You are on page 1of 76

ค่ าความจุไฟฟ้าในสายส่ ง

Line Capacitance

Piyadanai Pachanapan, 303327 Power System Engineering, EE&CPE, NU


ความจุไฟฟ้ า คือ ???
• เมื่อมีความต่างศักย์ระหว่างโลหะ 2 ชิ้น คัน่ ด้วยฉนวน ย่อมมีสนาม
ไฟฟ้ าเกิดขึ้น และ มีคุณสมบัติในการเก็บประจุ เรี ยกว่า “ความจุไฟฟ้ า”

q
C=
V

C คือ ความจุไฟฟ้ า
q คือ ประจุไฟฟ้ า
V คือ ความต่างศักย์
ความจุไฟฟ้ าในสายส่ ง
• ระบบสายส่ งไฟฟ้ ากำลัง กระแสในสายส่ งแต่ละเส้น จะแตกต่างกัน
• จะมีสนามไฟฟ้ าระหว่างสายไฟ ทำให้เกิดคุณสมบัติของความจุไฟฟ้ า

สนามไฟฟ้ า
(Electric Field)
http://server.physics.miami.edu/~zuo/class/spr_05/supplement/Figure21_26.jpg
ความจุไฟฟ้ าในสายส่ ง

• สนามไฟฟ้ าจะมีทิศทางพุง่ ออกจากประจุ + ไปที่ ประจุ - บนสายไฟ


• จำนวนเส้นสนามไฟฟ้ าที่พงุ่ จากสายไฟ = จำนวนคูลอมป์ ประจุบนตัวนำ
จำนวนประจุไฟฟ้า (คูลอมป์ )/ตร.ม. = ความหนาแน่ นของเส้ นสนามไฟฟ้ า /ตร.ม.
อิควิปโปเทนเชียล (Equipotential)
- จุดที่มีศกั ดาไฟฟ้ าเท่ากัน
- จุดที่ห่างจากศูนย์กลางของตัวนำเท่ากัน
- จุดที่มีความหนาแน่นของเส้นไฟฟ้ าเท่ากัน

 ความหนาแน่ นของเส้ นไฟฟ้า ที่ระยะ x ของตัวนำยาว 1 เมตร คือ

q q
D=
2p x.l
=
2p x.1
[coulomb / m2]

เมือ่ q คือ ประจุบนตัวนำ มีค่าเป็ น คูลอมป์ ต่อความยาวตัวนำ


ความเข้ มสนามไฟฟ้า (Electric Flux Intensive)
- ความหนาแน่นของเส้นไฟฟ้ า หารด้วย เพอร์มิตติวติ ี (Permitivity)
ของตัวกลาง
D q
E=
e
=
2p xe [ V/m ]

เมื่อ e = er e0

โดยที่ e0 - เป็ นค่าคงที่ = 8.85 x 10-12 F/m


er - กรณี อากาศแห้ง มีค่า 1.00054 » 1.0
• ระยะ D2 ห่างจุดศูนย์กลาง มากกว่า D1
• ศักดาไฟฟ้ าที่จุด P1 มากกว่า จุด P2
P1

P2
กรณีที่ ประจุบวก (+) เคลื่อนจาก P1  P2
ส่ งผลให้มีแรงดันตกจากจุด P1 ไป P2 เป็ น
D2 D2
q
V12 = ò Edx = ò
2p xe
dx
D1 D 1

q D2
= ln
2p xe D1 [V]
q D2 q
จาก V12 = ln
2p xe D1 และ C=
V

 ค่ าความจุไฟฟ้ าจากตัวนำ 1 เส้ น เท่ ากับ :

