึ ง สนามไฟฟ้ าในแต่ละส่วนเข้าด้วยกัน
เป็ นผลมาจากการรวมสนาม ∆ E ที
เกิดจากประจุยอ่ ย ∆q 11

v ∆q
สนามไฟฟ้ าทีจุด P เนืองมาจากประจุ ∆q คือ ∆ E = k E 2 r̂
r
เมือ r คือระยะห่างระหว่างประจุ ∆q และจุด P
r̂ คือเวกเตอร์ หน่วยมีทิศจากกลุ่มประจุ ∆q ไปยังจุด P
สนามไฟฟ้ ารวมทีจุด P ทีเกิดจากทุกๆ องค์ประกอบย่อยของประจุคือ
v ∆q
E ≈ k E ∑ 2 i ˆri เมือ i แสดงถึงกลุ่มประจุที i
i ri
เนืองจากประมาณการกระจายของประจุเป็ นแบบต่อเนือง
สนามไฟฟ้ ารวมทีจุด P ในช่วง ∆ q i → 0 คือ
v ∆q i dq
E ≈ k E lim
∆q → 0
i
∑ ri2
r̂ = k E ∫ r 2 r̂
i

โดยทําการอินทิเกรท ตลอดช่วงของการกระจายของประจุ 12

6
10/01/53

โดยการสมมติ ให้ว่าประจุ มีก ารกระจายอย่างสมําเสมอบนเส้นตรง บนพื3นผิวหรื อทัว


ปริ มาตรและจะเป็ นการสะดวกถ้าใช้แนวคิ ดเกี ยวกับความหนาแน่ นของประจุ ในการ
คํานวณในแต่ละกรณี
- ถ้าประจุ Q มีการกระจายอย่างสมําเสมอตลอดปริ มาตร V
ความหนาแน่นประจุเชิงปริ มาตร ρ คือ ρ = Q มีหน่วยเป็ น C/m3
V
- ถ้าประจุ Q มีการกระจายอย่างสมําเสมอทัว พื3นผิว A
ความหนาแน่นประจุเชิงพื3นผิว σ คือ σ = Q มีหน่วย C/m2
A
- ถ้าประจุ Q มีการกระจายอย่างสมําเสมอตามเส้นตรงความยาว L
ความหนาแน่นประจุเชิงเส้น λ คือ λ = Q มีหน่วยเป็ น C/m
L
- ถ้าประจุมีการกระจายแบบไม่ต่อเนืองในปริ มาตร บนพื3นผิวหรื อบนเส้น
ความหนาแน่นของประจุคือ dQ dQ dQ
ρ= σ= λ=
dV dA dL
เมือ dQ คือปริ มาณของประจุในปริ มาตร พื3นผิวหรื อเส้นส่วนเล็ก ๆ 13

ตัวอย่าง The electric field due to a charged rod


แท่งความยาว L มีประจุบวกกระจายอย่าง
สมําเสมอต่อหนึงหน่วยความยาวเป็ น λ และมี
ประจุรวม Q จงคํานวณหาสนามไฟฟ้ าทีจุด P
ซึงมีตาํ แหน่งอยูบ่ นแกนของแท่งห่างจากปลาย
ด้านหนึงเป็ นระยะทาง a ดังรู ป
วิธีทาํ dq = λdx
L
a dq dx
dE = k E = kEλ 2
x2 x
L+a L+a
รู ปสนามไฟฟ้ าที จุด P ที เกิ ดจากประจุสมําเสมอบน dx  1
แท่งทีวางตัวอยูใ่ นแนวแกน x ขนาดของสนามที P
E = k Eλ ∫ x 2
= k E λ − 
 x a
a
เนื องจากส่ วนของประจุ dq คือ kQ/x2 สนามรวมที P 1 1 k EQ
คือผลรวมแบบเวกเตอร์ ตลอดแท่ง = k E λ( − )=
a L+a a (L + a )
เมือเราใช้ความจริ งทีวา่ Q = λL ถ้า P อยูห่ ่างจากแท่ง (a >> L) สามารถตัดทิ3งค่า L ทีเป็ น
ตัวหารได้ จะได้วา่ E ≈ kQ/a 2 นีคือสนามทีคาดว่าจะได้จากจุดประจุ
ถ้าค่า a / L มีขนาดมากการกระจายของประจุจะปรากฏในรู ปของจุดประจุขนาด Q 14

