You are on page 1of 11

215-241 กลศาสตรของไหล 1

บทที่ 4
สมการเบอรนูลีและสมการพลังงาน

4.1 สมการเบอรนูลี (Bernoulli Equation)


ในศตวรรษที่ 18 Daniel Bernoulli ไดเสนอสมการที่แสดงความสัมพันธระหวาง Pressure ,
velocity และระยะทางที่วัดตามแนวดิ่ง ซึ่งตอมาเรียกสมการนี้วา Bernoulli Equation ในกรณี
สมการ Bernoulli จะมีสมมติฐานวา properties ตางๆ อันไดแก ρ , V , P และ A มีคาแปรตาม
ระยะทางที่วัดตามแนวการไหล (Stream Line)

จากภาพเขียนสมการ Conservation of linear momentum ตามแนว stream line ได


d 
∑F s =  ∫∫∫Vs dm  + ∫∫ Vs dm •

∂t  c.v. 
 c.s.
โดย ∑ F = ผลรวมของแรงที่กระทําตอ Fluid element ตามแนว Stream line
s

Vs = ความเร็วทีม่ ีทิศทางตามแนว Stream line


dm = มวลที่อยูใน System
dm • = อัตราที่มวลไหลผาน C.V

พิจารณา ∑ Fs จะพบวาแรงที่กระทําตอ Fluid element ประกอบดวยแรง 2 สวน คือ


(1) Component ของน้ําหนักของ Fluid element ตามแนว Stream line ซึ่งจากรูปมีคาเทากับ
= − dwSinθ ≅ − ρgAds sin θ = − ρgAdz
(2) แรงเนื่องจาก Pressure
= PA − (P + dP )(A + dA )
= PA − (PA + AdP + PdA + dPdA)

อาจารยผูสอน: ดร.จันทกานต ทวีกุล บทที่ 4: หนา 4-1


215-241 กลศาสตรของไหล 1

สมมุติ dA มีนอยมาก
∴ แรงเนื่องจาก Pressure = -AdP
∴ ∑F s = − pgAdz − AdP
d   d d
พิจารณา เทอม  ∫∫∫Vs dm  ≅ (Vs ⋅ ρAds ) ≅ (ρV )Ads
dt  c.v.  dt
 dt
พิจารณา เทอม ∫∫ V dm ≅ (V + dv )(m ) ( )
• •
s + dm • − Vm •
c.s .

≅ m • dv + Vdm •

แทนคาตาง ๆ ลงในสมการ ไดวา


d
− ρgAdz − AdP = (ρv )Ads + m • dV + Vdm•
dt

d
พิจารณาเทอม (ρv ) ไดวา
dt
d
(ρv ) = ρ dv + v dρ
dt dt dt

dP
พิจารณา โดยใชสมการ Continuity จะไดวา
dt
dp dm •
=−
∂t Ads
[อัตราการเปลี่ยนแปลงความหนาแนน = อัตราที่มวลตกคางใน C.V. หารดวยปริมาตร]
dp
แทนคา จะได
dt

d
(ρv ) = ρ dV − V dm
dt ∂t Ads

จะไดวา
dV
− AdP − ρgAdz = ρAds + pAVdV
dt
dv dP
ds + + vdv + gdz = 0
dt ρ

อาจารยผูสอน: ดร.จันทกานต ทวีกุล บทที่ 4: หนา 4-2


215-241 กลศาสตรของไหล 1

เมื่อ Integrate ระหวางจุดเปรียบเทียบใด ๆ ตามแนว Stream line ไดวา

2 2
dv
(
dP 1 2
)
∫1 dt ds + ∫1 ρ + 2 V2 + V1 + g (Z 2 − Z1 ) = 0
2

สมการนี้เรียกวา Bernoulli equation for unsteady friction flow ตามแนว stream line

dv
สําหรับในกรณี Steady และ Incompressible flow : =o และ ρ มีคาคงที่ ดังนัน้ จะไดวา
dt

P1 V12  P V2 
+ + Z1 =  2 + 2 + Z 2  = const
ρg 2 g  ρg 2 g 

สมการนี้เรียกวา Bernoulli equation for steady frictionless incompressible flow ตามแนว stream line

ในกรณีมี shaft work และมี friction จะไดสมการดังนี้


P1 V12  P V2 
+ + Z1 =  2 + 2 + Z 2  + hs + h f
ρg 2 g  ρg 2 g 

โดย hs = energy per Unit weight มีหนวยเปน fit หรือ m (ในกรณีเปนกังหันน้ํา จะมีคาเปนบวก
และ pump มีคาเปนลบ
hf = friction head loss มีหนวยเชนเดียวกับ hs

