You are on page 1of 53

การไหลในทางน้าเปิด

(Open Channel flow)

Key concepts:
Water level, Discharge,
Normal depth, Critical depth and
Water surface profile
Outline
- ความหมายของการไหลในทางน้าเปิด
- การจาแนกประเภทการไหลในทางน้าเปิด
- การประเมินอัตราการไหลในลานา้
- สมการโมเมนตัม
- วิธี Slope-Area
- พลังงานจาเพาะ
- Gradually Varied flow
- โค้งผิวน้า
- การคานวณรูปร่างผิวน้าด้วยวิธี Direct step
การไหลในทางน้าเปิดคืออะไร ??
การไหลแบบรางเปิ ด หรือ ทางน้ า เปิ ด หมายถึง การไหลซึ่ง ผิว บน
ของเหลวสัมผัสกับความดันบรรยากาศ ผิวด้านบนที่สมั ผัสกับความดัน
บรรยากาศมีความดันเท่ากับความดันบรรยากาศ บางครัง้ เรียกว่าผิวอิสระ
(Free flow) ถ้าการไหลในท่อไม่เต็มท่อหรือเต็มท่อพอดีโดยไม่เกิดความ
ดันสูงกว่าความดันบรรยากาศ ก็ยงั นับว่าเป็ นการไหลในทางน้ าเปิ ด
ข้อ แตกต่ า งระหว่ า งการไหลแบบรางเปิ ด กับ การไหลแบบท่ อ ปิ ด
(Close conduit flow) คือ การไหลแบบท่อปิ ดนัน้ ของเหลวจะไหลเต็มท่อ
พืน้ ทีห่ น้าตัดของการไหลจึงถูกบังคับไว้ให้มขี นาดเท่ากับ พืน้ ทีห่ น้าตัดของ
ท่อเสมอ ในขณะทีก่ ารไหลแบบรางเปิ ดมีผวิ ด้านบนเป็ นอิสระ ซึ่ง ระดับผิว
หรือ ความลึก ของการไหลจะแปรเปลี่ย นไปได้ตามเงื่อ นไขต่า งๆที่เ ป็ น
เงือ่ นไขควบคุมในขณะนัน้
โดยทัวไปการไหลในทางน
่ ้ าเปิ ดเกิดขึน้ ได้โดยมีแรงโน้มถ่ วงเป็ นแรง
ขับเคลื่อนที่สาคัญ การไหลจึงมีทศิ ทางจากที่สูงไปต่ า หรื อไหลตามศักย์
การไหลซึง่ มักจะเป็ นไปตามความลาดเทของพืน้ ราง ส่วนการไหลในท่อปิ ด
ของเหลวถู ก ดัน ให้ไ หลได้โ ดยความแตกต่ า งของความดัน ชลศาสตร์
(Hydraulic pressure) ดังนัน้ ของเหลวจึงไหลจากทีต่ ่าขึน้ สูท่ ส่ี งู ได้
การจาแนกประเภทการไหล
(Classification of flows)

Steady state = การไหลแบบคงที่  t = 0


Unsteady state = การไหลแบบไม่คงที่  t  0
Uniform flow = การไหลแบบคงตัว  x = 0
Varied flow (nonuniform) = การไหลแบบไม่คงตัว  x  0
Rapidly = เปลีย่ นแปลงรวดเร็ว
Gradually = ค่อยๆเปลีย่ นแปลง
ตัวอย่างรูปแบบสภาพการไหล
ผิวน้ามีการเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว
ผิวน้ามีการเปลีย่ นแปลงอย่างช้าๆ
ผิวน้าไม่มกี ารเปลีย่ นแปลง
ตลอดระยะทางการไหล
Uniform flow VS Nonuniform flow
1
1
2
2
hL
v12
2
hL
จากสมการพลังงานสาหรับการไหลในทางนา้ เปิ ด
2v1g
2g v22 p1 v12 p2 v22
+ +z = + +z +h
y1
2v2g2  2g 1  2g 2 L
2g
y1
y2 หากเป็ นการไหลแบบ Uniform flow
y2 - ระดับพลังงานการไหล ณ ทุกหน้าตัดมีคา่ เท่ากัน
z1 - ระดับน้ า ณ ทุกหน้าตัดมีระดับเท่ากัน
z1 z2
Uniform flow - อัตราการไหลมีคา่ เท่ากันตลอดลาน้ า
z2
- ความลาดชันท้องคลองเท่ากันตลอด
L
1 2
H1 − H 2 ( y + z )1 − ( y + z )2 z1 − z2
1 2 = =
v12 hL L L L
22g
v1 hL
2g v22 Friction Water surface Bed slope
F1 y1 2 g2
Fg v2 slope (Sf) slope (Sw) (S0)
F1 y1  AL 2g
Fg Ff y2 F2
 AL Ff หากเป็ นการไหลแบบ Nonuniform flow
z1 y2 F2
H1 − H 2 ( y + z )1 − ( y + z )2 z1 − z2
Nonuniform flow z2
z1 L  
L
z2 L L L
Momentum (uniform flow)
หากพิจารณา แรงเสียดทานทีก่ ระทาต่อระบบ Ff = − 0 PL