7
10/01/53

ตัวอย่าง The electric field of a uniform ring of charge


ห่วงมีรัศมี a มีประจุบวกทั3งหมด Q กระจายอยูอ่ ย่างสมําเสมอ จงคํานวณหา
สนามไฟฟ้ าทีเกิดจากห่ วงทีตาํ แหน่ง P ซึ งวางตัวอยูใ่ นแกน x ห่ างจากจุด
ศูนย์กลางห่วงไปตามแกนกลาทีต3 งั ฉากกับระนาบของห่วง
รู ป วงแหวนรั ศมี a มี ประจุ
ก ร ะ จ า ย อ ย่ า ง ส มํ า เ ส ม อ
(a) สนามที จุด P บนแกน x
เนื อ งจากส่ ว นของประจุ dq
(b) สนามไฟฟ้ ารวมที P อยูใ่ น
แนวแกน x
x
วิธีทาํ dE = k E
dq
r2
ถ้า r = (x2 +a2 )1/ 2 และ cos θ = จะได้วา่
r
dq x k x
dE x = dE cos θ = ( k E ) = 2 E 2 3 / 2 dq
r r (x + a )
2

k x k x k x
Ex = ∫ 2 E 2 3 / 2 dq = 2 E 2 3/ 2 ∫ dq = 2 E 2 3 / 2 Q
(x + a ) (x + a ) (x + a )
ผลแสดงให้เห็นว่าสนามไฟฟ้ าเป็ นศูนย์ที x = 0 15

ตัวอย่าง The electric field of a uniformly charged disk


จานกลมรัศมี R มีความหนาแน่นประจุเชิงพื3นผิวเป็ น σ จงคํานวณสนามไฟฟ้ าทีจุด P
ซึ ง วางตัว ตามแกนกลางซึ ง ตั3ง ฉากกับ จานกลมห่ า งจากจุ ด ศู น ย์ก ลางของจานกลมเป็ น
ระยะทาง x วิธีทาํ ใช้ผลค่า Ex ในตัวอย่างทีแล้ว
dq = 2 πσrdr (โดยแทน a ด้วย r )
kEx
dE = ( 2 πσ rdr )
( x + r 2 )3 / 2
2

ทําการอินทิเกรทจาก r = 0 ถึง r = R เพือหา สนามรวม


ทั3งหมดที P (x มีค่าคงที) จะได้วา่
R
รู ป จานกลมซึ งมี ป ระจุ ก ระจายอย่า ง
R
2rdr
E = k E xπ σ ∫ = k E xπ σ ∫ (x 2 + r 2 ) −3/2 dr 2
สมําเสมอรัศมี R สนามไฟฟ้ าทีจุด P 0
( x + r 2 )3 / 2
2
0

ซึ งอยูบ่ นแกนกลางมีทิศตามแกนกลาง  (x 2 + r 2 ) −1/ 2 


R
x x 
 
และตั3งฉากกับจานกลม = k E xπ σ   = 2 πk E σ  x − ( x 2 + R 2 )1 / 2 
 −1/ 2  0  

โดยสมมติให้ R >> x ดังนั3น ส่วนทีอยูใ่ นวงเล็บจะลดรู ปเป็ นหนึง Ε ≈ 2 π kE σ =


σ
2 ε0
1
เมือ ε0 = คือค่ายินยอมในสูญญากาศ (the permittivity of free space) 16
4πk E

8
10/01/53

เส้นสนามไฟฟ้ า (Electric Field Lines)


