You are on page 1of 21

เอกสารประกอบการสอนวิชา ฟิสิกส์ 2

กฎของฟาราเดย์และการเหนี่ยวนา
AP-TUTOR รับสอนพิเศษพื้นฐานวิศวกรรมและวิทยาศาสตร์

รวบรวมและจัดทาโดย
นายฐาปกรณ์ ธงหาร วศ.บ.ไฟฟ้า ม.นเรศวร
(เอกสารประกอบ Raymond A. Serway - Emeritus, James Madison University)
1
กฎของฟาราเดย์และการเหนี่ยวนา
ahhhh
'

➢ กฎของฟาราเดย์ ri ik I n id id w n i no aiddinn . s
. so i n

➢ แรงเคลื่อนไฟฟ้าเมื่อขดลวดเคลื่อนที่
➢ กฎของเลนซ์
➢ การเหนี่ยวนาตัวเอง
➢ วงจรเหนี่ยวนา (วงจร RL)

2
บทที่ 7 กฎของฟาราเดย์และการเหนี่ยวนา
7.1 กฎของฟาราเดย์
ไมเคิล ฟาราเดย์ (Michael Faraday,
1791-1867) ท า ก า ร ท ด ล อ ง ศ ึ ก ษ า
แรงเคลื ่ อ นไฟฟ้ า ที ่ เกิ ด จากการ
เปลี่ยนแปลงของสนามแม่เหล็ก พบว่า
§
การเปลี่ยนแปลงสนามแม่เ หล็กที่ผ่า น IS.ms as

พื้นที่หน้าตัดของขดลวดจะเหนี่ยวนาให้
เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าทาให้มีกระแสไฟฟ้า d B
=−
ในขดลวด โดยแรงเคลื่อนไฟฟ้าที่เกิดขึ้ น dt
นี ้ เ กิ ด จากการเปลี ่ ย นแปลงของฟลั ก ซ์ d B
= −N
แม่เหล็ก B ที่ผ่านหน้าตัด A ของลวด Trude nsoinohihhnuovod
'
du→
.
dt
Nc ivrswsovvoovnoon d
ตัวนาวงปิด เขียนสมการได้ดังนี้ = − N ( BA cos )
qnridtweudwuwd.hn
dolls
Udine
dt
3
nsdsnwndiaonsoiissii.su

§ ,
a BAC
Apa

B z
Smw Indian CT)

A- a lsnimoowdwnsumnaannnvmonnnvsiwiv A

Murari du Doom on NEW admin


+ -

marinading does ,
fndniohhoiwiwiipvnmwsmwudu.sn
idnnoiariauh
ruin rhinitis miniature, riwrwmnn 280

¥← endure ,

T
• •

I C
-
t
บทที่ 7 กฎของฟาราเดย์และการเหนี่ยวนา
ตัวอย่างคานวณ N
ตัวอย่างที่ 1 คอยล์ทาจากลวดตัวนาพันเป็นจานวน 200 รอบ พันเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส มีความยาว
ด้านละยาว 18.00 cm และให้สนามแม่เหล็กสม่าเสมอผ่านตั้งฉากกับระนาบคอยล์ ถ้าสนามแม่เหล็กเพิ่มขึ้น
D8
สม่าเสมอจาก 0 เป็น 0.50 T ในช่วงเวลา 0.8 s It 20.1

1.) ขนาดของแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาที่เกิดขึ้นเป็นเท่าใด
08

R
2.) ถ้าต่อวงจรกับถ้าลวดความต้านทาน 2 โอห์ม จะมีกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนาเป็นเท่าใด
B speed Ea - N d- Chaos as I -1¥
V2 IR
At

x x X
{ a f- 200)
oo.Igco.HICO.io/cosK)) 4.052 ICZ)

I
X X X E e -
4.05W 240=5
I 22025 A

/ µ
't E ' 405 V
+
#
µ,
-

- run 4
pet
บทที่ 7 กฎของฟาราเดย์และการเหนี่ยวนา
ตัวอย่างคานวณ
ตัวอย่างที่ 2 วงปิดเส้นลวดพื้นที่ A วางในบริเวณที่มีสนามแม่เหล็กที่มีทิศตั้งฉากกับระนาบวงปิด ขนาดของ
สนามแม่เหล็กมีค่าเปลี่ยนแปลงตามเวลาดังสมการ B = Bmax e− at เมื่อ a คือค่าคงที่ ที่ t= 0 จงหาค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนา
ในวงปิดที่เป็นฟังก์ชันของเวลา Bz Boyett
daff Bz Brax
2 prism so

NA B Eater)
dd ga
-

:÷÷:÷÷÷ !
M E z -

dt

EEA
w

E -

NA B
Eaten,
:
d
e
BA cos @
Ea -

" -
nanites
:
.
.

