You are on page 1of 70

บทที่ 3

มอเตอร์เหนี่ยวนำ 3 เฟส

1
จุดเด่นของมอเตอร์เหนี่ยวนำ 3 เฟส

• ทนทำน ต้องกำรกำรบำรุ งรักษำน้อย


• ใช้งำนง่ำย
• รำคำถูก
• ควำมเร็ วค่อนข้ำงคงที่

2
มอเตอร์เหนี่ยวนำ 3 เฟส ใช้งำนทัว่ ไป

3
รู ปตัดแสดงส่ วนประกอบของมอเตอร์เหนี่ยวนำ 3 เฟส

4
โรเตอร์แบบกรงกระรอก

ประกอบด้วยเหล็กแผ่นซ้อนกันมีตวั นำ(ทองแดง หรือ อลูมิเนียม)


ร้อยผ่ำนร่อง และถูกลัดวงจรด้วยวงแหวนตัวนำ 5
ลักษณะของตัวนำในโรเตอร์แบบกรงกระรอก

แท่งตัวนำ วงแหวนลัดวงจร
6
ขดลวดอำเมเจอร์ของมอเตอร์เหนี่ยวนำ 3 เฟส

• วำงห่ำงจำกขดลวดเฟสอื่น 120 ไฟฟ้ำ


• มีกำรเรี ยกชื่อปลำยทั้งสองของขดลวดหลำยมำตรฐำน

U V W U1 V1 W1 T1 T2 T3

X Y Z U2 V2 W2 T4 T5 T6

เอเชีย ยุโรป อเมริ กนั

7
กำรเกิดแรงบิดขึ้นที่ตวั หมุน
Induced current
N

Force
Rotation
Force

8
ไถล(Slip)
หมำยถึงอัตรำส่ วนของควำมเร็ ว ที่เกิดจำกควำมแตกต่ำงของควำมเร็ วซิ งโครนัสกับควำมเร็ วที่โรเตอร์ ต่อ
ควำมเร็ วซิ งโครนัส มีหน่วยเป็ น % หรื อ เปอยูนิทก็ได้
Ns −Nr
Slip, s = 100%
Ns
120f
เมื่อ NS = ควำมเร็ วซิ งโครนัส = p
รอบ/นำที
Nr = ควำมเร็ วโรเตอร์ รอบ/นำที
f = ควำมถี่ของไฟฟ้ำ Hz
p = จำนวนขั้วแม่เหล็ก

Nr = NS(1- s)
9
ไถล(Slip)
จำกสมกำร Nr = Ns(1 – s) จะเห็นว่ำ
เมื่อ s = 1 Nr = 0 นัน่ คือโรเตอร์หยุดนิ่งหรื อมอเตอร์ ไม่หมุน
และเมื่อ s = 0 Nr = Ns นัน่ คือโรเตอร์ หมุนด้วยควำมเร็ วซิ งโครนัส
เมื่อมอเตอร์ หมุนโดยไม่มีภำระจะมีสลิปน้อยมำกใกล้ศูนย์ และเมื่อมันได้รับภำระมำกขึ้นค่ำสลิปจะ
ค่อยๆเพิ่มขึ้น มอเตอร์ ประเภทที่มีสลิปปกติ(Normal slip) จะมีค่ำสลิปที่พิกดั (Full-load slip)
ประมำณ 5% แต่ถำ้ เป็ นมอเตอร์ ที่มีค่ำสลิปมำก (High-slip) ก็จะมีค่ำประมำณ 8-9 %
*จำง่ำยๆว่ำ ภำระมำกสลิปมำก ภำระน้อยสลิปน้อย ไม่มีภำระสลิปเท่ำกับศูนย์*
ดังนั้น ควำมเร็ วที่โรเตอร์ ที่ลดลงไปจำกควำมเร็ วซิ งโครนัส คือ
Nrs = Ns – Nr = sNs ซึ่ งเรำเรี ยกว่ำควำมเร็ วไถล (Slip speed)

10
ควำมเร็ วของสนำมแม่เหล็กหมุนของโรเตอร์เมื่อเทียบกับสเตเตอร์
ให้ Nrf = ควำมเร็ วโรเตอร์ + ควำมเร็ วของสนำมแม่เหล็กหมุนของโรเตอร์ เมื่อเทียบกับตัวมันเอง
= Nr + Nrs
= Nr + sNs
= Nr + s2fp
= Nr + Ns – Nr
= Ns
หรื อ Nrf = Ns(1-s) + sNs ควำมเร็วของสนำมแม่เหล็กหมุนที่โรเตอร์เมื่อเทียบกับจุดนิ่งในที่วำ่ ง = ควำมเร็วสนำมแม่เหล็กหมุนของสเตเตอร์เสมอ

= Ns

11
ควำมถี่ที่เกิดขึ้นที่โรเตอร์ (Rotor frequency)
ถ้ำสเตเตอร์มี p ขั้วแม่เหล็กและถูกป้อนแรงดันที่ควำมถี่ f เฮิร์ทซ์ จะเกิดสนำมแม่เหล็กที่มีควำมเร็ ว
Ns = 2pf รอบ/วินำที ขึ้นที่สเตเตอร์ สนำมแม่เหล็กหมุนนี้จะเหนี่ยวนำทำให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ำที่มีควำมถี่ fr
ขึ้นที่โรเตอร์ นัน่ คือเมื่อโรเตอร์ ยงั ไม่หมุนก็จะเกิดขั้วแม่เหล็ก p ขั้วขึ้นที่ตวั มันด้วย ซึ่ งควำมถี่ของ
แรงเคลื่อนไฟฟ้ำที่โรเตอร์ ในสภำวะหยุดนิ่ งคือ pN2 s = fr = f ด้วย
เมื่อโรเตอร์ หมุนด้วยควำมเร็ ว Nr ทำให้ควำมถี่ของโรเตอร์ ต่ำงไปจำกควำมถี่ซิงโครนัสอยู่ Ns – Nr ทำ
ให้ควำมถี่ของโรเตอร์ มีค่ำเท่ำกับ fr นัน่ คือ
fr = p Ns2−Nr
= p N2rs
= p sN2 s
= sf
12
แรงเคลื่อนไฟฟ้ำที่เกิดขึ้นที่โรเตอร์ (Rotor induced voltage)

