You are on page 1of 61

บทที$ 4

มอเตอร์กระแสสลับเฟสเดียว

1
ขนาดและอุปกรณ์ที1พบมอเตอร์กระแสสลับเฟสเดียว

• มักพบตามบ้านพักอาศัยหรื อเครื2 องจักรที2มีกาํ ลังไม่สูงเช่นปั?มนํ?า สว่านแท่นขนาดเล็ก อุปกรณ์ไฟฟ้าในบ้าน


เช่น พัดลม เครื2 องผสมอาหาร เครื2 องปรับอากาศ ตูเ้ ย็น เครื2 องดูดฝุ่ น และเครื2 องมือไฟฟ้า เช่นสว่านมือ เครื2 อง
เจียร เป็ นต้น
• มักมีขนาดไม่ถึง 1 แรงม้า จึงเรี ยกมอเตอร์เหล่านี?วา่ Fractional horsepower motor

2
สนามแม่เหล็กที1เกิดจากอาเมเจอร์เฟสเดียว
เมื2ออาเมเจอร์เฟสเดียวไม่วา่ จะมีกี2ข?วั แม่เหล็กถูกต่อกับแหล่งแรงดันสลับที2มีรูปคลื2นซายน์
สนามแม่เหล็กที2มนั สร้างขึ?นเป็ นสนามแม่เหล็กที2กลับทิศไปมา ซึ2งสนามแม่เหล็กนี?ไม่เกิดการหมุน ซึ2งถ้าเรานํา
โรเตอร์แบบกรงกระรอกไปใส่ ไว้ในสเตเตอร์เฟสเดียว โรเตอร์จะไม่เกิดการเริ2 มหมุนเนื2องจากแรงบิดเริ2 มหมุน
เท่ากับศูนย์
N s
แนวแกน เสมอ แ)ส*บNs =•
s บ

3
start,วเองเ.า0=•เ.1
อย่างไรก็ดี หากว่ามีอะไรบางอย่างมาช่วยทําให้โรเตอร์เกิดการหมุนในตอนแรกอย่างมีนยั สําคัญใน
ทิศทางใดทิศทางหนึ2งแล้ว โรเตอร์จะสามารถหมุนต่อไปได้ในทิศทางนั?นอย่างต่อเนื2องในสนามแม่เหล็กที2
กลับไปกลับมานี?

,ว2งห4นทวน
ห u ตาม

4
Two-revolving field theory

“สนามแม่เหล็กที2เปลี2ยนทิศกลับไปกลับมาและมีขนาดที2เปลี2ยนแปลงเป็ นฟังก์ชนั ไซน์ที2ความถี2ใดๆ สามารถ


แตกออกเป็ นผลรวมทางเวกเตอร์ของสนามแม่เหล็กสองปริ มาณ แต่ละปริ มาณมีขนาดเท่ากับครึ2 งหนึ2งของ
สนามแม่เหล็กสลับนั?นและหมุนตรงข้ามกันด้วยความถี2ของสนามแม่เหล็กสลับ”

5
เสมอ
Two-revolving field theory
rotorห4นทวน A = fm/2
o
revolvingfield
max A = fm/2 A = fm/2
A = fm/2 +q
+fm +q
B = fm/2
-q fmsin q fmsin q -q

pwsesaiingniea
B = fm/2 B = fm/2
revolvingfield B = fm/2
rotor
ห4นตาม
B = fm/2
B = fm/2 B = fm/2

B = fm/2
+fm A = fm/2 fmsin q fmsin q

A = fm/2 A = fm/2
A = fm/2
6
กราฟแรงบิดของโรเตอร์ภายใต้ Pulsating magnetic field

Torque
Torque due to positive field (↺)

Resultant torque

2 0 Slip
1

Torque due to negative field (↻)

7
6ป3 P8งก9าไ.กระเ=ม
สนามแม่เหล็กหมุนที1เกิดจากกระแสสองเฟส
hine
Lnewton

นอกจากสนามแม่เหล็กหมุนสามารถสร้างได้จากกระแสสามเฟสแล้วยังสามารถสร้างขึ?นได้จากขดลวดสองขดที2
วางห่างกัน 90° ไฟฟ้าและถูกป้อนด้วยกระแสสองเฟส