วิธีทีจะสะดวกในการดูรูปแบบของสนามไฟฟ้ า ทําได้โดยการลากเส้นซึ งมีทิศทางไปในแนวเดี ยวกันไป
ยังจุดใดๆ ซึ งเราเรี ยกว่า เวกเตอร์ สนามไฟฟ้า (the electric field vector) หรื อเรี ยกว่า เส้ นสนามไฟฟ้า
ซึ งเส้นสนามไฟฟ้ าจะสัมพันธ์กบั สนามไฟฟ้ าทีบริ เวณใดๆ ในลักษณะดังนี3
- เวกเตอร์สนามไฟฟ้ า E จะสัมผัสกับเส้นสนามไฟฟ้ า
- จํานวนของเส้นต่อหนึงหน่วยพื3นทีผ่านพื3นผิวทีต3 งั ฉากกับเส้นสนามไฟฟ้ า จะเป็ นสัดส่ วน
กับสนามไฟฟ้ าในบริ เวณนั3น นัน คือ E จะมีค่ามากเมือเส้นสนามอยูใ่ กล้ชิดกันมาก

รู ปเส้นสนามไฟฟ้ าสําหรับจุดประจุ
(a) สําหรับจุดประจุบวกเส้นสนามมีทิศทางพุง่ ออกตามแนวรัศมี
(b) สําหรับจุดประจุลบเส้นสนามมีทิศทางพุง่ เข้าตามแนวรัศมี
(c) ส่ วนทีเป็ นสี ดาํ คือชิ3นของเข็มเล็กๆ ทีลอยอยูใ่ นนํ3ามันเรี ยงตัวตามสนามไฟฟ้ าทีเกิดจาก
จุดประจุทีอยูต่ รงกลาง 17

การวาดเส้นสนามไฟฟ้ าสําหรับกรณี การกระจายประจุใด ๆ เป็ นดังนี3


• เส้นสนามไฟฟ้ าจะพุ่งออกจากประจุบวกและสิ3 นสุ ดทีประจุลบ
• จํานวนเส้นสนามไฟฟ้ าทีพงุ่ ออกจากประจุบวกเข้าหาประจุลบเป็ นสัดส่ วนตรงกับขนาดของประจุ
• เส้นสนามไฟฟ้ าจะไม่ตดั กัน

รู ป (a) เส้นสนามไฟฟ้ าของจุดประจุสองตัวทีมีขนาดเท่ากันแต่มีเครื องหมายตรงข้าม


(b) เส้นสี ดาํ คือชิ3นของเข็มเล็กๆ ทีลอยอยูใ่ นนํ3ามันและจัดเรี ยงตัวตามสนามไฟฟ้ าไดโพล
รู ปแสดงจุดประจุ 2 ตัว ซึ งมีขนาดเท่ากันแต่มีเครื องหมายตรงข้าม (an electric dipole)
เนื อ งจากประจุ มี ขนาดเท่ ากัน ดังนั3นจํา นวนเส้นสนามที พุ่งออกจากประจุ บวกจะมี
จํานวนเท่ากับเส้นสนามทีพ่งุ เข้าหาประจุลบ จุดทีอยูใ่ กล้กบั ประจุมากๆ จะเห็นว่าเส้น
สนามมีลกั ษณะคล้ายกับรัศมี 18

9
10/01/53

รู ปแสดงเส้นสนามไฟฟ้ าของประจุบวก 2 ตัว ทีมีขนาดใกล้กนั จํานวนเส้น


สนามทีพุง่ ออกจากประจุมีขนาดเท่ากัน ทีระยะไกลมากๆ สามารถประมาณ
ได้วา่ เส้นสนามมีค่าเท่ากับขนาดของเส้นสนามทีเกิดจากประจุ 2q

รู ป (a) เส้นสนามไฟฟ้ าเนืองจากจุดประจุบวก 2 ประจุ


(b) ชิ3นของเข็มเล็กๆ ลอยอยูใ่ นนํ3ามันเรี ยตัวตามสนามไฟฟ้ า
ทีเกิดจากจุดประจุบวก 2 ประจุ 19

เป็ นภาพร่ างเส้นสนามไฟฟ้ าทีเกิดจากประจุ +2q และ –q ในกรณี น3 ี


จํานวนของเส้ นสนามทีเกิ ดจากประจุ +2q จะมี ค่าเป็ นสองเท่าของ
ประจุทีจะต้องพุ่งเข้าหา –q ดังนั3น มีเส้นสนามเพียงครึ งเดียวทีพุ่งออก
จากประจุบวกเข้าหาประจุลบ 20