หากพิจารณา เนื่องจากแรงโน้มถ่วงของโลก Fg =  AL sin 

ดังนัน้ จะเขียนสมการแรงรวมได้เป็ น F1 + Fg + Ff − F2 = 0

ถ้าพิจารณาระบบแบบ Hydrostatics จะพบว่า การทีร่ ะบบอยูไ่ ด้อย่างสมดุล แรงดันน้ าทัง้ สองฝั ง่ จะต้องมีขนาดเท่ากัน ดังนัน้ F1 − F2 = 0
สมการทีพ่ จิ ารณาจะเหลือเพียง  AL sin  −  0 PL = 0
ในกรณีท่ีค่าความลาดชันท้องนา้ มีค่าน้อยมากจะพบว่า tan    และสมการทีไ่ ด้เปน

 ALS0  ALS f
0 = = =  RS f =  RS0
PL PL
สาหรับการไหลแบบปั่ นป่ วน สมการของแรงเฉือนจะเปนฟั งก์ชนั ของ ความหนาแน่น ความเรวการไหล และค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานดัง
สมการ  v2 
0 = Cf   
 2
ดังนัน้
 v2  2g
C f    =  RS0 >>> v =
2 C
RS0 = C RS0 Chezy’s equation
  f

เมื่อ C , C f คือสัมประสิทธิ ์ของเชซี่ (Chezy coefficient) และสัมประสิทธิแรงเสี


์ ยดทาน ตามลาดับ
1
ต่อมา Robert Manning (1891,1895) ได้เสนอความสัมพันธ์ทไ่ี ด้จากการทดลอง C = R1 6
n
1 23 12
จึงได้เป็ นสมการทีเ่ รียกว่า Manning’s Equation v = R S0 สาหรับระบบ SI และ v = 1.49 R 2 3 S01 2 ในระบบอังกฤษ
n n
ตัวอย่างค่า Manning roughness coefficient ตามลักษณะทายกายภาพของลาน้ า และวัสดุทอ้ งน้ า
ตัวอย่าง An 8-ft wide rectangular channel with a bed slope of 0.0004 ft/ft has a
depth of flow of 2 ft. Assuming steady uniform flow, determine the discharge in
the channel. The Manning roughness coefficient is n=0.015
วิธีทา
2 1
1.49
Q= AR 3 S 2
n
2

1.49  8 2  3 1
Q= (8)( 2 )   0.0004 2
0.015  8 + ( 2  2) 

Q = 38.5 cfs Ans


ตัวอย่าง Determine the normal depth (for uniform flow) if the channel
described in previous example has a flow rate of 100 cfs
วิธีทา

2 1
1.49
Q= AR 3 S 2
n
2

1.49  8  yn  3 1
100 = ( 8 yn )   0.0004 2
0.015  8 + ( 2  yn ) 