q 2pe
C12 = =
V12 D
ln 2
[ F/m ]
D1

แทน  0 = 8.85 x 10-12 และ r  1 จะได้

0.0278
C12 =
D2 [ F/m ]
ln
D1
ความจุไฟฟ้ าของสาย 1 เฟส (2 สาย)
qa qb
ra rb

• พิจารณาสายส่ ง 1 เฟส ยาว 1 เมตร


• ผลจากการมีประจุที่ตวั นำ b และพื้นดิน จะส่ งผลให้เกิดการรบกวนต่อ
สนามไฟฟ้ าของตัวนำ a
• ผลการรบกวนนี้จะต่ำ หากระยะ D มีค่าสูงกว่ารัศมีตวั นำมาก และระดับ
ความสู งของตัวนำจากพื้นดินมีค่ามากเมื่อเทียบกับ D
Equipotential Surface of a portion of
the electric field caused by a charged
conductor a (not shown). Conductor b
causes the equipotential surfaces to
become distorted.
สมมติ ประจุมีการกระจายตัวสม่ำเสมอตลอดตัวนำ  ทัว่ ทั้งผิว
ตัวนำเปรี ยบเสมือนมีศกั ย์ไฟฟ้ าเท่ากันตลอด (Equipotential Surface)
q D2
จาก V12 = ln
2p xe D1

• ความต่างศักย์ระหว่างตัวนำ a และ b (วางในอากาศ er = 1 )มีค่า


qa D
Vab( qa ) = ln
2pe0 ra

• หากตัวนำมีประจุ qb คูลอมป์ ความต่างศักย์ Vba เนื่องจาก qb มีค่า


qb D
Vba( qb ) = ln
2pe0 rb
เนื่องจาก Vab( qb ) = - Vba( qb )

qb rb
ดังนั้น Vab( qb ) = ln
2pe0 D

 จากหลักการซ้อนทับ (Superposition)

Vab = Vab ( qa ) + Vab ( qb ) qa D qb rb


= ln + ln
2pe0 ra 2pe0 D

• สำหรับสาย 1 เฟส กระแสในตัวนำมีทิศทางตรงข้ามกัน ส่ งผลให้


ประจุในตัวนำแต่ละเส้นมีเครื่ องหมายตรงข้ามกัน
สาย 1 เฟส qa = - qb = q จะได้

q æ D r
ççln - ln ÷
ö q D2
Vab = [V]
b
÷ = ln
ç
2pe0 è ra D÷ ø 2pe0 ra rb

ความจุของสายไฟ 1 เฟส 2 สาย จึงมีค่าดังนี้

q 2pe0
Cab =
Vab
=
D2 [F/m]
ln
ra rb
กรณี สายส่ งวางอยูใ่ นอากาศ e0 = 8.854´ 10- 12 F/m

2pe0 0.0556
Cab = = mF/km
ln ( D 2 ra rb ) ln ( D 2 ra rb )

ถ้า ra = rb
0.0556 0.0556
Cab = =
ln ( D 2 r 2 ) 2ln ( D r )

0.0278
= mF/km
ln ( D r )
ความจุไฟฟ้ าของสายเฟสกับจุดนิวทรัล
• ความจุไฟฟ้ าระหว่างตัวนำ (ระหว่างสาย)
Cab

a b

• ความจุไฟฟ้ าประจำเฟส (ระหว่างตัวนำ กับ จุดนิวทรัล)


Can Cbn
·

a n
b
พบว่า Van = Vbn = Vab / 2 จะได้

q q  q 
Can    2 
Van Vab V
 ab 
2

 2  Cab
• ความจุไฟฟ้ าระหว่างสายเฟสกับจุดนิวทรัล จะมีค่าเป็ น 2 เท่าของ
ความจุไฟฟ้ าระหว่างสองสาย (2 ตัวนำ)
2
จะได้ Cn  Can  Cbn 
ln  D r 

0.0556
 mF/km
ln  D r 

• ค่าความจุไฟฟ้ าที่ได้มาจากการสมมติวา่ ประจุกระจายตัวอย่าง


สม่ำเสมอบนสาย หากในความเป็ นจริ งประจุกระจายไม่สม่ำเสมอ
ค่าที่ได้กอ็ าจมีผดิ พลาดบ้าง (แต่ไม่มาก  ไม่จำเป็ นต้องคำนึงถึง)
การหาค่ าความจุไฟฟ้า โดยใช้ ตาราง
• การหาความจุไฟฟ้ า ไม่ตอ้ งใช้ GMR ใช้ค่ารัศมี (r) ได้โดยตรง หาได้จาก
Outside Diameters (จากตารางสายแต่ละชนิด)