8
กระแสสองเฟส
ในอุดมคติเป็ นกระแสรู ปคลื2นซายน์ที2มีขนาดเท่ากัน ความถี2เท่ากันและมีเฟสต่างกัน 90° ไฟฟ้า

i phase)าง>น 9?
iA iB

wt( °)
0 90 180 270 360

9
สนามแม่เหล็กหมุนที1เกิดจากกระแสสองเฟส

10
การเกิดสนามแม่เหล็กหมุนในสเตเตอร์สองเฟส

11
ชนิดของมอเตอร์เฟสเดียว

มอเตอร์กระแสสลับเฟสเดียวแบ่งออกได้เป็ น 5 ประเภทดังนี?
• Split-phase motor
• Capacitor motor
• Shaded pole motor
• Repulsion motor
• Universal motor

12
Split-phase motor

• มักพบในลักษณะมอเตอร์อเนกประสงค์
• ส่ วนมากมีขนาดตั?งแต่ ¼ ถึง 1 แรงม้า
• มีแรงบิดขณะเริ2 มหมุนปานกลาง

13
ภาพตัวอย่าง Split-phase motor

14
ตัวอย่างภาพตัดของ Split-phase motor

15
ตัวอย่างโรเตอร์ของ Split-phase motor

กลไก Centrifugal switch

16
วงจรภายในของ Split-phase motor

I IS
IM U X
Centrifugal switch

ขดลวดเมน Rotor
ขดลวดสตาร์ท

V Y

ขด Main เป็ นลวดเส้นใหญ่ คตท.น้อย รี แอกแตนซ์มาก ขด Start เป็ นลวดเส้นเล็ก คตท.มาก รี แอกแตนซ์นอ้ ย

17
ภาพ Centrifugal switch ของมอเตอร์ตวั หนึ1ง

มวลเหวียW ง

18
ภาพ Centrifugal switch ใน Split-phase มอเตอร์อีกตัวหนึ1ง

19
ชื1อสายทัcงสี1 ของ Split phase motor

20
เวกเตอร์ของกระแสและแรงดันใน Split-phase motor ขณะสตาร์ท

V
Is

Is = กระแสในขดสตาร์ ท
Im = กระแสในขดเมน
I = กระแสที2มอเตอร์ รับเข้ ามา
IsIm
Im (แปรผันตามโหลด)
I

21
รายละเอียดที1สาํ คัญในการทํางานของ Split-phase motor

• กระแสในขด Main จะตามหลังกระแสในขด Start เป็ นมุมค่อนข้างมากแต่ไม่ถึง 90°


• ทําให้เราได้สนามแม่เหล็กหมุนในตัวสเตเตอร์
• ดังนั?นจะเกิดกระแสเหนี2ยวนําในโรเตอร์แบบกรงกระรอก ทําให้โรเตอร์มีสภาพเป็ น
แม่เหล็ก หมุนตามสเตเตอร์ไป
• เมื2อโรเตอร์มีความเร็ วประมาณ 70-80% ของความเร็ วซิ งโครนัส สวิทช์แรงหนี
ศูนย์กลาง(Centrifugal Switch) จะทําการตัดขดลวดสตาร์ทออก
• มอเตอร์จะทํางานโดยใช้ขดลวด Main(ขด Run) เพียงขดเดียว

22
การกลับทิศทางการหมุนของ Split-phase motor
ทําโดยการสลับการต่อขด Main หรื อขด Start เพียงขดใดขดหนึBงเท่านัCน

23
Capacitor motor

• เป็ น Split phase มอเตอร์ ที-ถกู ปรับปรุงให้ มีสมรรถนะที-ดีขึ =น โดยทําการต่อตัวเก็บประจุ


อนุกรมกับขดลวด Start ส่งผลให้ กระแสในขดลวดสตาร์ ทนํากระแสในขดลวดเมน 90
องศาซึง- ทําให้ เกิดผลดีคือ
• มอเตอร์ ให้ แรงบิดขณะเริ- มหมุนสูงขึ =น
• ตัวประกอบกําลังสูงขึ =น
• มอเตอร์ ทํางานได้ เงียบขึ =น

24
ชนิดของ Capacitor motor

Capacitor motor มีหลายชนิดได้แก่


• Capacitor-start motor
• Permanent-split capacitor motor
• Capacitor-start and run motor

25
รู ปตัวอย่าง Capacitor start motor
Capacitor
chamber

26
วงจรภายในของ Capacitor-start motor

U X
Centrifugal switch

ขดลวดเมน C
Rotor
ขดลวดสตาร์ท
V Y

27
เวกเตอร์ของกระแสและแรงดันใน Capacitor-start motor
Is

Is = กระแสในขดสตาร์ ท
Im = กระแสในขดเมน
I I = กระแสที2มอเตอร์ รับเข้ ามา

Im

28
กราฟแรงบิดของ Capacitor-start motor

400

Torque (% rated) 300 Both windings

200
Main winding alone
100

!
0 0.2 0.4 0.6 0.8 1 !!
Activating speed
For centrifugal sw.