• ขณะโรเตอร์ ยงั ไม่หมุน


Eph = 2.22 N p g m f Ks Kc
= E2
• เมื่อโรเตอร์หมุน
Eph = sE2

13
วงจรสมมูลของโรเตอร์ (Rotor equivalent circuit)
sE2 E2
I2 = I2 =
R2 2
R22 + sX2 2 + X2 2
s

I2 R2 I2 X2

sE2=Er sX2 E2 R2
s

14
วงจรสมมูลของโรเตอร์ (Rotor equivalent circuit)
R2 R2 1−s 1
= R2 + − R2 = R2 + R2 = R2 + R2 −1
s s s s

I2 R2 X2

1
E2 RL = R2
s
−1

ภำระทำงกลของมอเตอร์

15
วงจรสมมูลต่อเฟสของมอเตอร์เหนี่ยวนำ (Induction motor equivalent circuit)

Ip = I1 R 1 X1 IL1 I2 R2
I0
N1 N2

V1 R0 X0 E1 sE2 sX2

Ideal transformer

วงจรสมมูลของมอเตอร์เมื่อมีแรงเคลื่อนไฟฟ้ำและรี แอกแตนซ์ของตัวหมุนเป็ นตัวแปร


16
วงจรสมมูลต่อเฟสของมอเตอร์เหนี่ยวนำ (Induction motor equivalent circuit)

Ip = I1 R 1 X1 IL1 I2 X2
I0
N1 N2

V1 R0 X0 E1 E2 R2
s

Ideal transformer

วงจรสมมูลของมอเตอร์เมื่อมี E2 และ X2 เป็ นตัวคงที่แต่มี Rs2 เป็ นตัวแปร


17
วงจรสมมูลต่อเฟสของมอเตอร์เหนี่ยวนำ (Induction motor equivalent circuit)
2 N1 2 R2
R1 X1
N1
X2
Ip = I1 IL1=I2 I2
N2 s
N2

I0
N1 N2

V1 R0 X0 N1
N2
E2= E2 E2
Ih+e I

Ideal transformer

วงจรสมมูลของมอเตอร์เมื่อย้ำยค่ำทำงโรเตอร์ไปไว้ทำงด้ำนสเตเตอร์
18
วงจรสมมูลอย่ำงง่ำยของมอเตอร์เหนี่ยวนำ (Simplified equivalent circuit)

Ip = I1 R1 X1 X2 =a2X2 R2 =a2R2

I0 I2 = I2 1
𝑎

V1 R0 X0 E2 =E1 RL = a2RL
= 𝑎2R2 1
−1
Ih+e I
s

ปริ มำณทำงฝั่งโรเตอร์ที่โอนมำอยูท่ ำงฝั่งสเตเตอร์

19
วงจรสมมูลอย่ำงง่ำยของมอเตอร์เหนี่ยวนำ (Simplified equivalent circuit)

Ip = I1 X01= X1+X2 R01= R1+R2


I0 I2 = I2
1
𝑎

V1 R0 X0 RL = a2RL
= 𝑎2R2 1
−1
Ih+e I
s

20
กระแสและตัวประกอบกำลังขณะที่โรเตอร์ยงั ไม่หมุน
ณ สภำวะที่โรเตอร์ ยงั ไม่หมุนจะทำให้ควำมถี่ที่ตวั มันมีค่ำเท่ำกับควำมถี่ของไฟฟ้ำที่ป้อนให้สเตเตอร์ ถ้ำ R2
และ X2 เป็ นค่ำควำมต้ำนทำนประสิ ทธิ ผล (Rac) และค่ำรี แอกแตนซ์รั่วซึ มขณะหยุดนิ่งของโรเตอร์
ดังนั้น อิมพิแดนซ์ของโรเตอร์ /เฟสคือ Z2 = R22 + X22
R2
และมีตวั ประกอบกำลังขณะอยูก่ บั ที่เป็ น cos 0 = ซึ่งเป็ นแบบ Lagging
R22 +X22
E2
กระแสที่ไหลในโรเตอร์คือ I2 =
R22 +X22

21
แรงบิดขณะที่โรเตอร์ยงั ไม่หมุน (Starting torque)
ขณะที่โรเตอร์ ยงั ไม่หมุนนั้นจะมีสนำมแม่เหล็กหมุนจำกสเตเตอร์ หมุนกวำดผ่ำนมันด้วยควำมเร็ ว
ซิ งโครนัส Ns โดยผ่ำนโรเตอร์ ดว้ ยควำมถี่เท่ำกับควำมถี่ของไฟฟ้ำที่ป้อนเข้ำมอเตอร์ จึงทำให้เกิดแรงบิดขณะ
อยูก่ บั ที่ดว้ ยขนำด To นัน่ คือกำลังไฟฟ้ำที่สเตเตอร์ ส่งให้โรเตอร์ (Pr) จะมีค่ำเป็ นกำลังกลเท่ำกับ 2 NsTo วัตต์
นัน่ คือ Pr = Power input to rotor = 2 NsTo
เนื่องจำกมอเตอร์ ยงั ไม่หมุน กำลังกลขำออก (Po) จึงเท่ำกับศูนย์ นัน่ คือกำลังที่โรเตอร์ รับเข้ำไปนี้จะ
กลำยเป็ นกำลังไฟฟ้ำในโรเตอร์ นัน่ คือ
2 NsTo = 3E2I2 cos 0
เมื่อ Ns = Synchronous speed (รอบ/วินำที)
To = Starting torque (นิวตันเมตร)
cos 0 = ตัวประกอบกำลังขณะที่มอเตอร์ ยงั อยูก่ บั ที่ (Stand still)