yn = 3.98 ft
Ans
The effect of roughness coefficient on flow velocity distribution
เนื่องจากการไหลแบบรางเปิ ดนัน้ ที่ผวิ น้ าจะมีแรงต้านทานการไหลน้อย
กว่าด้านข้างและพืน้ ราง ดังนัน้ ความเร็วของการไหลทีต่ าแหน่งใกล้ผวิ น้ าจึงมีค่า
สูงกว่าความเร็วของการไหลที่ตาแหน่ งใกล้พน้ื หรือผนังของราง ความเร็วของ
การไหลจึง มีค่ า ไม่ส ม่ า เสมอตลอดทัง้ หน้ า ตัด ในรางน้ า ทัว่ ไป ต าแหน่ ง ที่ม ี
ความเร็วการไหลสูงสุดมักจะอยูป่ ระมาณ 0.05 ถึง 0.25 ของความลึก
ลักษณะการกระจายตัวของความเร็วการไหลทีเ่ กิดขึน้ ในรางเปิ ดตกอยู่ใต้
อิทธิพลของหลายองค์ประกอบด้วยกัน เช่น ลักษณะรูปตัดราง ความหยาบผิว
ราง และความโค้งของราง เป็ นต้น โดยทัวไปรางที
่ ม่ ผี วิ หยาบจะทาให้ได้เส้นโค้ง
การกระจายความเร็วตามแนวดิง่ (Vertical velocity distribution) ทีม่ คี วามโค้ง
มากกว่ารางทีม่ ผี วิ เรียบ และในบริเวณโค้งด้านนอก (convex side) จะสูงกว่า
เนื่องจากมีอทิ ธิพลของแรงเหวีย่ งหนีศนู ย์เข้ามาเกีย่ วข้อง
คุณสมบัติต่างๆ ของหน้ าตัดลาน้าแต่ละรูปแบบ
(Prismatic channels)
การประเมินอัตราการไหลด้วย Slope-Area method
• สามารถใช้ประเมินอัตราไหลของน้าหลากในลาน้าโดยอาศัยความสัมพันธ์จากสมการของแมน
นิ่งซึง่ ย่อให้อยูใ่ นรูป
Q = K S0
1
• โดยค่า K ในสมการเรียกว่า Conveyance factor โดยมีคา่ เป็ น AR 2 3 สาหรับหน่วยระบบ SI
n
ซึง่ สามารถประเมินได้จาก Geometric mean ของคุณลักษณะการลาเลียงน้าด้านเหนือน้าและ
ท้ายน้า K = K K u d

• เมือ่ S หรือความลาดชันสามารถหาได้จากค่าเฉลีย่ ความลาดชันท้องน้าตัง้ แต่เหนือน้าถึงท้ายน้า


( zu − zd )
S=
x
• หรือทางเลือกสาหรับการประเมินค่า Sf ทีเ่ สนอโดย Chow (1959)
  vu2 vd2  
S f = ( zu − zd ) − k   u − d   / x
  2g 2 g 

ซึง่ ค่า k สามารถแบ่งได้ 2 กรณีคอื หากลาน้ามีการคอดลง (Contracting reach) vu  vd ค่า


k=1.0 และหากลาน้ากว้างขึน้ (expanding reach) vu  vd ค่า k=0.5
โดย  คือค่าสัมประสิทธิ ์ปรับแก้พลังงานจลน์การไหล (kinetic correction factor)  = Av1  v dA
3
3

A
พลังงานจาเพาะ (Specific Energy)
Total head at any location in an open-channel flow

V2
H = z+ y+
2g

พลังงานจาเพาะ

จากสมการสามารถตีความหมายของพลังงานจาเพาะได้ โดยพลังงานจาเพาะคือ
ผลรวมของพลังงานทีอ่ า้ งอิงกับระดับท้องน้า ณ ตาแหน่งใดๆ
โค้งพลังงานจาเพาะ (Specific Energy Curve)
โค้งพลังงานจาเพาะ (Specific Energy Curve)
Specific Energy Curve
สมมุตหิ น้าตัดการไหลรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า กว้าง 1 เมตร (Regtangular channel, 1m width)
Q 0.3 cms Q 0.2 cms 1.20
Width 1 m Width 1 m q=0.3cms
y (m) A (m^2) Es (m) y (m) A (m^2) Es (m)
0.07 0.070 1.006 0.05 0.050 0.865 q=0.2cms
0.08
0.09
0.080
0.090
0.797
0.656
0.06
0.06
0.055
0.060
0.729
0.626
1.00
0.10 0.100 0.559 0.07 0.070 0.486
0.11 0.110 0.489 0.08 0.080 0.399
0.12 0.120 0.439 0.09 0.090 0.342
0.13 0.130 0.401 0.10 0.100 0.304 0.80
0.14 0.140 0.374 0.12 0.120 0.262
Water level,y (m)
0.15 0.150 0.354 0.14 0.140 0.244
0.16 0.160 0.339 0.16 0.160 0.240
0.17 0.170 0.329 0.17 0.170 0.241
0.60
0.18 0.180 0.322 0.18 0.180 0.243
0.19 0.190 0.317 0.19 0.190 0.246
0.20 0.200 0.315 0.20 0.200 0.251
0.22 0.220 0.315 0.22 0.220 0.262
0.24 0.240 0.320 0.24 0.240 0.275 0.40
0.28 0.280 0.339 0.28 0.280 0.306
0.30
0.35
0.300
0.350
0.351
0.387
0.30
0.35
0.300
0.350
0.323
0.367
qน้อย qมาก
0.40 0.400 0.429 0.40 0.400 0.413 0.20
0.45 0.450 0.473 0.45 0.450 0.460
0.50 0.500 0.518 0.50 0.500 0.508
0.55 0.550 0.565 0.55 0.550 0.557 45o
0.60 0.600 0.613 0.60 0.600 0.606
0.70 0.700 0.709 0.70 0.700 0.704 0.00
0.80
0.90
0.800
0.900
0.807
0.906
0.80
0.90
0.800
0.900
0.803
0.903
0.00 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00 1.20
1.00 1.000 1.005 1.00 1.000 1.002
Specific Energy (m)
Specific Energy Curve
(Regtangular channel, 1m width)
1.20
q=0.3cms