10
10/01/53

ตัวอย่าง An accelerating positive charge


จุดประจุบวกขนาด q มวล m ถูกปล่อยออกจากสถานะหยุดนิงในสนามไฟฟ้ าทีมีขนาด
สมําเสมอ E ทีมีทิศเดียวกับแกน x ดังแสดงในรู ป จงอธิบายการเคลือนทีของประจุ q
วิธีทาํ
ความเร่ งของประจุจะมีค่าคงทีเท่ากับ qE/m การเคลือนที
เป็ นแบบเส้นตรงตามแนวแกน x ดังนั3น เราสามารถ
ประยุกต์ใช้สมการกลศาสตร์ในหนึงมิติดงั นี3
ให้ xi = 0 และ vxi = 0 จะได้วา่
1 1 qE
xf = xi + vxi t + a x t 2 = axt 2 = t 2
2 2 2m
qE
vxf = vxi + axt = a x t = t
m
2qE
v2xf = v2xi + 2ax (xf − xi ) = 2a x x f = ( )x f
m
รู ปจุ ดประจุ บวก q อยู่ใน พลัง งานจลน์ ข องประจุ ภ ายหลัง ที ม ัน เคลื อ นที ไ ด้
สนามแม่เหล็กสมําเสมอ E มี ระยะทาง x = xf – xi คือ
ความเร่ ง คงที ใ นทิ ศ เดี ยวกับ 1 (qEt)2
สนามไฟฟ้ า Ek = mv2xf = qE xf = 21
2 2m

สนามไฟฟ้ าระหว่างแผนขนานทีมีประจุตรงข้ามกันถือว่ามีค่าสมําเสมอดังรู ป
สมมติวา่ อิเลกตรอนประจุ –e เคลือนทีในแนวราบเข้าไปในสนามด้วยความเร็ วเริ มต้น vi î
เพราะว่าสนามไฟฟ้ า E ในรู ปมีทิศตามแกนบวก y ความเร่ งของอิเลกตรอนมีทิศในแนวแกน
ลบ y นัน คือ av = − eE ĵ เพราะว่าความเร่ งมีค่าคงทีเราสามารถประยุกต์ใช้
m
สมการจลน์ศาสตร์ในสองมิติได้
เมือ vxi= vi และ vyi= 0
หลังจากอิเลกตรอนเข้าไปใสนามไฟฟ้ าเป็ นเวลา t
องค์ประกอบความเร็ วของอิเลกตรอนคือ
ตําแหน่งของอิเลกตรอน หลังเวลาผ่านไป t คือ
1 1 eE 2
x = vi t y= a yt2 = − t
2 2 m
รู ปอิเลกตรอนเคลือนทีในแนวราบเข้า แทนค่า t = x /vi จะพบว่า y เป็ นสัดส่ วนตรง
ไปในสนามไฟฟ้ าสมําเสมอที เกิ ดจาก กับ x2 ดังนั3นเส้นทางการเคลือนทีเป็ นแบบ
แผ่นขนานทีมีประจุ โดยอิเล็กตรอนถูก
เร่ งในทิ ศลง (ตรงข้ามกับทิศของ E) พาราโบลา หลังจากอิเลกตรอนหลุดออกจาก
ก า ร เ ค ลื อ น ที ข อ ง มั น เ ป็ น แ บ บ สนามมันจะเคลือนทีต่อไปแบบเส้นตรงในทิศ
parabolic ขณะทีมนั อยูร่ ะหว่างเพลท ของ v ดังรู ป 22

11
10/01/53

ตัวอย่าง An accelerated electron


อิเลกตรอนเคลือนทีเข้าไปในสนามไฟฟ้ าขนาดสมําเสมอ ดังรู ป ด้วยความเร็ ว v และ
E = 200 N/C ความยาวของเพลทในแนวระนาบ L = 0.1 m
(ก) จงหาความเร่ งของอิเลกตรอนขณะทีมนั อยูใ่ นสนามไฟฟ้ า
(ข) จงหาเวลาทีอิเลกตรอนใช้ในการเคลือนทีผา่ นสนามไฟฟ้ า
(ค) ระยะขจัดของอิเลกตรอนในแนวแกน y ขณะทีมนั อยูใ่ นสนามไฟฟ้ า
L
วิธีทาํ v
a=−
eE ˆ
j= −
(1.60 × 10 −19 )(200) ˆ
j
v y m 9.1 × 10 −31