4.2 Hydraulic and Energy Grade Line


ในการแสดงผลของ Bernoulli Equation นิยมเขียนเปนเสน Grade Line ของ flow
เสน Grade Line มี 2 ชนิด
1) Energy Grade Line(EGL)
- เปนเสนแสดงคาของ Total Bernoulli Constant , ho
P V2
ho = + +Z
ρg 2 g
ในกรณีไมมีแรงเสียดทาน (friction flow) เสน EGL จะอยูในแนวราบคือ ho มีคาคงที่
2) Hydraulic Grade Line(HGL)
- เปนเสนแสดงคา Static Pressure Head (คา P/ρg) ตามตําแหนงตางๆ ในแนวการไหล
ดังรูป

อาจารยผูสอน: ดร.จันทกานต ทวีกุล บทที่ 4: หนา 4-3


215-241 กลศาสตรของไหล 1

ตัวอยาง Find the relation between nozzle discharge velocity V2 and tank free surface height h as
in the figure . Assume steady frictionless flow.

วิธีทํา
เลือก Free Surface ที่ถังเปนจุดเปรียบเทียบที่ 1 และที่ทางออกหัวฉีดเปนจุดที่ 2
เนื่องจากของเหลวถูกฉีดสูบรรยากาศ
∴P 1 = P2 = Patm
ให A1 = tank area, A2 = nozzle area

อาจารยผูสอน: ดร.จันทกานต ทวีกุล บทที่ 4: หนา 4-4


215-241 กลศาสตรของไหล 1

จาก Conservation of Mass (Q1 = Q2)


A1v1 = A2v2
จาก Bernoulli Equation
P1 V12  P V2 
+ + Z 1 =  2 + 2 + Z 2 
ρg 2 g  ρg 2 g 
∴ ได V22 – V12 = 2g(z1 – z2)
= 2gh
 A22V22 
V  2 

2
2
= 2gh
 A1 
V2 = 2 gh

________________________________

ตัวอยาง A 10 cm. fire hose with a 3-cm nozzle discharge 1.5 m3/min to the atmosphere. Assuming
frictionless flow , find the force FB exerted by the flange bolts to had the nozzle on the hose.

วิธีทํา เขียน C.V. ไดดังนี้

อาจารยผูสอน: ดร.จันทกานต ทวีกุล บทที่ 4: หนา 4-5


215-241 กลศาสตรของไหล 1

ใชสมการ Bernoulli หาคา P1 ไดดังนี้


P1 V12  P2 V22 
+ + Z 1 =  + + Z 2 
ρg 2 g  ρg 2 g 

ρ
∴ P1 = P2 +
2
(V 2
2
− V12 )

แต P2 = Patm = 0 gage


ρ
∴ P1 =
2
(V 2
2
− V12 )

หาคา V1 และ V2 จาก flowrate ที่โจทยกําหนด → Q = 1 . 5m 3 / min


Q 1 . 5 / 60
จาก V1 = =
π
= 3 . 2m / s
A1
(0 . 10 )2

4
Q 1 . 5 / 60
V2 = = = 35 . 4 m / s
A2 π
(0 . 03 )2

4
∴ P1 =
1000
2
( )
35 . 4 2 − 3 . 2 2 = 620 , 000 Pa.gage

จากสมการ conservation of linear momentum จะไดวา


∑ Fx = m • (V 2 −V1 )

พิจารณาจากรูป ;
∑F x = −FB + P1 A1
∴ −FB + P1 A1 = m • (V 2 − V1 )
FB = P1 A1 − m • (V 2 − V1 )

1.5
หาคา m• จาก m • = ρQ = 1000 × = 25kg / s
60
π π
หาคา A1 จาก A1 = (D1 )2 = (0 . 1 )2 = 0 . 00785 m 2
4 4
∴ FB = 620 , 000 × 0 . 00785 − 25 (35 . 4 − 3 . 2 )N
= 4067 N

________________________________

อาจารยผูสอน: ดร.จันทกานต ทวีกุล บทที่ 4: หนา 4-6


215-241 กลศาสตรของไหล 1

4.3 The Energy Equation


ในกรณี Energy : B = energy แทนดวย E
dB
= energy per unit mass แทนดวย e
dm

เมื่อแทนลงในสมการ Reynold Transport ไดวา


dE d  
=  ∫∫∫ epd∀ + ∫∫ ep(v.n )dA
dt dt  c.v.  c.s .

จาก Conservation of energy ไดวา


E = Q −W

เมื่อ Q คือ ความรอน (heat)


• +Q คือ ความรอนที่ใสเขาไปในระบบ
• -Q คือ ความรอนระบบถายเทออกสูสิ่งแวดลอม
W คือ งาน (Work)
• +W คือ งานที่ระบบใหออกมา
• -W คือ งานที่ใสใหระบบ
จะไดวา
dE dQ dW
= −
dt dt dt
หรือ E = Q −W •
• •

energy per unit mass , e ประกอบดวย


1. internal energy ; u .
2. kinetic energy ; 1 V 2
2
3. potential energy ; gZ
1
∴ e = u + V 2 + gz
2

จากงาน W ประกอบดวย
1. งานที่ไดจากการหมุนของเพลา ; Ws
2. งานเนื่องจากความดัน ; Wp

อาจารยผูสอน: ดร.จันทกานต ทวีกุล บทที่ 4: หนา 4-7


215-241 กลศาสตรของไหล 1

3. งานเนื่องจากแรงเสียดทาน ; Wf
∴ W = W s +W p + w f
หรือ W • = W •s + W • p + W • f

แต ∫∫ P (V .n )dA

W p =
c .s .