1.00
หากพิ จารณาพลังงานจาเพาะ ณ จุด B
Total Specific energy = 0.401m
0.80 yB = 0.37m
Water level,y (m)

vB2
= 0.401 − 0.37 = 0.031m
2g
0.60
หากพิ จารณาพลังงานจาเพาะ ณ จุด A
Total Specific energy = 0.401m
0.40 y A = 0.13m
WL=0.37m B
v A2
= 0.401 − 0.13 = 0.271m
2g
0.20
WL=0.13m A

0.00
E=0.13m E=0.401m
0.00 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00 1.20
Specific Energy (m)
Specific Energy Curve
(Regtangular channel, 1m width)
1.20
q=0.3cms

1.00

ระดับน้า 1 ค่า มีค่าพลังงาน 1 ค่า


0.80
Water level,y (m)

ระดับพลังงาน 1 ค่ามีระดับน้า 2 ค่า


0.60
Alternate depth
(between which energy is conserved)

0.40

ความลึกวิ กฤต
0.20 จุดวิ กฤต (Critical point)
(Critical depth)

0.00
0.00 0.20 0.40 0.60 0.80 1.00 1.20
Specific Energy (m)
At critical point dE
• จุดวิกฤตเป็ นจุดทีม่ พี ลังงานต่าสุด ณ q ใดๆ และเป็ นจุดเปลีย่ นโค้ง =0
dyc

dE d  v2  d  Q2 
=  yc + =  yc + 2 
=0
dyc dyc  2 g  dyc  2 gA 

dE Q2 d  1  q 2 yc−3
= 1+ 2  2  = 1− =0
dyc 2 gb dyc  yc  g

q2 q2
3
= 1 or yc = 3
gyc g

( byc v )
2
q2 v2 v
1= 3 = 2 3 = = At critical point Fr=1
gyc b gyc gyc gyc
A
แต่สาหรับหน้าตัดทีไ่ ม่ใช่สเ่ี หลีย่ มใดๆ yc จะถูกแทนด้วยความลึกชลศาสตร์ (hydraulic depth, Dc) ซึง่ เท่ากับ Dc =
T
เมือ่ A คือพืน้ ทีห่ น้าตัดการไหล และ T คือความกว้างลาน้า ณ ผิวน้ า (Top width)
v2 gy 3
และหากพิจารณาพลังงาน ณ ความลึกวิกฤตที่ Fr=1 หรือ v = gyc จะพบว่า Es ,min = yc + = yc + c = yc
2g 2g 2
Flow classification by Froude number
Q 0.3 cms Specific Energy Curve
Width 1 m
(Regtangular channel, 1m width)
y (m) A (m^2) Es (m) Fr 1.20
0.07 0.070 1.006 5.17
0.08 0.080 0.797 4.23 Subcritical flow
0.09 0.090 0.656 3.55
Critical flow
0.10 0.100 0.559 3.03 1.00
0.11 0.110 0.489 2.63 Supercritical flow
0.12 0.120 0.439 2.30
0.13 0.130 0.401 2.04
0.14 0.140 0.374 1.83 0.80
0.15 0.150 0.354 1.65
Water level,y (m)

0.16 0.160 0.339 1.50


0.17 0.170 0.329 1.37
0.18 0.180 0.322 1.25 0.60
0.19 0.190 0.317 1.16
0.21 0.210 0.3140 1.00
0.22 0.220 0.315 0.93
0.24
0.28
0.240
0.280
0.320
0.339
0.81
0.65
0.40  1 subcritical flow
v 
0.30
0.35
0.300
0.350
0.351
0.387
0.58
0.46 Fr = = 1 critical flow
0.40 0.400 0.429 0.38 0.20 gD 
0.45 0.450 0.473 0.32 >1 supercritical flow
0.50 0.500 0.518 0.27
0.55 0.550 0.565 0.23
0.60 0.600 0.613 0.21 0.00
0.70 0.700 0.709 0.16
0.80 0.800 0.807 0.13 0.000 0.200 0.400 0.600 0.800 1.000 1.200
0.90 0.900 0.906 0.11 Specific Energy (m)
1.00 1.000 1.005 0.10
ตัวอย่าง ลาน้ารูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 8 ฟุต และมีอัตราการไหล 100 cfs จงหา
critical depth (yc)
วิธีทา
Q 100
Vc = gyc = =
A 8 yc
ดังนั้น
2