22
แรงบิดขณะที่โรเตอร์ยงั ไม่หมุน (Starting torque)
3E2 I2 cosθo
To =
2πNs
E2 R2 1
= 3E2 2πNs
R22 +X22 R22 +X22

3E22 R2 1
=
R22 +X22 2πNs
จำกกฎข้อ 3 ของนิวตันที่กล่ำวว่ำ “แรงกริ ยำย่อมเท่ำกับแรงปฏิกิริยำ” นัน่ คือ แรงที่เกิดขึ้นบนตัวหมุน(โรเตอร์) มี
ขนำดเท่ำกับแรงที่เกิดบนตัวอยูก่ บั ที่ (สเตเตอร์) ด้วย แต่มีทิศตรงกันข้ำม ดังนั้น กำลังที่ส่งออกมำจำกตัวอยูก่ บั ที่กค็ ือกำลังที่
ป้อนเข้ำไปให้ตวั หมุนนัน่ เอง
Pr กำลังทั้งหมดที่ป้อนให้กบั ตัวหมุน
To = = Nm
2πNs 2πNs

23
แรงบิดขณะที่โรเตอร์ยงั ไม่หมุน (Starting torque)
จะเห็นจำกสมกำรแรงบิดขณะเริ่ มหมุนว่ำ แรงบิดจะมีค่ำสู งเมื่อ X2 มีคำ่ ต่ำ นอกจำกนี้แรงบิดยัง
ขึ้นกับควำมต้ำนทำน R2 ด้วย โดยปกติแล้วในมอเตอร์ที่ตวั หมุนมี Slip ring นั้น มักใช้ควำมต้ำนทำนภำยนอก
ต่ออนุกรมเข้ำไปกับวงจรของตัวหมุนในขณะเริ่ มสตำร์ ทมอเตอร์ ทั้งนี้เพื่อจะทำให้ได้แรงบิดขณะเริ่ มหมุนดีข้ ึน
แต่โดยปกติแล้ว X2 จะมีค่ำสู งกว่ำ R2 มำก
ดังนั้นจึงต้องหำว่ำควำมต้ำนทำนในวงจรตัวหมุนควรเป็ นเท่ำใด จึงจะได้แรงบิดเริ่ มหมุนสู งสุ ด
𝑑 3E22 3E22
, K=
𝑑To R2 𝑑 R2
= = K =0
𝑑R2 𝑑R2 2πNs R22 +X22 𝑑R2 R22 +X22 2πNs
𝑑R2 𝑑 R2 2
2 +X2
2
K R2 +X2 2 −R2
𝑑R2 𝑑R2
= 2 =0
R22 +X22
= R22 + X22 − 2R22 = 0 R2 = X2 ***
ดังนั้นต้องทำให้ควำมต้ำนทำนของตัวหมุนมีค่ำเท่ำกับรี แอกแตนซ์รั่วซึ มจึงจะได้แรงบิดเริ่ มหมุนสู งสุ ด
3E22
และ To max =
4πNs X2
24
แรงเคลื่อนไฟฟ้ำ กระแส และตัวประกอบกำลังของตัวหมุนเมือ่ มีภำระ
เมื่อมอเตอร์ ได้รับภำระค่ำหนึ่ งทำให้ตวั หมุนมีควำมเร็ ว Nr ซึ่ งช้ำกว่ำควำมเร็ วซิ งโครนัส Ns ดังนั้น
ควำมเร็ วของสนำมแม่เหล็กหมุนเมื่อเทียบกับควำมเร็ วของตัวหมุนจึงมีค่ำเท่ำกับ
Ns – Nr = sNs รอบ/วินำที
ควำมเร็ วตัวหมุนที่ลดลงไปนี้ทำให้แรงเคลื่อนไฟฟ้ำของตัวหมุนมีค่ำลดลงไปจำก E2 กลำยเป็ น sE2
แรงเคลื่อนไฟของตัวหมุนต่อเฟส ณ ควำมเร็ ว Nr คือ sE2
ในทำนองเดียวกัน ควำมถี่ของตัวหมุนก็ลดลงจำก f Hz ในขณะที่ตวั หมุนหยุดนิ่ ง กลำยเป็ น sf Hz
ทำให้ Impedance ของตัวหมุนต่อเฟส ณ ควำมเร็ ว Nr คือ Z2 = R22 + sX2 2
sE2
กระแสต่อเฟสของตัวหมุน ณ ควำมเร็ ว Nr คือ I2 =
R22 +s2 X22
R2
และตัวประกอบกำลัง (pf.) ที่ควำมเร็ ว Nr คือ cos 2 =
R22 +s2 X22
25
แรงบิด กำลังกลที่ส่งออก และส่ วนสู ญเสี ยที่ตวั นำเมื่อมอเตอร์ได้รับภำระ

ให้ T คือแรงบิดที่เกิดขึ้นกับตัวหมุนซึ่ งก็มีค่ำเท่ำกับแรงบิดบนตัวอยูก่ บั ที่ดว้ ย


2 NsT = กำลังที่ส่งออกมำจำกตัวอยูก่ บั ที่ดว้ ยควำมเร็ วของสนำมแม่เหล็กหมุน Ns วัตต์
= กำลังที่ตวั หมุนรับเข้ำไป Pr = synchronous watt
กำลังกลที่เกิดขึ้นบนตัวหมุน(Mechanical power developed) = Pm
= T2 Nr วัตต์
= (1-s) T2 Ns วัตต์
= (1-s)Pr *****