29
รู ปตัวอย่าง Permanent-split capacitor motor

30
Permanent-split capacitor motor
ที2ความเร็ วพิกดั มอเตอร์แบบ Capacitor-start ทําตัวเป็ นเหมือนมอเตอร์แบบ Split-phase นัน2 คือสนามแม่เหล็ก
หมุนมีโลกัสเป็ นรู ปวงรี ส่ งผลให้มอเตอร์ทาํ งานไม่ราบเรี ยบและมีเสี ยงรบกวนมากกว่ามอเตอร์ที2มีขนาดของ
สนามแม่เหล็กหมุนคงที2 ซึ2งสภาวะหลังนี?สามารถทําได้โดยการออกแบบให้มอเตอร์มีขดลวดช่วย (Auxiliary
winding) ที2เหมือนกันทุกประการกับขดลวดหลัก (Main winding) แล้วทําการต่อคาปาซิเตอร์ที2มีค่าเหมาะสม
อนุกรมกับขดลวดช่วยโดยตัด Centrifugal switch ทิ?งไป ผลที2เกิดขึ?นจากการที2สนามแม่เหล็กหมุนมีขนาดคงที2
ซึ2งทําให้มอเตอร์ทาํ งานได้เงียบขึ?นแล้ว ยังตัดการบํารุ งรักษา Centrifugal switch ออกไปได้เลย แต่ขอ้ เสี ยที2
ตามมาคือมอเตอร์ให้แรงบิดขณะสตาร์ทและแรงบิด ณ จุดเบรกดาวน์ที2ต2าํ ลง นัน2 คือแรงบิดขณะสตาร์ทมี
ค่าประมาณ 60 – 75% ของแรงบิดพิกดั เท่านั?น

31
วงจรภายในของ Permanent-split capacitor motor

U X
C
ขดลวดหลัก
Main winding Rotor ขดลวดช่วย
Auxiliary winding
V Y

32
กราฟแรงบิดของ Permanent-split capacitor motor

Torque (% rated) 300

200

100

!
0 0.2 0.4 0.6 0.8 1 !!

33
รู ปตัวอย่าง Capacitor-start and run motor

34
Capacitor-start and run motor

เพื2อให้ได้มอเตอร์ที2ให้แรงบิดขณะสตาร์ทสู งของมอเตอร์แบบ Capacitor-start ผนวกกับสมรรถนะขณะ


รับภาระ ณ ความเร็ วขณะทํางานที2ดีของมอเตอร์แบบ Permanent-split capacitor moter จึงทําการเพิ2มตัวเก็บ
ประจุเพิ2มเข้าไปอีกหนึ2งตัว ทําให้ได้มอเตอร์แบบ Capacitor-start and run หรื อเรี ยกอีกชื2อว่า Two-value
capacitor motor โดยที2ขดลวดช่วยและ CR ต้องมีพิกดั แบบต่อเนื2อง ส่ วน CS มีพิกดั ชัว2 ขณะก็เพียงพอ

35
วงจรภายในของ Capacitor-start and run motor

X
U
Centrifugal switch
CR CS
ขดลวดเมน Rotor
ขดลวดช่วย
V Y

36
กราฟแรงบิดของ Capacitor-start and run motor

400
With CR and CS
Torque (% rated) 300 Switch opens

200
With CR only
100

!
0 0.2 0.4 0.6 0.8 1 !!

37
มอเตอร์แบบ Shaded-pole

• เป็ นมอเตอร์ที2นิยมใช้ในงานที2ตอ้ งการกําลังไม่เกิน 1/20 แรงม้า


• มีโครงสร้างที2ง่าย ผลิตได้ง่าย
• ไม่ตอ้ งมีสวิทช์หรื อชิ?นส่ วนสึ กหรออื2นๆ
• ประสิ ทธิภาพไม่ค่อยดี

38
ภาพตัวอย่าง Shaded-pole motor แบบ 2 ขัcว

39
โครงสร้างของ Shaded-pole motor แบบ 4 ขัcว

40
Unidirectional Shaded-pole motor

41
สเตเตอร์ของ Shaded-pole motor แบบ 2 ขัcว

1 = Main pole 1
2 = Shaded pole 2

42
ตําแหน่งที1เกิดฟลักซ์แม่เหล็กสู งสุ ดหน้าขัcวแม่เหล็ก ณ เวลาต่างๆ
if

• ´ ´ •
wt
wt1 wt2 wt3

ฟลักซ์ ณ เวลา wt1 ฟลักซ์ ณ เวลา wt2 ฟลักซ์ ณ เวลา wt3

วงแหวนทองแดงทําให้จุดทีTมีความหนาแน่นสนามแม่เหล็กมากเลืTอนจาก Main-pole ไปหา Shaded-pole