• จากค่าความจุไฟฟ้ าระหว่างสายเฟสกับนิวทรัล  หาค่า Capacitive


Reactance ได้จาก
1 1
XC = =
2p fC æ 2pe0 ö
2p f çç ÷
÷
çèln ( D r ) ÷
ø

2.862 D
= ´ 109 ln [W.m to neutral]
f r
• แปลงค่าเป็ น Ohm - miles ได้โดยคูณ 1,609
1.779 9 D
XC = ´ 10 ln W.mile to neutral
f r

• สามารถเขียน XC ได้เป็ น
1.779 1 1.779
XC = ´ 109 ln + ´ 109 ln D
f r f
           
X a' X d'

โดยที่ X a' - Capacitive Reactance at 1-ft spacing (ตาราง A.1)


X d' - Capacitive Reactance Spacing Factor (ตาราง A.3)
ตัวอย่ างที่ 1
หาค่า Capacitive Susceptance ต่อ ไมล์ ของสาย 1 เฟส 60 Hz โดย
ตัวนำเป็ นชนิด Partridge โดยมีระยะห่างระหว่างจุดศูนย์กลางตัวนำ
20 ฟุต

• จากตาราง A.1 สายมี Outside Diameter เท่ากับ d = 0.642 นิ้ว


0.642
รัศมี (r) =
2´ 12
= 0.0268 ft.

• สายห่างกัน 20 ft  D = 20 ft
จะได้ XC เท่ากับ
1.779 9 D 1.779 9 20
XC = ´ 10 ln = ´ 10 ln
f r 60 0.0268

= 0.1961´ 106 W.mile to neutral

• หาค่า Capacitive Susceptance ได้จาก

1 1
BC = =
XC 0.1961´ 106

= 5.10´ 10- 6  / mile to neutral


สามารถหาค่า XC ได้จากตาราง A.1 และ A.3
A.1 X a' = 0.1074 MW.mi

A.3 X d' = 0.0889 MW.mi

จะได้ X C = 0.1074 + 0.0889

= 0.1963 MW.mi per Conductor

 ค่า X และ BC ระหว่างตัวนำ เท่ากับ


C
X C = 2´ 0.1963´ 106 = 0.3926´ 106 W.mi

1
BC = = 2.55´ 10- 6 /mi
XC
ความต่ างศักย์ ระหว่ างสายตัวนำหลายเส้ น
q2 q3

q1

qn

qi qj

• ประจุมีการกระจายตัวสม่ำเสมอบนตัวนำ และ สนามไฟฟ้ าสม่ำเสมอ

• ผลรวมของประจุมีค่าเป็ นศูนย์  q1  q2  ...  qn  0


สมมติ กรณี มีตวั นำ 3 เส้น ต้องการหา V12
q1 q2 q3
r1 r2 r3

D12 D23

D13

q1 D
พบว่า V12( q1) =
2pe0
ln 12
r1

q2 D21 q2 r2
V21( q2 ) = ln V12( q2 ) = ln
2pe0 r2 2pe0 D12
q1 q2 q3
r1 r2 r3

D12 D23

D13

q3 D31 q3 D23
และ V21( q3 ) = ln
2pe0 D32
V12( q3 ) = ln
2pe0 D13

เนื่องจาก D12 = D21 , D23 = D32 และ D13 = D31 จะได้


1 n Dkj
Vij  
2 0 k 1
qk ln
Dki

k  i  Dii คือ ระยะห่างระหว่างผิวตัวนำกับศูนย์กลางตัวนำ (รัศมีนนั่ เอง)


ความจุไฟฟ้ าของสายส่ ง 3 เฟส (กรณีจัดวางสมมาตร)
c

1 n Dkj
D D
จาก Vij  
2 0 k 1
qk ln
Dki

a b
D

1  D r D
Vab   qa ln  qb ln  qc ln 
จะได้ 2 0  r D D

1  D D r
Vac   qa ln  qb ln  qc ln 
2 0  r D D
สามารถหาผลรวมของ Vab และ Vac ได้เท่ากับ
1 æ D ö

Vab + Vac = çç2qa ln + ( qb + qc ) ln ÷
2pe0 è r D÷
ø

จาก qa + qb + qc = 0 qb + qc = - qa จะได้
1 æ D ö
r÷ 3qa D
Vab + Vac = ç
ç2qa ln - qa ln ÷ = ln
2pe0 è r ÷
Dø 2pe0 r
d