26
แรงบิด กำลังกลที่ส่งออก และส่ วนสู ญเสี ยที่ตวั นำเมื่อมอเตอร์ได้รับภำระ
ในส่ วนของกำลังกลที่ส่งออกมำ (Po) เพื่อขับโหลดนั้น จะมีค่ำน้อยกว่ำ (Pm) เพรำะต้องนำกำลังส่ วน
หนึ่งไปชดเชยส่ วนที่สูญเสี ยเนื่องจำกแรงเสี ยดทำน ลมและกำรสู ญเสี ยที่แกนเหล็กและตัวนำของตัวหมุน แต่
เนื่องจำกในกำรทำงำนตำมปกติน้ นั ควำมถี่ที่เกิดกับตัวหมุนมีค่ำน้อยมำก ทำให้เรำตัดกำรสู ญเสี ยในแกนเหล็ก
ทิ้งไป
เรำทรำบว่ำกำลังที่ใส่ เข้ำไปให้กบั ตัวหมุน (Pr) = กำลังกลที่เกิดขึ้น (Pm) + ส่ วนสู ญเสี ยในตัวหมุนเนื่องจำก
ทองแดง (Pc)
แต่ Pm = (1-s)Pr
Pc = Pr – (1-s)Pr
= sPr
จำกกำรสังเกตกำลังทั้งสำมนี้พบว่ำ Pr : Pm : Pc = 1 : (1-s) : s *****

27
แรงบิด กำลังกลที่ส่งออก และส่ วนสู ญเสี ยที่ตวั นำเมื่อมอเตอร์ได้รับภำระ
เนื่องจำกส่ วนที่สูญเสี ยเนื่องจำกตัวนำที่ตวั หมุนทั้งสำมเฟส = 3I22 R 2
3s2 E22 R2
นัน่ คือ Pc = 2 2 2 วัตต์
R2 +s X2
Pc 3sE22 R2
กำลังที่ใส่ เข้ำไปที่ตวั หมุน = Pr = = 2 2 2 วัตต์
s R2 +s X2

กำลังกลที่เกิดขึ้นในตัวหมุน = Pm = 1 − s Pr
3s 1−s E22 R2
= วัตต์
R22 +s2 X22
พยำยำมทำให้โรเตอร์หมุน
3sE22 R2 1
แรงบิดที่เกิดขึ้นในตัวหมุน (Torque developed) = T = Nm
R22 +s2 X22 2πNs

จะเห็นว่ำแรงบิดของมอเตอร์ แรงดัน2 *****

28
คุณลักษณะของแรงบิด (Torque characteristic)
3sE22 R2 1
แรงบิดที่เกิดขึ้นในตัวหมุน (Torque developed) = T =
R22 +s2 X22 2πNs
3E22
และ To max = ซึ่ งเกิดขึ้นเมื่อสลิป (s) มีค่ำเท่ำกับ RX2
4πNs X2 2
เมื่อเรำนำสมกำรทั้งสำมนี้ ไปพลอตกรำฟระหว่ำงแรงบิดกับสลิป จะได้กรำฟดังนี้
Torque
To max

Tstart Operating region

S=1 S=0
Slip
S= R2
X2 29
กรำฟแรงบิดเมื่อควำมต้ำนทำนในวงจรโรเตอร์เปลี่ยนแปลง
สำหรับมอเตอร์เหนี่ยวนำชนิดโรเตอร์พนั ด้วยลวด(Wound type rotor) นั้น เรำสำมำรถเปลี่ยนพฤติกรรมด้ำนแรงบิด
ของมอเตอร์ได้โดยกำรปรับค่ำควำมต้ำนทำนภำยนอกที่ต่อกับโรเตอร์ โดยเมื่อควำมต้ำนทำนรวมในวงจรโรเตอร์เพิ่มขึ้น
จะทำให้จุดที่มอเตอร์ให้แรงบิดสู งสุ ดขยับไปทำงซ้ำยมำกขึ้นดังรู ป

Torque
To max
เมื่อโรเตอร์โดนลัดวงจร (R2 << X2)

R2 = X2

Tstart
R 2 > X2

S=1 S=0
Slip
30
กรำฟแรงบิดระหว่ำงมอเตอร์เหนี่ยวนำกับมอเตอร์กระแสตรง

Torque Torque
To max

Operating Operating
region region

No load
Speed No load
Speed

มอเตอร์เหนี่ยวนำ มอเตอร์กระแสตรงแบบชันท์

31
อัตรำส่ วนของแรงบิดที่ค่ำสลิปใดๆต่อแรงบิดสู งสุ ด
แรงบิดที่กำลังใช้งำน ณ สลิป s KsE22 R 2 2X2 T
= 2 ∙ =
แรงบิดสูงสุด R 2 + s 2 X22 KE22 Tmax

sR2 2X2
=
R22 +s2 X22

2sα
=
α2 +s2

R2
เมื่อ =
X2

32
อัตรำส่ วนของแรงบิดเริ่ มหมุนต่อแรงบิดสู งสุ ด
To KE22 R 2 2X2
= ∙
Tmax R22 + X22 KE22

2R2 X2
=
R22 +X22


=
α2 +1

R2
เมื่อ =
X2

33
เวกเตอร์ของมอเตอร์เหนี่ยวนำ
เนื่องจำกมอเตอร์ เหนี่ยวนำนั้นคล้ำยกับหม้อแปลงที่ขดลวดทุติยภูมิของมันหมุนได้ ดังนั้นเวกเตอร์
ของมอเตอร์ เหนี่ยวนำจะคล้ำยกับเวกเตอร์ ของหม้อแปลงนัน่ เอง มีที่ต่ำงกันก็คือส่ วนที่ 2 (secondary) ของ
มอเตอร์ ถูกลัดวงจรไป และค่ำแรงเคลื่อนไฟฟ้ำและรี แอกแตนซ์ทำงด้ำนที่ 2 หรื อตัวหมุนมีค่ำแปรเปลี่ยนไป
ตำมค่ำภำระของมอเตอร์ หรื อค่ำสลิป ซึ่ งเรำจะพิจำรณำเวกเตอร์ ของมอเตอร์ เหนี่ยวนำใน 3 กรณี ได้แก่
• ตอนที่โรเตอร์ เปิ ดวงจรและหยุดอยูก่ บั ที่
• ตอนที่โรเตอร์ ถูกลัดวงจรและหมุนด้วยควำมเร็ วขณะไร้ภำระ
• ตอนที่มอเตอร์ ได้รับภำระค่ำหนึ่ ง