100  100  3
y3/2
= หรือ yc =  
c
8 g 8 g
 

1
 (100 / 8 )2 
3
yc =   = 1.69 ft
 g 
  Ans
ตัวอย่าง น้าไหลในรางน้าหน้าตัดสี่เหลี่ยมผืนผ้าพื้นเรียบไม่มีความลาดชัน ความ
กว้างรางน้านี้มีการทาให้แคบลงจาก 0.8 เมตร เหลือเพียง 0.4 เมตร ทาให้ระดับน้า
ลดลงจาก 0.5 เมตร เหลือเพียง 0.3 เมตร จงคานวณอัตราการไหลและสภาพการ
ไหลของน้า ณ สองหน้าตัดนี้
วิธีทา 2 2
V
จากสมการพลังงานจาเพาะ y1 + 1 = y2 + 2 V
2g 2g
2 2
1 Q 1 Q
y1 +   = y2 +  
2 g  A1  2 g  A2 
2 2
1  Q  1  Q 
0.5 +   = 0.3 +  
2 g  0.5  0.8  2 g  0.3  0.4 

Q = 0.25 cms Ans


ณ หน้าตัด 1
Q 0.25
V1 = = = 0.625 m/s
A1 0.5  0.8
V1 0.625
Fr = = = 0.28
gy1 9.81 0.5

ดังนั้น สภาพการไหลเป็นแบบใต้วิกฤติ
ณ หน้าตัด 2
Q 0.25
V2 = = = 2.08 m/s
A2 0.3  0.4
V2 2.08
Fr = = = 1.21
gy2 9.81 0.3

ดังนั้น สภาพการไหลเป็นแบบเหนือวิกฤติ
Principal of energy for Gradually varied flow

PA v A2
จากสมการเบอร์นูลลี่ HA = ZA + +
 2g
สาหรับการไหลแบบสม่าเสมอและแปรเปลีย่ นลดหลัน่
PA
= d A cos  and d A = y A cos 

ระยะตามแนวดิง่ วัดจากจุด A ขึน้ ไปถึงผิวน้ า

v A2 v 2
H A = Z A + d A cos  +
2g
or H A = Z A + y A cos 2  + A
2g
v02 v 2
H 0 = Z 0 + d 0 cos  +  or H 0 = Z 0 + y0 cos 2  +  0
2g 2g
H0 ค่าเฉลีย่ ของพลังงานการไหลต่อหนึ่งหน่วยน้าหนักของน้าทีไ่ หลผ่านรูปตัด 0
z0 ความสูงวัดตาแนวดิง่ จากระดับอ้างอิงถึงพืน้ ราง
d 0 , y0 ความลึกของการไหล วัดในแนวตัง้ ฉากกับพืน้ ราง และตามแนวดิง่ จากพื้นราง
ขึน้ ไปตามลาดับ
 สัมประสิทธิ ์ความเร็ว (Velocity coefficient หรือ Coriolis coefficient)
v0 ความเร็วเฉลีย่ ของการไหลผ่านรูปตัด 0
เมือ่ พิจารณาการไหลจากรูปตัด 1 ไปยังรูปตัด 2 โดยระหว่างการไหลมีการสูญเสีย
พลังงานเนื่องจากความฝืดต่อหนึ่งหน่วยน้าหนักเท่ากับ hL สามารถเขียนสมการ
พลังงานได้ดงั นี้
v12 v22
Z1 + d1 cos  + 1 = Z 2 + d 2 cos  +  2 + hL
2g 2g
สาหรับรางตรงและหน้าตัดสม่าเสมอ ค่าสัมประสิทธิ ์ความเร็วจะมีคา่ อยูใ่ นช่วง 1.03
– 1.36 และถ้ารางลาดเอียงน้อยกว่า 6 องศา ค่า cosine ของมุมจะมีคา่ ประมาณ 1
ดังนัน้ จึงเขียนสมการได้ดงั นี้
v12 v22
Z1 + y1 + = Z 2 + y2 + + hL
2g 2g
Gradually varied flow equations
Given hL = S f L = S f x letting Z = Z1 − Z 2 = S0 x

v12 v22
S0 x + = y + + S f x
2g 2g
 v22 v12 
y = S0 x − S f x −  − 
 2 g 2 g 
And then dividing by x
y 1  v22 v12 
= S0 − S f −  − 
x x  2 g 2 g 
Taking the limit as x → 0
 y  dy 1  v22 v12  d  v 2 
lim   = lim  −  =  
x →0 x x →0 x 2 g
  dx  2 g  dx  2 g 
dy d  v 2 
+   = S0 − S f >> the second term can be express
dx dx  2 g 
by chain rule as
 v2    v2  
d   d 
dy  2 g
+ 1+  = S −S
 2 g  dy >>
dx  dy 
0 f
dy dx
 