43
เทคนิคที1ทาํ ให้โรเตอร์เกิดการหมุนใน Shaded-pole motor

• แต่ละขั?วแม่เหล็กจะถูกแบ่งเป็ นขั?วแม่เหล็กหลัก(Main-pole) และขั?วที2ถูกบัง


(Shaded-pole)
• เนื2องจากกระแสเหนี2ยวนําที2เกิดที2 Shaded-pole จะต่อต้านการเปลี2ยนแปลงเส้นแรง
แม่เหล็กในบริ เวณนั?น
• ทําให้เส้นแรงแม่เหล็กที2 Shaded-pole เสมือนเกิดที2หลังเส้นแรงแม่เหล็กที2เกิดจาก
Main-pole
• ดังนั?นเส้นแรงแม่เหล็กจึงเสมือนขยับจาก Main-pole ไปยัง Shaded-pole
• ทําให้โรเตอร์ มีทิศทางการหมุนจาก Main-pole ไปหา Shaded-pole

44
Repulsion motor

45
Repulsion motor

• เป็ นมอเตอร์ซ, ึงมีคอมมิวเตเตอร์และแปรงถ่านคล้ายดีซีมอเตอร์


• แต่แปรงถ่านทําหน้าที,เพียงลัดวงจรซี,คอมมิวเตเตอร์คู่หนึ,งเท่านัCน
มิได้ทาํ การต่อวงจรของโรเตอร์ไปยังโลกภายนอก
• มอเตอร์ชนิดนีCให้แรงบิดเริ, มสตาร์ทสู งคล้ายซีรีส์มอเตอร์
• การกลับทิศทางการหมุนทําได้โดยการสลับตําแหน่งแปรงถ่าน
ให้ขา้ มไปอีกด้านหนึ,งของเส้น Hard Neutral

46
โรเตอร์พร้อมแปรงถ่านของ Repulsion motor

47
ขดลวดโรเตอร์ที1ต่อกับคอมมิวเตเตอร์มองผ่านช่องแปรงถ่าน

48
Short circuit necklace

ทํางานโดยแรงหนีศูนย์กลางเมืWอความเร็ วโร
เตอร์มีค่า » 70 – 80 % จะขยับมาลัดวงจรซีW
คอมมิวเตเตอร์เข้าด้วยกัน

49
ฝาแปรงถ่านทัcงสองฝา

50
แนวเส้นสะเทิน (Neutral axis)

51
ต้องขยับแปรงถ่านเยืcองออกจากแนวเส้นสะเทิน มอเตอร์จึงหมุน

52
ใส่ ฝาแปรงถ่านแบบนีcมอเตอร์หมุนตามเข็มนาฬิกา(มองด้านเพลา)

ด้านเพลาขับ
(Drive end)

53
ใส่ ฝาแปรงถ่านแบบนีcมอเตอร์หมุนทวนเข็มนาฬิกา(มองด้านเพลา)

54
Universal motor

55
Universal motor
• เป็ นมอเตอร์ที,มีโครงสร้างเหมือนมอเตอร์กระแสตรงชนิด ซีรีส์
• ใช้ได้ทC งั กับไฟฟ้ากระแสสลับและกระแสตรง
• ไม่มีความเร็ วซิงโครนัสเหมือนมอเตอร์ 4 แบบแรกที,กล่าวมาแล้ว
• มีอตั ราส่ วนแรงม้าต่อนํCาหนักสู งกว่ามอเตอร์ชนิดอื,นเนื,องจากหมุน
เร็ วมาก มักใช้กบั อุปกรณ์ที,โยกย้ายได้ต่างๆ เช่นสว่าน เครื, องขัด
เครื, องดูดฝุ่ น เครื, องปั, นอาหาร เป็ นต้น
• มีความเร็ วขณะไร้ภาระสู งมากจนอาจทําลายตัวมันเองได้ จึงไม่ควร
ให้หมุนในสภาวะไร้ภาระ

56
วงจรของ Universal motor

57
Universal motor ขนาด 310 W

58
โรเตอร์ของ Universal motor ในสว่านมือ

59
Torque – speed curve ของ Universal motor
Torque

Speed (rpm)
0 20,000

60
การกลับทิศทางการหมุนของ Universal motor

61

You might also like