34
เวกเตอร์ขณะที่โรเตอร์เปิ ดวงจรและหยุดอยูก่ บั ที่
Ip = I1 R1 X1 IL1 I2 = 0 R2 X2
I0
N1 N2

V1 R0 X0 E1 E2 V2

I0 R 1 I0
I0X1
E1
o E2
V1
35
เวกเตอร์ขณะที่โรเตอร์ถูกลัดวงจรและหมุนด้วยควำมเร็ วขณะไร้ภำระ

Ip
IpR1 I0
IpX1
1

E1 I2 sE2
V1 I2R2 I2sX2
I2

36
เวกเตอร์ขณะที่มอเตอร์ได้รับภำระ

Ip
I0
I2 sE2
IpX1 IpR1 0 I2sX2 E2
1
E1 I2R2 2
V1 I2X2

I2

37
วิธีกำรสตำร์ทมอเตอร์เหนี่ยวนำ (Starting methods)
ในขณะสตำร์ทมอเตอร์น้ นั จะมีกำรดึงกระแสจำนวนมำกจำกแหล่งจ่ำยเข้ำมอเตอร์ อำจ
ทำให้เกิดแรงดันไฟฟ้ำตกชัว่ ขณะอย่ำงมีนยั สำคัญ ซึ่งอำจส่ งผลต่ออุปกรณ์ไฟฟ้ำ
ข้ำงเคียง กำรสตำร์ทมอเตอร์เหนี่ยวนำมีหลำยวิธี ดังนี้
• Direct on Line (DOL) Start ใช้กบั มอเตอร์ขนำดไม่เกิน 3.7 kW
• Rotor Resistance Start ใช้กบั Wound rotor motor (มันมีสลิปริ งที่โรเตอร์)
• Star – Delta (Y- ) Start ใช้กบั มอเตอร์ที่มีโรเตอร์แบบกรง (Cage rotor)
• Autotransformer Start มักใช้กบั มอเตอร์แรงดันปำนกลำง (3.3 kV ขึ้นไป) หรื อ
มอเตอร์ที่มีสำยไฟฟ้ำโผล่ออกมำที่กล่องต่อสำยเพียงสำมเส้นเท่ำนั้น

38
Direct on Line (DOL) Start
• เป็ นวิธีที่ไม่ช่วยลดขนำดของกระแสขณะเริ่ มสตำร์ ทเลย
• กระแสขณะสตำร์ ทสู งที่สุด ซึ่ งอำจก่อให้เกิดปั ญหำแรงดันไฟฟ้ำในบริ เวณนั้นตกอย่ำงมีนยั สำคัญได้
• ให้แรงบิดขณะสตำร์ทสู งที่สุด
• วงจรสตำร์ ทง่ำยที่สุดเนื่องจำกใช้เบรคเกอร์ เพียงตัวเดียวเท่ำนั้นร่ วมกับโอเวอร์ โหลดรี เลย์ ส่ งผลให้รำคำถูก
ที่สุด
• มักใช้กบั มอเตอร์ ที่มีขนำดไม่เกิน 3.7 kW

39
วงจรกำรสตำร์ทแบบ DOL
R
Y
B
Circuit breaker

Motor windings
Y or connected
(Shown as Y)

ขณะสตำร์ทแรงดันที่ตกคร่ อมขดลวด = 100% กระแสแต่ละขดลวด = 100% แรงบิดขณะสตำร์ท = 100% กระแสที่แหล่งจ่ำยต้องจ่ำย = 100%

40
Rotor Resistance Start

Supply

Slip rings
Run Start
Stator
Rotor

Wound Rotor Induction Motor Starting Resistance

41
Star – Delta Start or Y - Start
R
Y
Stator windings B
X U Isolator
Y V
Rotor

Z W Run

Start Y
Y - switch
Change to when motor speed 75 - 80 % of rated speed

ขณะสตำร์ทแรงดันที่ตกคร่ อมขดลวดลดเหลือ 1/ 3 กระแสแต่ละขดลวดลดเหลือ 1/ 3 แรงบิดขณะสตำร์ทลดเหลือ 1/3 กระแสจำกแหล่งจ่ำยลดเหลือ 1/3

*** Only applicable with motors run in at line voltage ***


42
กรำฟแรงบิดของมอเตอร์ที่สตำร์ทแบบ Y-

Torque
Start Run

-curve

To
Y -curve
To/3
0 75 - 80 100
Speed (%)

43
Auto-transformer Start

xV1
V1 Auto-transformer

Start
Supply
Stator windings
Run

ขณะสตำร์ทแรงดันที่มอเตอร์ได้รับลดเหลือ x กระแสที่มอเตอร์ดึงลดเหลือ x แรงบิดขณะสตำร์ทลดเหลือ x2 กระแสจำกแหล่งจ่ำยลดเหลือ x2

44
กำรควบคุมควำมเร็ วมอเตอร์เหนี่ยวนำ
จำกสมกำรควำมเร็ วของโรเตอร์
2f
Nr = (1 – s) p
เรำจะเห็นว่ำกำรเปลี่ยนควำมเร็ วของมอเตอร์ เหนี่ยวนำทำได้หลำยวิธี ได้แก่
• เปลี่ยนค่ำสลิป s
• เปลี่ยนจำนวนขั้วแม่เหล็ก
• เปลี่ยนควำมถี่

45
กำรควบคุมควำมเร็ วโดยกำรเปลี่ยนค่ำสลิป
• ใช้ได้กบั มอเตอร์ แบบ Wound rotor เท่ำนั้น ซึ่ งทำโดยกำรเปลี่ยนค่ำควำมต้ำนทำนในวงจรโรเตอร์
• มีขอ้ เสี ยได้แก่
• มีควำมร้อนเกิดขึ้นในควำมต้ำนทำนที่ใช้ปรับ
• ควำมเร็ วที่ตอ้ งกำรปรับนั้นขึ้นกับแรงบิดของภำระด้วย
• มีช่วงกำรปรับควำมเร็วที่แคบ
Torque
To max
R2 = X2 (R2 = 0.59 X2) (R2 = 0.34 X2)
(R2 = 0.2 X2)