 

Differential equation for gradually varied flow


d  v2  d  Q2   Q 2  dA
พิจารณาเทอม  =  2 
= − 3 
dy  2 g  dy  2 gA   gA  dy

สาหรับการไหลในทางน้าเปิ ด ทีม่ ลี กั ษณะเป็ นสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า dA = Tdy


เมือ่ T คือ top wide of channel
d  v2   Q 2  Tdy Q2
  = − 3  =− 3
dy  2 g   gA  dy gA D

จากสมการ Frude number สามารถเขียนสมการสาหรับ Gradually varied flow ได้

dy S0 − S f
=
dx 1 − Fr2
วิธีทา
V12 V22
S0 x + = y + + S f x
2g 2g
เมื่อ y = y2 − y1
เขียนสมการให้อยู่ในรูปของ x จะได้
 V22 V12 
y +  − 
 V22 V12   2 g 2 g 
( S0 − S f ) x = y +  2 g − 2 g  หรือ x =
  ( S0 − S f )
Friction slope สามารถคานวณหาได้จากสมการของแมนนิ่ง

2 1 2
1  nVavg 
Vavg = R S 3
avg
2
f
หรือ S f =  2/3 
n  Ravg 
ณ แต่ละตาแหน่ง
Velocity
ตาแหน่ง y (m) R=y (m) V (m/s)
head (m)
a 0.457 0.457 10.17 5.27
b 0.5 0.5 9.292 4.4
ดังนั้น ความเร็วเฉลี่ย, รัศมีชลศาสตร์เฉลี่ย และความลาดชันพลังงานสามารถคานวณได้จาก
10.17 + 9.292
Vavg = = 9.73 m/s
2
0.457 + 0.500
Ravg = = 0.479 m
2
2
 0.020  9.73 
Sf =  2/3  = 0.101 m/m
 0.479 
แทนค่าเพื่อหาระยะ x
 0.457  ( 0.500 − 0.457 ) + ( 4.40 − 5.27 )  0.457  −0.827
x =  + = + = 8.97 m
 0.6  ( 0.0003 − 0.101)  0.6  −0.101
Ans
Water surface profile classification
Channel bed slopes may be classified as Mild, Steep, Critical,
Horizontal and Adverse. To define the various types of slopes
for the mild, steep and critical slopes the normal depth and
critical depth are used
yn
Mild: yn  yc or
yc
1

yn
Steep: yn  yc or
yc
1

yn
Critical yn = yc or
yc
=1
Types of flow profile in prismatic channels
หากพิจารณา ที่ Mild slope >> เหมือนลาน้าทั่วไปในลุ่มน้าที่เป็นพื้นที่ราบลุ่ม
Zone 1: y  yn  yc
Zone 2: yn  y  yc
Zone 3: yn  yc  y
เส้นลาดพลังงาน, ระดับผิวน้า และท้องคลองขนานกันเมื่อลักษณะการไหลเป็นแบบ
สม่าเสมอ เมื่อ y = yn ดังนั้น
S0 = S f = S w
จากสมการของแมนนิ่งที่อัตราการไหลใดๆ พบว่า
S f  S0 if y  yn
ดังนั้นจึงสามารถจาแนกลักษณะความลาดชันท้องน้าในแต่ละ zone ได้ดังนี้
Zone 1 (M1 profile)
y  yn then S f  S0 or S0 − S f = +
Fr  1 since y  yc so 1 − Fr 2 = +
จากสมการ
dy S0 − S f +
= = =+
dx 1 − Fr2
+
ดังนั้น ในกรณีนี้ ระดับน้าสูงขึ้นตามระยะทาง แสดงว่า y → yn
Zone 2 (M2 profile)
y  yn then S f  S0 or S0 − S f = −
Fr  1 since y  yc so 1 − Fr 2 = +
จากสมการ
dy S0 − S f −
= = =−
dx 1 − Fr 2
+
ดังนั้น ในกรณีนี้ ระดับน้าต่าลงตามระยะทาง แสดงว่า y → yc
Zone 3 (M3 profile)
y  yn then S f  S0 or S0 − S f = −
Fr  1 since y  yc so 1 − Fr 2 = −
จากสมการ
dy S0 − S f −
= = =+
dx 1 − Fr2