30°
Vac
Vab + Vac = 2 3 cos30°Van

a = 3Van

Vca Vab
Van 30°
n
Vcn Vbn
c Vbc b
3qa D
จะได้ความสัมพันธ์เป็ น Vab + Vac = ln = 3Van
2pe0 r

qa D
จะได้แรงดันเฟสเป็ น Van = ln
2pe0 r

สามารถหาค่าความจุของสายส่ งกับจุดนิวทรัล ได้เท่ากับ


qa 2pe0 0.0242
Cn = = = mF/km
Van ln ( D r ) log ( D r )

กระแสชาร์จ (เฟส a) เท่ากับ I a = jwCnVan


ความจุไฟฟ้ าของสายส่ ง 3 เฟส (จัดวางไม่ สมมาตร)

qa a c b

D12 b a c
qb
D13
c b a

D23
qc I II III

สมมุติเป็ นระบบสามเฟส แบบสมดุล

I a  Ib  Ic  0 qa  qb  qc  0
1 n Dkj
จาก Vij  
2 0 k 1
qk ln
Dki

ช่วงแรก I
qa 1  D12 D22 D32 
Vab ( I )   qa ln  qb ln  qc ln
D12 2 0  D11 D21 D31 
qb
D13
1  D12 r D23 
  qa ln  qb ln  qc ln
D23 2 0  r D12 D13 
qc
ช่วงที่ II
qc

D12
1  D23 r D31 
Vab ( II )   qa ln  qb ln  qc ln
D12 
D13 qa 2 0  r D23

D23
qb

ช่วงที่ III
qb

D12 1  D31 r D12 


Vab ( III )   qa ln  qb ln  qc ln
D13 qc 2 0  r D31 D23 

D23
qa
ค่าเฉลี่ยของแรงดันทั้ง 3 ช่วง คือ
1
Vab    Vab ( I )  Vab ( II )  Vab ( III ) 
3
1 1  D12 D23 D31 r3 D12 D23D31 
   qa ln  qb ln  qc ln
3 2 0  r 3
D12 D23 D31 D12 D23D31 

  D12 D23 D31  


1/ 3
1 1 r
   3  qa ln  3  qb ln 1/ 3 
3 2 0  r  D12 D23 D31  


1   D12 D23 D31 
1/ 3

 qb ln
r 
 qa ln 1/ 3 
2 0  r  D12 D23 D31  

ค่า GMD เท่ากับ 3 D12 D23 D31


 สามารถเขียน Vab ใหม่ ได้เป็ น

1  GMD r 
Vab   qa ln  qb ln 
2 0  r GMD 

ทำนองเดียวกัน จะได้
1  GMD r 
Vac   qa ln  qc ln 
2 0  r GMD 

1  GMD r 
Vbc   qb ln  qc ln 
2 0  r GMD 
ค่าความจุไฟฟ้ าต่อเฟสเทียบกับจุดนิวทรัล
• หาความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันเฟส กับ แรงดันระหว่างสายให้ได้
 ในระบบ 3 เฟสสมดุลพบว่า

Vab  Van  Vbn  Van 0  Van  120

Vac  Van  Vcn  Van 0  Van  120

ดังนั้น Vab  Vac   Van0  Van  120    Van0  Van  120 

 3Van
จะได้
 1  GMD r  
  qa ln  qb ln  
Vab  Vac 1  2 0 r GMD 
Van    
3 3  1  GMD r 

 2  a q ln  q c ln 
 0 r GMD 

จาก qa  qb  qc  0 qb  qc  qa

1 1  GMD r 
Van    2qa ln  qa ln 
3 2 0  r GMD 

1  GMD 
  qa ln 
2 0  r 
 ค่ าความจุไฟฟ้ าต่ อเฟสเทียบกับนิวทรัล คือ

qa 2 0
Can   F/m
Van GMD
ln
r

0.0556

GMD  μF/km 
ln
r

พบว่า สมการความจุไฟฟ้ าของระบบ 3 เฟส มีรูปแบบเช่นเดียวกับ


ระบบไฟฟ้ า 1 เฟส 2 สาย
กระแสชาร์ จประจุ (Charging Current)
วงจร 1 เฟส 2 สาย
• หาค่า charging current จากแรงดันระหว่างตัวนำ และ ซัสเซฟแตนซ์
ระหว่างตัวนำ
I chg = jwCabVab A/mi