∫∫ p (v .n )dA + W
• • •
∴ W =W s + f
c .s .

ไดวา
d   1 2  
 ∫∫∫  u + V + gZ  pd∀

Q• − W •s − W f =
dt  c.v.  2  
 1 P
+ ∫∫  u + V 2 + gZ +  ρ (v.n )dA
c. s . 
2 ρ
สมการที่ไดนี้เรียกวา energy equation

Steady One – Dimensional Flow Energy Equation


ในกรณี Steady flow.
d   1 2  
 ∫∫∫  u + V + gZ ρd∀ = 0
dt  c.v.  2  

สมการขางลางนี้เรียกวา “Steady One – dimensional flow energy equation” ถาพิจารณาในเทอมของ


Head จะไดวา ;

P1 u1 V12 P u V2 
+ + + z1 =  2 + 2 + 2 + z 2  − hq + hs + h f
ρg g 2 g  ρg g 2 g 

อาจารยผูสอน: ดร.จันทกานต ทวีกุล บทที่ 4: หนา 4-8


215-241 กลศาสตรของไหล 1

ตัวอยาง โรงไฟฟาพลังน้ําดังแสดงในรูป ขับเคลื่อนดวยน้ําในอัตรา 30 m3/s ผาน Turbine และน้ําไหล


ออกจาก Turbine ดวยความเร็ว v2 = 2 m/s สูความดันบรรยากาศ Head Loss ขณะที่น้ําไหลผาน
Turbine และระบบทอมีคา hf = 20 m จงคํานวณหาคา Power ที่ไดจาก Turbine

วิธีทํา 1) ไมมีการถายเทความรอนในระบบ
hq = 0
v1 = 0 (เพราะเปนความเร็วที่ free surface)
P1 = P2 = Patm
2) ไมมีการเปลี่ยนแปลง Internal Energy
u1 = u2

จากสมการ Steady One-Dimension Flow Energy Equation


P1 u1 V12 P u V2 
+ + + z1 =  2 + 2 + 2 + z 2  − hq + hs + h f
ρg g 2 g  ρg g 2 g 
แทนคาตาง ๆ ลงในสมการไดวา ;
hf = 20 m
22
∴ hs = 100 − − 20 = 79.8 m
(2 x9.81)
จาก Power = ρgQhs
= (1,000 kg/m3)(9.81 m/s2)(30 m3/s)(79.8 m)
= 23.5 x 106 J/s = 23.5 MW
__________________________

อาจารยผูสอน: ดร.จันทกานต ทวีกุล บทที่ 4: หนา 4-9


215-241 กลศาสตรของไหล 1

ตัวอยาง Pump ที่แสดงในรูปจายน้ําในอัตรา 3 ft3/s เขาสู Turbine ซึ่งติดตั้งสูงจากระดับน้ําในแหลงน้ํา


20 ft การสูญเสียระหวางหนาตัด (1) และ (2) แสดงเปนสมการ hf = kv22/2g เมื่อ k คือ loss
coefficient และมีคาเทากับ 7.5 จงคํานวณหา Power ที่ใชในการขับ Pump

วิธีทํา
V2 = Q/A2
กรณีนี้ไมมกี ารถายเทความรอนและไมมกี ารเปลี่ยนแปลง Internal Energy
1) ไมมีการถายเทความรอนในระบบ
hq = 0
v1 = 0 (เพราะเปนความเร็วที่ free surface)
2) ไมมีการเปลี่ยนแปลง Internal Energy
u1 = u2

จากสมการ Steady One-Dimension Flow Energy Equation


P1 u1 V12  P2 u 2 V22 
+ + + z1 =  + + + z 2  − hq + hs + h f
ρg g 2 g  ρg g 2 g 
hs = -536 ft
Power = ρgQhs
= (1.94 slug/ft3)(32.2 ft/s2)(3 ft3/s)(-536 ft)
= -100,473 ft-lbf / s
จาก 1 hp = 550 ft-lbf / s

อาจารยผูสอน: ดร.จันทกานต ทวีกุล บทที่ 4: หนา 4-10


215-241 กลศาสตรของไหล 1

ดังนั้นกําลังที่ตองให Pump
∴ Power = 100,473/550 hp
= 183 hp

__________________________

อาจารยผูสอน: ดร.จันทกานต ทวีกุล บทที่ 4: หนา 4-11

You might also like