ดังนั้น ในกรณีนี้ ระดับน้าสูงขึ้นตามระยะทาง แสดงว่า y → yc
ตัวอย่าง น้าไหลลงตามทางน้าเปิดกว้างที่มีความลาดชัน 0.002 ด้วยอัตราการไหล 63 cfs/ft โดยทางด้าน
เหนือน้าเป็นกรวดหยาบที่มีค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระผิวของแมนนิ่งเป็น 0.022 และท้ายน้าเป็นพื้นคอนกรีต
ที่มีสัมประสิทธิ์ความขรุขระผิวของแมนนิ่งเป็น 0.012 จงหา
- ความลึกของน้าด้านเหนือน้า
- ความลึกน้าด้านท้ายน้า
- ความลึกน้า ณ ตาแหน่งที่มีการเปลี่ยนวัสดุจากกรวดหยาบเป็นคอนกรีต
- จงเขียนเส้นผิวน้า
วิธีทา
สาหรับทางน้าเปิดกว้างมาก รัศมีชลศาสตร์ R จึงถูกสมมุติให้มีค่าเป็น y
ดังนั้น สามารถคานวณความลึกน้าด้านเหนือน้าได้จากสมการของแมนนิ่ง
1.49
Q= AR 2/3 S 1/2
n
Q 1.49 5/3 1/2 1.49 5/3
100 = q = = y S = y 0.0021/2
b n 0.022

y = 6.2 ft Ans
ดังนั้น สามารถคานวณความลึกน้าด้านท้ายน้าได้จากสมการของแมนนิ่ง
1.49
Q= AR 2/3 S 1/2
n
Q 1.49 5/3 1/2 1.49 5/3
100 = q = = y S = y 0.0021/2
b n 0.012
y = 4.3 ft Ans
คานวณความลึกวิกฤติ
q 2 3 1002
yc = 3 = = 5 ft
g 32.2
ความลึก ณ จุดที่ 1 > ความลึกวิกฤติ > ความลึก ณ จุดที่ 2 แสดงว่ามีการเปลี่ยนแปลงผิวน้าบริเวณจุด
เปลี่ยนวัสดุ โดยมีความลึก 5 ft
Ans
เมื่อ y1>yc แสดงว่าหน้าตัด 1 มีการไหลเป็นแบบใต้วิกฤติ และ yc>y2 แสดงว่าเป็นการไหลแบบเหนือ
วิกฤติ สามารถเขียนเส้นแนวผิวน้าได้ดังนี้

y1=6.2 ft
yc=5 ft
y2=4.3 ft

รูปแบบแนวเส้นผิวน้าเป็นแบบ M2
Ans
ตัวอย่าง ในบริเวณเชิงเขาแห่งหนึ่งมีความลาดชัน 0.01 เชื่อมต่อกับบริเวณที่เป็นที่ลาดที่มีความชัน 0.001
พื้นที่ดังกล่าวมีสัมประสิทธิ์ความขรุขระผิวของแมนนิ่งเป็น 0.025 ถ้ามีน้าไหลลงมาด้วยอัตราการไหลต่อ
หน่วยความกว้างเท่ากับ 1 cms และเป็นบริเวณกว้างมากจงหา
- ความลึกวิกฤติ
- ความลึกปกติที่ความลาดชันทั้ง 2
- เส้นแนวผิวน้าเป็นอย่างไร
วิธีทา
ความลึกวิกฤติ q 2 3 12
yc = 3
g
=
9.81
= 0.47 m Ans
หาความลึกปกติ ณ 2 บริเวณ
Q 1 5/3 1/2
1 = q = = yn S = 0.025 yn5/3 0.011/2
b n

yn = 0.435 m Ans
Q 1 5/3 1/2
1 = q = = yn S = 0.025 yn5/3 0.0011/2
b n
yn = 0.869 m Ans
เนื่องจากพื้นที่บริเวณเขามีการไหลเป็นแบบเหนือวิกฤติส่วนพื้นที่ลาดมีการไหลเป็นแบบใต้วิกฤติ ดังนั้น น้า
กระโดดจะเกิดขึ้น ณ บริเวณนั้น
คานวณตัวเลขฟรูดเพื่อพิจารณาน้ากระโดด
V1 q 1
Fr = = = = 1.11
gy1 y1 gy1 0.435 9.81 0.435