Load torque
(constant)
0 Speed
S=1 Speed range
0 Slip
46
กำรควบคุมควำมเร็ วโดยกำรเปลี่ยนจำนวนขั้วแม่เหล็ก
• จำกสมกำร Ns = 120f/p วิธีน้ ีใช้กำรเปลี่ยนจำนวนขั้วแม่เหล็กบนสเตเตอร์ ทำให้ได้ควำมเร็วซิ งโครนัสที่ห่ำง
กันเป็ นช่วงๆ ซึ่ งในประเทศไทยใช้ควำมถี่ 50 Hz ทำให้ได้ควำมเร็ วซิ งโครนัสดังนี้

P 2 4 6 8 10 12 14 16 18
NS(rpm) 3000 1500 1000 750 600 500 428.57 375 333.33

• กำรควบคุมควำมเร็ วด้วยกำรเปลี่ยนจำนวนขั้วแม่เหล็กใช้ได้เฉพำะกับมอเตอร์ ที่โรเตอร์ เป็ นแบบกรง


กระรอกเท่ำนั้น เพรำะโรเตอร์ชนิ ดนี้สำมำรถปรับจำนวนขั้วแม่เหล็กบนตัวมันให้เท่ำกับจำนวนขั้วแม่เหล็ก
บนสเตเตอร์ได้
• สเตเตอร์ ตอ้ งมีจำนวนชุดขดลวดเท่ำกับจำนวนควำมเร็ วที่ตอ้ งกำร ทำให้ขดลวดสเตเตอร์ซบั ซ้อน

47
กำรควบคุมควำมเร็ วโดยกำรเปลี่ยนควำมถี่

• จำกสมกำร Ns = 120f/p หำกเรำเปลี่ยนควำมถี่ของไฟฟ้ำที่ป้อนให้มอเตอร์ กจ็ ะทำให้ควำมเร็ วเปลี่ยนได้


• ข้อควรระวังคือหำกลดควำมถี่ตอ้ งลดแรงดันลงตำมด้วยอัตรำส่ วนที่เท่ำกัน เพื่อป้องกันควำมหนำแน่นฟลักซ์
แม่เหล็กมีค่ำเกินพิกดั ของมอเตอร์
• ปัจจุบนั นิยมใช้อินเวอร์เตอร์ในกำรปรับควำมถี่ของกระแสไฟฟ้ำที่ป้อนให้มอเตอร์ ซึ่ งมีคุณสมบัติเด่นคือ
• รำคำถูก
• กะทัดรัด
• ต่อกับระบบควบคุมอัตโนมัติได้ง่ำย
• ให้ยำ่ นกำรปรับควำมเร็วที่กว้ำงมำก (0 – 200%)

48
กำรใช้อินเวอร์เตอร์ในกำรเปลี่ยนควำมถี่มอเตอร์เหนี่ยวนำ

Inverter
50 Hz 1 - 100 Hz
3-Phase
3-Phase
Ind.
source
Motor

49
มอเตอร์ที่มี 2 กรงซ้อนกัน (Double-cage motor)

• เป็ นมอเตอร์ซ่ ึ งโรเตอร์ มีกรงตัวนำ 2 กรงซ้อนกัน โดยกรงชั้นนอก (อยูใ่ กล้ผวิ โรเตอร์ ) เป็ นตัวนำขนำดเล็ก
ทำให้มีควำมต้ำนทำนมำกแต่รีแอกแตนซ์นอ้ ย ส่ วนกรงชั้นใน (อยูล่ ึกเข้ำไปจำกผิวโรเตอร์ ) เป็ นตัวนำขนำด
ใหญ่ทำให้มีควำมต้ำนทำนน้อยแต่รีแอกแตนซ์มำก
• ทำให้มอเตอร์ ชนิดนี้ ให้แรงบิดขณะเริ่ มหมุนสู งและมีแรงบิดขณะรับภำระและประสิ ทธิ ภำพสู ง

50
กำรจัดวำงตัวนำ วงจรสมมูลและกรำฟคุณลักษณะ

R2 Torque

X2
R2 X2
Combined
Lower
X1 R1 cage
R1
X1 Upper
cage
Speed

51
ลำดับขั้นกำลังของมอเตอร์เหนี่ยวนำ

กำลังกลที่ส่ง
กำลังกลทั้งหมด
กำลังไฟฟ้ำที่ กำลังที่ส่งต่อ ออกไปเพื่อขับ
ที่เกิดขึ้นหรื อ
มอเตอร์ ไปยังโรเตอร์ เคลื่อนภำระ
แรงบิดทั้งหมด
ได้รับ

กำลังสู ญเสี ย
กำลังสู ญเสี ย เนื่องจำกแรง
กำลังสู ญเสี ย
ที่โรเตอร์ ต้ำนของลมและ
ที่สเตเตอร์
เนื่องจำกแกนเหล็ก ควำมเสี ยดทำน
เนื่องจำกแกนเหล็ก
และตัวนำ
และตัวนำ

52
ผังวงกลม (Circle diagram)

• เป็ นไดอะแกรมครึ่ งซี กบนแกนตั้งฉากคู่หนึ่ งซึ่ งแสดงคุณลักษณะของมอเตอร์ เหนี่ยวนา ทาให้เราสามารถ