วงจร 3 เฟส
• หาค่า charging current ในแต่ละเฟส ได้จาก
I chg = jwCnVan A/mi
ตัวอย่ างที่ 2
วงจรสายส่ ง 3 เฟส 60 Hz ดังรู ป ตัวนำที่ใช้คือ ACSR Drake จงหา
ค่า Capacitance และ Capacitive Reactance ต่อ ไมล์ ต่อ เฟส

มีการสลับสาย เพื่อให้ค่าความจุไฟฟ้ าแต่ละเฟสเท่ากัน

20' 20'

38'
 สายส่ ง 3 เฟสมีลก
ั ษณะไม่สมมาตร และมีการสลับสาย จะได้

GMD  3 D12 D23 D13

3
= 20´ 20´ 38 = 24.8 ft

หาเส้นผ่านศูนย์กลางของตัวนำ จากตาราง A.1  d = 1.108 in

1.108
จะได้ r=
2´ 12
= 0.0426 ft
หาค่าความจุไฟฟ้ าต่อเฟส ได้จาก
2 0 2p ´ 8.85´ 10- 12
Cn  =
GMD ln ( 24.8 0.0462)
ln
r

= 8.8466´ 10- 12 F/m

หาค่า Capacitive Reactance ต่อ 1 ไมล์ ได้เท่ากับ


1 1012
XC = =
2p fCn 2p ´ 60´ 8.8466´ 1609

= 0.1864´ 106 W.mile


สามารถหา XC ได้จากตาราง A.1 และ A.3

A.1 X a' = 0.0912 MW.mi

A.3 X d' = 0.0953 MW.mi

จะได้ X C' = ( 0.0912 + 0.0953)

= 0.1865 MW.mi to neutral


ตัวอย่ างที่ 3

จากตัวอย่างที่ 2 ถ้าสายส่ งยาว 175 miles และทำงานที่ระดับแรงดัน


220 kV

จงหา 1. Capacitive Reactance ทั้งความยาวสาย


2. Charging Current ต่อ 1 miles
3. Total Charging MegaVolt - Amperes
1. Capacitive Reactance ทั้งความยาวสาย (175 ไมล์)

0.1865´ 106
Capacitive Reactance = 175
= 1066 W to neutral

2. Charging Current ต่อ 1 miles

220,000
I chg = jwCnVan = 2p 60 ´ 8.8466´ 10- 12 ´ 1609
3

= 0.681 A/mi
3. Total Charging MegaVolt - Amperes

Q= 3´ VL ´ I L = 3´ ( 220 kV ) ´ ( 0.681´ 175 A)

= 45.3 Mvar
ความจุไฟฟ้ าของสายควบ
D31

D12 D23

a a’ b b’ c c’

d d d

A B C

1 n Dkj
จาก Vij  
2 0 k 1
qk ln
Dki จะได้

1  qa Dba qa Dba ' qb Dbb qb Dbb ' qc Dbc qc Dbc ' 


Vab  ln  ln  ln  ln  ln  ln
2 0  2 Daa 2 Daa ' 2 Dab 2 Dab ' 2 Dac 2 Dac ' 

• ปกติระยะห่างระหวางกึ่งกลางสายควบจะมากกว่าระยะห่างระหว่างสาย
ประจำสายควบแต่ละเส้นมาก  พิจารณาระยะห่างระหว่างเฟสจากระยะ
กึ่งกลางระหว่างสายควบ พบว่า
1  qa Dba qa Dba ' qb Dbb qb Dbb ' qc Dbc qc Dbc ' 
Vab  ln  ln  ln  ln  ln  ln
2 0  2 Daa 2 Daa ' 2 Dab 2 Dab ' 2 Dac 2 Dac ' 