คานวณระดับน้ากระโดดจากสมการน้ากระโดด
y2 1 
= 1 + 8 Fr12 − 1
y1 2  
y2 1
= 1 + 8 1.112 − 1
0.435 2  
y2 = 0.50 m
ดังนั้น น้ากระโดดจะเกิดก่อนเข้าสู่พื้นที่ลาดชันน้อย เนื่องจาก y2 ซึ่งเป็นค่าความลึก ณ ท้าย
น้ากระโดดต่ากว่า 0.868 หรือความลึกปกติด้านท้ายน้า

y1=0.435m
y2j=0.5m
yc=0.47m y2=0.868m
การคานวณรูปร่างผิวน้าด้วย Direct step method

V12 V22
S0 x + y1 + 1 = y2 +  2 + S f x
2g 2g

S0 x + Es ,1 = Es ,2 + S f x
Es ,2 − Es ,1
x =
S0 − S f

โดย
S f ,1 + S f ,2
Sf =
2

และ จากสมการของแมนนิ่งหรือสมการของดาร์ซี่

nV 2 2
fV 2
S f = 4/3 Sf =
R 8 gR
ตัวอย่าง คลองคอนกรีตรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 12 เมตร มีสัมประสิทธิ์ความขรุขระผิวของแมน
นิ่งเป็น 0.013 และมีความลาดชันท้องคลองเป็น 0.00086 ณ ตาแหน่งท้ายน้ามีฝายสันมนที่ทา
ให้ระดับน้าท้ายน้าสูง 4.55 เมตรจากท้องน้า และอัตราการไหลในคลองนี้เป็น 126 cms จงหา
- ความลึกปกติ
- ความลึกวิกฤติ
- บ่งบอกสภาพการไหลว่าเป็นแบบเหนือวิกฤติหรือใต้วิกฤติ
- จาแนกชนิดผิวน้า
- คานวณระดับน้า ณ แต่ละตาแหน่ง
หาความลึกวิกฤติ
Q 126
q= = = 10.50 cms/m
b 12

q 2 3 10.502
yc = 3
g
=
9.81
2.24 m Ans

หาความลึกปกติ 1
Q = AR 2/3 S 1/2
n
2/3
1  12 yn 
126 = (12 yn )   0.000861/2
0.013  12 + 2 y n 

yn = 2.95 m Ans
สภาพการไหล เมื่อ yn > yc แสดงว่าการไหลเป็นแบบใต้วิกฤติ และ ณ ท้ายน้ามีระดับน้าสูงกว่า
เหนือน้าเนื่องจากมีฝายกั้น ดังนั้นรูปแบบผิวน้าเป็นแบบ M1 Ans
หาระดับน้า ณ ตาแหน่งต่างๆ ด้วยวิธี Direct step
n 2V 2
Col.1 กาหนดค่า y Col.9 คานวณความลาดพลังงาน S f = 4/3
R
Col.2 คานวณพื้นที่หน้าตัดการไหล Col.10 ค่าเฉลี่ยความลาดพลังงาน ณ สองระดับน้า
Col.3 คานวณเส้นขอบเปียก Col.11 So-Col.10 E −E
Col.4 คานวณรัศมีชลศาสตร์ Col. 12 คานวณ dx จากสูตร x = s ,2 s ,1

S −S 0 f
Col.5 คานวณความเร็วจาก V=Q/A Col. 13 คานวณระยะทางสะสม
Col.6 คานวณพลังงานความเร็ว V2/2g
Col.7 คานวณพลังงานจาเพาะ E=Col.1+Col.6
Col.8 คานวณผลต่างพลังงาน ณ แต่ละระดับน้า
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13
y (m) A (m2) P (m) R (m) V (m/s) V2/2g E dE Sf avg(Sf) So-avg(Sf) dx L (m)
4.55 54.60 21.10 2.59 2.31 0.27 4.82 0.00025 0
4.45 53.40 20.90 2.56 2.36 0.28 4.73 0.088 0.00027 0.00026 0.00060 146.44 146.44
4.35 52.20 20.70 2.52 2.41 0.30 4.65 0.087 0.00029 0.00028 0.00058 149.18 295.61
4.25 51.00 20.50 2.49 2.47 0.31 4.56 0.086 0.00031 0.00030 0.00056 152.35 447.97
4.15 49.80 20.30 2.45 2.53 0.33 4.48 0.085 0.00033 0.00032 0.00054 156.07 604.04
4.05 48.60 20.10 2.42 2.59 0.34 4.39 0.084 0.00035 0.00034 0.00052 160.48 764.52
3.95 47.40 19.90 2.38 2.66 0.36 4.31 0.082 0.00038 0.00036 0.00050 165.77 930.29
3.85 46.20 19.70 2.35 2.73 0.38 4.23 0.081 0.00040 0.00039 0.00047 172.23 1102.52

You might also like