x = −3.51× 1013 ˆj m/s 2


E
L 0.1m
t= = = 3.33 ×10 −8s
v 3 × 106
ผลทีได้จาก (ก) และ (ข) จะพบว่าถ้าการระยะทางระหว่างเพลทน้อยกว่าค่าทีได้อิเลกตรอน
จะชนกับเพลททีมีประจุบวก 1 2 1 −8 2
y= ayt = (−3.51× 10 )(3.33 × 10 ) = −0.02 m
13

2 2
ถ้าระยะห่างระหว่างเพลทน้อยกว่านี3 อิเลกตรอนจะชนกับเพลททีเป็ นบวก
แบบฝึ กหัด จงหาความเร็ วของอิเลกตรอนขณะทีมนั หลุดออกจากเพลท 23

สรุป 2. สนามไฟฟ้า where k E =


1
≈ 9x109 N ⋅ m2 / C2
4πε0
• เมือนําประจุทดสอบ q0 วางในสนามไฟฟ้ า ความเข้มสนามไฟฟ้ า E ณ จุดใดๆ
โดยมีประจุ q เป็ นแหล่งกําเนิด ซึงอยูห่ ่างจากจุดนั3นเป็ นระยะทาง r คือ :
v
v F q
E = = k E 2 r̂ …แหล่งกําเนิดเป็ นจุดประจุ q
q r
v
v qi F
• ความเข้มสนามไฟฟ้ าสําหรับแหล่งกําเนิดเป็ นกลุ่มประจุคือ : E = k E ∑ 2 r̂i
i ri q

• ความเข้มสนามไฟฟ้ าสําหรับแหล่งกําเนิดมีประจุกระจายอย่างเอกรู ปคือ :


v dq
E = k E ∫ 2 r̂
r
v
• เมือประจุไฟฟ้ า q มวล m วิง ในสนามไฟฟ้ า E อัตราเร่ งของประจุไฟฟ้ าคือ :
v
v qE
a=
m
24

12
10/01/53

สนามไฟฟ้ าเนืองจากจุดประจุ q q
E = kE
r2

สนามไฟฟ้ าตัวนําทรงกลมกลวงรัศมี a
E =0 (ภายในทรงกลม r < a)
q
E = kE
r
(ภายนอกทรงกลม r >= a)

เมือ r คือระยะวัดจากจุดศูนย์กลางทรงกลม

25

แบบฝึ กหัด

http://www.physics.sci.rit.ac.th/charud/oldnews/48/magnetic/OnlineTest_V4/index.asp

26

13
10/01/53

เอกสารประกอบการค้ นคว้ า
ภาควิชาฟิ สิ กส์. เอกสารประกอบการสอนฟิ สิ กส์เบื3องต้น, คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ภาควิชาฟิ สิ กส์. ฟิ สิ กส์2, คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
D.C. Giancoli. Physics Principles with Applications, 3rded., Prentic-Hall,
ISBN: 0-13-666769-4, 1991.
D. Halliday, R.Resnick and K.S. Krane. Volume Two extended Version Physics, 4th ed.,
John Wiley & Sons, 1992.
R.A.Serway, Physics for Scientists & Engineers with Modern Physics, 4th ed., 1996.
http://www.physics.sci.rit.ac.th/charud/howstuffwork/electro-mag/electro-magthai1.htm
http://www.skn.ac.th/skl/skn422/file/field.htm
http://www.physics.uoguelph.ca/tutorials/tutorials.html
http://www.thinkquest.org/library/site_sum.html?tname=10796&url=10796/index.html
http://www.launc.tased.edu.au/online/sciences/physics/tutes1.html
http://www.colorado.edu/physics/2000/index.pl
http://www.dctech.com/physics/tutorials.php
http://www.physics.sci.rit.ac.th
http://www.physics.sci.rit.ac.th/charud/oldnews/48/magnetic/OnlineTest_V4/index.asp 27

14

You might also like