ทานายค่าต่างๆของมอเตอร์ เจ้าของผังวงกลมนี้
• มีพ้นื ฐำนที่วำ่ เมื่อมอเตอร์ ได้รับภำระจนมีสลิปที่ค่ำ s ใดๆนั้น ย่อมทำให้วงจรสมมูลของโรเตอร์ ซ่ ึ งมี R2/s
เป็ นตัวแปรตัวเดียวและมี E2 และ X2 เป็ นค่ำคงที่ จุดปลำยของเวกเตอร์ I2 จะมีเส้นทำงโคจรเป็ นรู ปครึ่ ง
วงกลมเนื่องจำก I2sR2+I2 jX2 ต้องทำมุมกัน 90 และมีค่ำเป็ น E2 เสมอไม่วำ่ ค่ำ s จะเป็ นเท่ำใดก็ตำม

53
ผังวงกลม (Circle diagram) บนฝั่งโรเตอร์อย่ำงเดียว
E2
E2 jX2 I2 R2 E2
I2 = R2 = R I2 + =
+jX2 1+ 2 jX2 s jX2
s jX2 s

E2

I2
I2 R2
jX2 s

E2
jX2

54
จุดต่ำงๆบนผังวงกลม (Circle diagram) บนฝั่งสเตเตอร์
Vph Slip Increasing
Reff. Decreasing

2
Locus of Ip and IL1 c Standstill S = 1: Reff = R1+ N1
N2
R2

b S = : Rs2 =0, Reff = R1


IL1
Ip
Sync. speed S = 0: Reff =
d a
Io Iw Reff = 0
Im
จุด a เป็ นจุดในจินตนำกำรที่ว่ำ R1 + R2 = 0 จุดนีก้ ระแสมีขนำดสูงสุด
จุด b โรเตอร์หมุนสวนทำงกับสนำมแม่เหล็กหมุนด้วยควำมเร็วสูงมำก ไม่เกิดขึน้ ในกำรใช้งำนทั่วไป มอเตอร์มี R เฉพำะ R1 เท่ำนัน้
จุด c โรเตอร์หยุดนิ่งและโดนลัดวงจร
จุด d โรเตอร์ถกู ทำให้หมุนด้วยควำมเร็วซิงโครนัส 55
กำรเก็บข้อมูลเพื่อนำมำสร้ำงผังวงกลม

ข้อมูลสำหรับนำมำสร้ำงผังวงกลมได้มำจำก
• Noload test ทำกำรบันทึกค่ำแรงดัน VO, กระแส IO, กำลังต่อเฟส WO ณ สภำวะไร้ภำระที่แรงดันพิกดั
• Locked rotor test ทำกำรบันทึกค่ำแรงดัน VSC, กระแส ISC, กำลังต่อเฟส WSC ณ สภำวะที่โรเตอร์ ถูกล็อก
ไม่ให้หมุน ณ กระแสพิกดั แล้วคูณขยำยค่ำมำเป็ นค่ำถ้ำหำกป้อนแรงดันที่พิกดั ให้มอเตอร์
• Stator resistance test ทำกำรบันทึกค่ำควำมต้ำนทำนของขดลวดสเตเตอร์

56
ลำดับขั้นในกำรสร้ำงผังวงกลม
1. กำหนดอัตรำส่ วน แอมแปร์ /ซม. สำหรับใช้ในกำรวำดผังวงกลม
2. จำกผลกำรทดลองขณะไร้ภำระซึ่ งเรำบันทึก Vo, Io และ Wo ทำให้เรำสำมำรถหำค่ำ o ได้ ดังนั้นเรำจึง
สำมำรถวำดเวกเตอร์ Io (O-O ) ทำมุม o กับแรงเคลื่อนไฟฟ้ำที่ป้อนเข้ำไป ดังรู ป
Vph

Io
o O
O
57
ลำดับขั้นในกำรสร้ำงผังวงกลม
3. ลำกเส้น O -D ให้ขนำนกับเส้นนอน ดังรู ป

Vph

Io
o O
O
58
4. เปลี่ยนค่ำ VSC และ ISC ที่ได้จำกกำรทดสอบล็อคโรเตอร์ ไปเป็ นค่ำบนฐำนแรงดันพิกดั ของมอเตอร์ ISN ด้วยสมกำร
V
ISN = ISC ×
VSC
เมื่อ V คือแรงดันพิกดั ของมอเตอร์
5. จำกค่ำ VSC, ISC และ WSC ทำให้เรำคำนวณค่ำ S ได้ เรำจึงวำดเวกเตอร์ O-A ทำมุม S กับแรงเคลื่อนไฟฟ้ ำที่ป้อน ดังรู ป

Vph

ISN

S Io O
O
59
ลำดับขั้นในกำรสร้ำงผังวงกลม
6. ลำกเส้นเชื่อม O - A ซึ่ ง O - A นี้แทนกระแส I2 ที่ได้ยำ้ ยไปอยูท่ ำงด้ำนสเตเตอร์แล้ว
7. แบ่งครึ่ งเส้น O - A แล้วลำกเส้นตั้งฉำกกับ O - A ณ จุดกึ่งกลำงเส้นนั้นไปตัดกับเส้น O - D ที่จุด C

Vph

ISN

O C
S Io
O
60
ลำดับขั้นในกำรสร้ำงผังวงกลม
8. ใช้จุด C เป็ นจุดศูนย์กลำง กำงวงเวียนรัศมี C-O วำดครึ่ งวงกลมเริ่ มจำก O ผ่ำนจุด A ไปสิ้ นสุ ดที่ D
ในกำรวำดผังวงกลมควรวำดด้วยรัศมีไม่นอ้ ยกว่ำ 10 ซม. เพื่อให้ตีควำมจำกระยะต่ำงๆบนผังเป็ นค่ำที่ตอ้ งกำรทรำบได้ละเอียด

Vph

ISN

O C D
S Io
O
61
ลำดับขั้นในกำรสร้ำงผังวงกลม
9. ลำกเส้นดิ่ง A-G จำกจุด A มำตัด O - D ที่จุด F และแกนนอนที่จุด G
จะเห็นว่ำเส้นดิ่งทุกเส้นคือส่วนของกระแสที่ทำให้เกิดกำลังไฟฟ้ำ เช่น FG คือ No-load Loss, AG คือ Input power ขณะล็อคโรเตอร์ เป็ นต้น