1  qa  D12 D12  qb  r d  qc  D23 D23  


   ln  ln  ln  ln  ln  ln 
2 0  2  r d  2  D12 D12  2  D31 D31  

1  qa   D12   qb  rd  qc   D23   
2 2

   ln    ln 2 
  ln 
2 0  2  
rd  2   D12   2   D31  2  

1   D12   rd   D23  
  qa  ln   qb  ln   qc  ln 
2 0   rd   D12   D31  
• นำค่า Vab แต่ละช่วงมาหาค่าเฉลี่ย

ความจุไฟฟ้าของ • หาค่าเฉลี่ยของ Vac และ Vbc ได้


สายส่ ง 3 เฟส
• จากความสัมพันธ์ที่วา่ 3Van = Vab + Vac
• หา Van ได้  นำมาหาค่า Can=qa/Van

 ถ้าได้มีการสลับเฟสของสายไฟ (transposition) จะได้

2 0
Cn 
 GMD 
ln   F/m
 rd 

• สมการความจุของสายควบนี้ เหมือนกับสมการคำนวณของสายปกติใน
ระบบสามเฟส ต่างกันเพียงค่ารัศมีของสายไฟ (  rd )
r b
 เขียนสมการสำหรับความจุไฟฟ้ าระหว่างสายกับนิ วทรัล ได้ใหม่เป็ น

2 0
Cn 
GMD
ln  b  F/m
 r 

• โดยที่ rb จะมีความคล้ายคลึงกับค่า GMR (Ds)


• กำหนดให้ d คือระยะห่างระหว่างสายแต่ละเส้นของสายควบ จะได้

 rd
2
สายควบ 2 เส้น r   rd
b 4

สายควบ 3 เส้น  rd d  3 rd 2


3
r 
b 9

 rd  2
4
สายควบ 4 เส้น r 
b 16 3
 1.09 4 rd 3
ตัวอย่ างที่ 4
วงจรสายส่ ง 3 เฟส 60 Hz ดังรู ป ตัวนำที่ใช้คือ ACSR, 1,272,000
cmil Pheasant จงหาค่า Capacitive Reactance (Ohm/km)
เมื่อ d = 45 cm
d d d
a a' b b' c c'
8m 8m
• จากตาราง A.1 สายมีเส้นผ่านศูนย์กลาง = 1.382 นิ้ว
1.382´ 0.3048
สายมีรัศมี = 2´ 12
= 0.01755 m

 rd
2
สายควบ 2 เส้น rb  4
 rd

= 0.01755´ 0.45

= 0.0889 m

GMR
d d d
a a' b b' c c'
8m 8m

GMD  3 D12 D23 D13 = 3


8´ 8´ 16 = 10.08 m

• ความจุไฟฟ้ าระหว่างสายกับนิวทรัล

2 0 2p ´ 8.85´ 10- 12


Cn  = = 11.54´ 10- 12 F/m
ln  b 
GMD ln ( 10.08 0.0889)
 r 
 ค่า Capacitive Reactance

1 1012 ´ 10- 3
XC = =
2p fC 2p 60´ 11.754

= 0.2257´ 106 W.km / phase to neutral

æ 0.2257 ´ 10 6 ö
çç X C = 6 ÷
= 0.1403´ 10 W.mi / phase to neutral÷
çè 1.609 ÷
ø
ความจุไฟฟ้ าของวงจรขนาน 3 เฟส

a1 c2

b1 b2

c1 a2
• มีการสลับสายในแต่ละกลุ่มของตัวเองเทียบกับอีกวงจรหนึ่ง
• ไม่พิจารณาผลจากดิน
• การคำนวณค่าเฉลี่ย Vab, Vac และ Van สามารถกระทำได้เหมือนในหัวข้อ
“ความต่ างศักย์ ระหว่ างสายตัวนำหลายเส้ น”

ค่าความจุไฟฟ้ าสมมูลต่อเฟสเทียบกับนิวทรัล เป็ น


2 0
C
ln
GMD F/m
GMRc
0.0556
  F / km
GMD
ln
GMRc
• ค่า GMD มีค่าเท่ากับ 3 D12 D23 D31