Vph

ISN

F
O C D
S Io
O G
62
10. หำเส้นแรงบิด (Torque line) ซึ่ งเป็ นเส้นที่แยก Cu. Loss บนสเตเตอร์ และโรเตอร์ ออกจำกกัน ซึ่ ง A- F คือ Cu.
Loss รวมในขณะที่โรเตอร์ถูกล็อคและป้อนด้วยแรงดันพิกดั จุด E บนเส้น A – F หำได้จำก
AE ส่ วนสู ญเสี ยที่ขดลวดของโรเตอร์
=
EF ส่ วนสู ญเสี ยที่ขดลวดของสเตเตอร์
Vph

ISN
E

F
O C D
S Io
O G
63
กำรหำตำแหน่งจุด E กรณี โรเตอร์เป็ นแบบกรงกระรอก
เมื่อโรเตอร์เป็ นแบบกรงกระรอก หำได้จำกกำรวัดควำมต้ำนทำน R1 ของสเตเตอร์ กบั ค่ำ WSC ที่วดั ได้ขณะทำ
กำรล็อคโรเตอร์ ซึ่ งค่ำ WSC นี้เป็ นค่ำควำมสู ญเสี ยในตัวนำทั้งสเตเตอร์และโรเตอร์ เมื่อป้อนแรงดัน VSC ดังนั้น
ถ้ำป้อนแรงดันพิกดั ให้กบั มอเตอร์ กำลังสู ญเสี ยในตัวนำทั้งสองส่ วนจะกลำยเป็ น
2
I
WSN = WSC SN
ISC

∵ Cu. Loss ที่สเตเตอร์หำกโรเตอร์ ถูกล็อค ณ แรงดันพิกดั (V) = 3(ISN)2R1


∴ Cu. Loss ที่โรเตอร์ หำกโรเตอร์ ถูกล็อค ณ แรงดันเดียวกัน = WSN - 3(ISN)2R1
AE WSN −3 ISN 2 R1
∴ EF
=
3 ISN 2 R1

64
กำรหำตำแหน่งจุด E กรณี โรเตอร์เป็ นแบบพันด้วยลวด
เมื่อโรเตอร์ เป็ นแบบพันด้วยลวด ควำมต้ำนทำนของโรเตอร์ และสเตเตอร์ ต่อเฟส (R2 และ R1) หำได้โดยง่ำยจำก
กำรวัด ดังนั้นจึงหำจุด E ได้ง่ำย
2
AE I22 R2 R2 I2
∴ = =
EF I21 R1 R1 I1
I2
และ ∵ =a
I1
AE R2
∴ = 𝑎 2
EF R1
กำรหำจุด E นี้ นอกจำกหำได้โดยวิธีขำ้ งต้นแล้ว ก็อำจหำได้จำก Cu. Loss ที่สเตเตอร์เพียงเฟสเดียวคือ (ISN)2R1
ISN 2 R1 วัตต์Τเฟส
นัน่ คือ EF = Vph
= โวลท์Τเฟส (แอมป์ )
ค่ำ EF ที่ได้น้ ีอยูใ่ นรู ปของกระแส
65
ลำดับขั้นในกำรสร้ำงผังวงกลม
11. ลำกเส้น O - E ก็จะได้ผงั วงกลมที่พร้อมใช้งำน

Vph

F
O C D
S Io
O G
66
กำรพยำกรณ์ค่ำต่ำงๆของมอเตอร์เหนี่ยวนำจำกผังวงกลม
Vph
R
Y 100% PF. A

I Max. PF.
Rotor

Max. output

Max. torque
Cu. loss

Max. input

Locked input
E
P Q Stator
U Cu. loss
V
F
S
O W C D
0 Io Fixed loss
O X Z S G

มอเตอร์กำลังทำงำน ณ จุด T บนผังวงกลม ด้วยสลิป s แรงดันไลน์ VL กระแสไลน์ IP = I1 ตัวประกอบกำลัง cos

67
กำรพยำกรณ์ค่ำต่ำงๆของมอเตอร์เหนี่ยวนำจำกผังวงกลม
กำลังไฟฟ้ำอินพุทของมอเตอร์ = 3VL TX
กำลังสู ญเสี ยคงที่ = 3VL WX
Stator Cu. Loss = 3VL VW
Rotor Cu. Loss = 3VL UV
Total Losses = 3VL UX
กำลังที่ส่งไปให้โรเตอร์(Pr) = 3VL TV = Synchronous watt
กำลังที่ส่งออกมำ (Output power) = 3VL TU
Pc UV
สลิป (s) = =
Pr TV

68
กำรพยำกรณ์ค่ำต่ำงๆของมอเตอร์เหนี่ยวนำจำกผังวงกลม
TU
ประสิ ทธิภำพ =
T𝑋
ควำมเร็วจริง กำลังที่โรเตอร์สง่ ออก TU
= =
ควำมเร็วซิงโครนัส กำลังที่โรเตอร์รบั เข้ำไป TV
∵ แรงม้ำ 746 = 3VLNQ = 2 NST
3VL NQ
∴T=
2πNS
กำลังกลสู งสุ ดที่ส่งออกมำ = 3VL MP

69
กำรพยำกรณ์ค่ำต่ำงๆของมอเตอร์เหนี่ยวนำจำกผังวงกลม
กำลังไฟฟ้ำสู งสุ ดที่มอเตอร์ ตอ้ งกำร = 3VL RS
OI
ตัวประกอบกำลังสู งสุ ด = OY
TX
ตัวประกอบกำลัง ณ จุดทำงำน T = OT

** ในกำรวำดผังวงกลมนัน้ ค่ำแรงเคลื่อนไฟฟ้ำและกระแสอำจเป็ นค่ำของเฟสหรือไลน์ทงั้ หมดก็ได้ ส่วนแกนกำลังที่อยู่ในแนวดิ่งมักแทนกำลังของทัง้ 3 เฟสเลย**

70

You might also like