• ค่า GMRC หาได้ลกั ษณะเดียวกับ GMRL เพียงแต่ใช้ r แทน b Dsb

จะได้ rA  r b Da1 a2 rB  r b Db1 b2 rC  r b Dc1 c2

เมื่อ rb คือ Geometric mean Radius ของสายควบ

• จะได้ค่า GMR สมมูลที่ใช้หาค่าความจุไฟฟ้ าต่อเฟสเทียบกับนิวทรัล


คือ
GMRC  3 rA rB rC
ตัวอย่ างที่ 5
ระบบไฟ 3 เฟส 60 Hz 2 วงจร ใช้สายตัวนำ 300,000 cmil 26/7
ACSC Ostrich มีลกั ษณะวงจรดังรู ป จงหาค่า Capacitive
Susceptance (Mho / mi / phase)

a 18' c'

10'
b 21' b'

10'
c 18' a'
• หา GMD ระหว่างเฟส
a 18' c'

10'
b 21' b'

10'
c 18' a'

ระยะจาก a – b ; = 102 + 1.52 = 10.1 ft

ระยะจาก a – b’ ; = 102 + 19.52 = 21.9 ft

ระยะจาก a – a’ ; = 202 + 182 = 26.9 ft


 หาค่า GMD ระหว่างกลุ่มเฟสได้เป็ น

DAB  22 Dab Dab ' Da 'b Da 'b = 4


( 10.1´ 21.9)
2
= 14.88 ft

DBC  4 Dbc Dbc ' Db 'c Db 'c ' = DAB = 14.88 ft

2
DAC  Dac Dac ' Da ' c Da ' c '
4 = 4
( 20´ 18) = 18.97 ft

ค่า GMD เสมือน (Equivalent GMD) ของแต่ละเฟส เป็ น

GMDL GMD = 3 DAB DBC DAC = 3 14.88´ 14.88´ 18.97

= 16.1 ft
• จากตาราง A.1 สายมีเส้นผ่านศูนย์กลาง = 0.680 นิ้ว
0.680
สายมีรัศมี = 2´ 12
= 0.0283 ft

• กรณี ไม่ใช่สายควบ จะได้


rA  r  Daa ' rB  r  Dbb ' rC  r  Dcc '

•ค่า GMR สมมูลที่ใช้หาค่าความจุไฟฟ้ าต่อเฟสเทียบกับนิวทรัล คือ


1
GMRC  3 rA rB rC = ( 26.9´ 0.0283 21´ 0.0283 26.9´ 0.0283) 3

= 0.837 ft
• ค่าความจุไฟฟ้ าสมมูลต่อเฟสเทียบกับนิวทรัล เป็ น

2 0 2p ´ 8.85´ 10- 12


Cn  = = 18.807´ 10- 12 F/m
GMD ln ( 16.1/ 0.837)
ln
GMRc

• ค่า Capacitive Susceptance


BC = 2p fCn = 2p ´ 60´ 18.807´ 1609

= 11.41´ 10- 6 /mi per phase to neutral


ผลของดินต่ อความจุไฟฟ้ าของสาย 3 เฟส
• สามารถพิจารณาพื้นดินเป็ นตัวนำที่ดี และ มีลกั ษณะเป็ นแผ่นกว้าง
ใหญ่ไพศาล
• สนามไฟฟ้ าของสายไฟที่มีประจุเหนือพื้นจะมีค่าต่างจากตอนไม่คิด
แผ่นตัวนำของพื้นโลก
• หาความจุไฟฟ้ าของสายโดยใช้วธิ ี ตัวนำเงา (Image Conductor) ซึ่ง
พิจารณาเสมือนว่าพื้นดินเป็ น equipotential surface และมีสายไฟ
เสมือนอยูภ่ ายใต้พ้ืนดินลึกเป็ นระยะห่างเท่ากับระยะห่างของสายไฟที่
อยูเ่ หนือพื้นดิน
Mirror image of the overhead conductor
+q

h
Zero Potential
Plane (ground)

-q
ผลของพืน้ ดินต่ อประจุไฟฟ้าของสายตัวนำ 1 เฟส 2 สาย
Radius r
+q -q
D Real Charge
a b

ground

 2h 
2
 D2

b’
a’
Image Charge
+q -q
แรงดัน Vab เกิดจากประจุ a , b และ a’ , b’
Radius r
+q -q
D Real Charge
a b

ground

 2h 
2
 D2

b’
a’
Image Charge
+q -q

æ 1 ö
1 ççç D r ( 4h + D )
2 2 2
2h ÷
÷
Vab = q ln + q ln + q 'ln + q 'ln ÷

2pe0 ççç ÷
a b a b
r D 2h 2 2÷
çè ( 4h + D ) ø÷
2
จาก qa = - qb = q และ qa ' = - qb ' = q จะได้
q 2hD
Vab = ln
pe0 r ( 4h 2 + D 2 ) 1 2

ค่าความจุระหว่างสาย เท่ากับ
pe0
Cab =
ln
D
12
F/m line to line
r ( 1 + ( D 2 4h 2 ) )

ค่าความจุระหว่างสาย กับ จุดนิวทรัล เท่ากับ


2pe0
Can =
ln
D F/m to neutral
12
r ( 1 + ( D 4h
2 2
))
ผลของพืน้ ดินต่ อประจุไฟฟ้ าของสายตัวนำ 3 เฟส
qb 2

D12
D23
1 D31
qa qc
3
H23
H12 H2
H13
H1 H3

H13
H12
H23
3

- qc
1
- qa

- qb 2
• สมมติสายมีการสลับที่ และมีประจุดงั ที่แสดงไว้

ช่วงแรกของการสลับสาย

- สายไฟ a, b, c อยูท่ ี่ตำแหน่ง 1, 2 และ 3


1  D12 r D23 H12 H2 H 23 
Vab  q ln  q ln  q ln  q ln  q ln  q ln
2  H 31 
a b c a b c
r D12 D31 H1 H12

1   D12 H12   r H2   D23 H 23  


 q
 a ln  ln  q ln  ln  q
 c D ln  ln 
2   H1 
b
r  D 12 H 12   31 H 31  
qb 2

ช่วงที่ 2ของการสลับสาย D12


D23
1 D31
qa qc
3
H23
H12 H2
H13
H1 H3

H13
H12
H23
3

- qc
1
- qa

- qb 2

1   D23 H 23   r H3   D31 H 31  
Vab  q
 a ln  ln  qb ln  ln  q
 c D ln  ln 
2   r H 2   D 23 H 23   12 H12  
qb 2

ช่วงที่ 3ของการสลับสาย D12


D23
1 D31
qa qc
3
H23
H12 H2
H13
H1 H3

H13
H12
H23
3

- qc
1
- qa

- qb 2

1   D31 H13   r H1   D12 H12  


Vab  q
 a ln  ln  q ln  ln  q ln  ln 
2   H 3 
b  c D
r  D 31 H 13   23 H 31  
• นำค่า Vab แต่ละช่วงมาหาค่าเฉลี่ย

ความจุไฟฟ้าของ • หาค่าเฉลี่ยของ Vac และ Vbc ได้


สายส่ ง 3 เฟส
• จากความสัมพันธ์ที่วา่ 3Van = Vab + Vac
• หา Van ได้  นำมาหาค่า Can=qa/Van

2
จะได้ Cn 
ln 

GMD 
r 
  ln  3 H12 H 23 H 31 H1 H 2 H 3 
• ผลของดินจะทำให้ความจุไฟฟ้ าของสายส่ งมากขึ้น
• ถ้าสายส่ งอยูส่ ูงมากๆ  พจน์หลังของส่ วนสามารถตัดทิ้งได้
สรุป ความจุไฟฟ้ าในสายส่ ง
1. ค่าความจุไฟฟ้ าที่เกิดขึ้นในตัวนำ มีค่าขึ้นกับ ความยาวตัวนำ
2. ตัวนำเส้นเดียว จะมีความจุไฟฟ้ าเฉพาะภายนอกตัวนำ
(Conductor)
3. ตัวนำเส้นเดียว จะมีความจุไฟฟ้ าระหว่างตัวนำกับพื้นดิน
สายส่ ง

พื้น
ความนำไฟฟ้ าในสายส่ ง
• เกิดจากกระแสรั่วไหล (Leakage Current) ที่ลูกถ้วยของสายส่ งบน
อากาศ (Overhead Line)
• เกิดจากกระแสรั่วไหล (Leakage Current) ที่ฉนวนของเคเบิ้ลใต้ดิน
• กระแสรั่วไหลมีค่าน้อยมาก  ค่าความนำของสายส่ งจึงเป็ น ศูนย์ 0

You might also like