5
บทที่ 7 กฎของฟาราเดย์และการเหนี่ยวนา
ตัวอย่างคานวณ N 215 L

ตัวอย่างที่ 3 ขดลวดจานวน 15 รอบ มีรัศมี 10.00 cm พันรอบขดลวดโซลินอยด์ยาวที่มีรัศมี 2.00 cm และ


จานวนขด 1000 รอบต่อเมตร กระแสในขดลวดโซลินอยด์เปลี่ยนแปลงดังสมการ I = 5.00sin120t จงหาแรงเคลื่อนไฟฟ้า
เหนี่ยวนาในขดลวดจานวน 15 รอบในฟังก์ชันของเวลา
{2 NA Cosa > d Noni
N 215 AT Ia 55in Chot)
-

TH
CM
R z 10
en E E -
NA pond I
null
e

'm '
he tooo Id
A van { a
-
Ndfb
r z 2cm

day
-

→ dt E e -
NA
prom 's sinned
B

z
-

NI HANSA
It 5054204.120
{
z NA
Mon
-

{ z NA Cosa
-
113
At e
-

Nearly pron 5054204.120

an B furs .mn z -
N car's peon 1200502017

Bc NONI 2 -15 (
Nnxfzxio}} 4T xioxioooxooocoscirot)
T z 7.106 X to
}

6
บทที่ 7 กฎของฟาราเดย์และการเหนี่ยวนา
Ingo ildvuurryouaodw
7.2 แรงเคลื่อนไฟฟ้าเมื่อขดลวดเคลื่อนที่
,

n' Putian irosnoonthhn 181

เมื่อตัวนาเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็กจะทาให้เกิด
แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาในเนื้อตัวนาเนื่องจาก
9
การเคลื่อนที่ พิจารณาแท่งตัวนายาว เคลื่อนที่ไป ⑦
G
ทางขวาด้ ว ยความเร็ ว v ในสนามแม่ เ หล็ ก
สม่าเสมอมีทิศพุ่งเข้าระนาบดังรูป เมื่อแท่งตัวนา
เคลื่อนที่ทาให้ประจุที่อยู่ในแท่งตัวนาเคลื่อนที่ไป :
ทางขวาด้วยดังนั้นจะมีแรงเนื่องจาก n
PB

สนามแม่เหล็ก ทาให้ประจุลบไปสะสมที่ด้านล่าง d B dx
และประจุบวกที่ด้านบนของตัวนา ประจุที่สะสม IET =− = − Bl = − Blv
dt dt
จะสร้างสนามไฟฟ้า E มีทิศชี้ลงจากประจุบวกไป Tba ILBSIN @ Er

B '
unintended
em " ' '
'

n
cus t

IV.
-

-
amuauord.in
nnniolvmsinoarbwniini.cm/s1

ยั ง ประจุ ล บท าให้ เ กิ ด แรง ต้ า นการสะสมของ Fpga IJd5×B


B 2l 2 v 2 2
ประจุดังนั้นเมื่อประจุที่สะสมมากขึ้นจนทาให้แรง p -
= IlBv = =
cu,
R R
เพิ่มขึ้นจนสมดุล For
บทที่ 7 กฎของฟาราเดย์และการเหนี่ยวนา
7.3 กฎของเลนซ์
ถ้ า พิจ ารณาการเคลื่ อนที่ ของแท่ ง แม่ เหล็ กผ่า นลวดวงปิด เมื ่อ เคลื ่อ นขั ้ว เหนื อของแท่ง แม่เ หล็ ก เข้า ใกล้ วง ปิ ดโดย
สนามแม่เหล็กมีทิศไปทางขวาทาให้ฟลักซ์แม่เหล็กที่ผ่านวงปิดมีค่าสูงขึ้น วงปิดจะสร้างสนามแม่เหล็กทิศไปทางซ้ายเพื่อต่อต้าน
การเพิ่มขึ้นของฟลักซ์จากแท่งแม่เหล็ก จึงเกิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนาในวงปิดดังรูปซึ่งเป็นไปตามกฎมือขวาเมื่อให้นิ้วโป้งแทนทิศ
ของสนามแม่เหล็กที่ต่อต้านการเปลี่ยนแปลงของฟลักซ์นิ้วทั้งสี่แทนทิศของกระแสไฟฟ้าในวงปิดสังเกตว่าเมื่อ แท่งแม่เหล็ก
เคลื่อนเข้าใกล้วงปิดจะสร้างสนามแม่เหล็กเหมือนผลักแท่งแม่เหล็กออก
เมื่อเคลื่อนขั้วเหนือของแท่งแม่เหล็กออกจากวงปิดโดยสนามแม่เหล็กมีทิศไปทางขวา ทาให้ฟลักซ์แม่เหล็กที่ผ่านวงปิดมีค่า
ต่าลง วงปิดจะสร้างสนามแม่เหล็กทิศไปทางขวาเพื่อต่อต้านการลดลงของฟลักซ์จากแท่งแม่เหล็ก จึงเกิดกระแสไฟฟ้ าเหนี่ยวนา
ในวงปิดดังรูปซึ่งเป็นไปตามกฎมือขวาเมื่อให้นิ้วโป้งแทนทิศของสนามแม่เหล็กที่ต่อต้านการเปลี่ยนแปลงของฟลักซ์นิ้วทั้งสี่แทน
ทิศ ของกระแสไฟฟ้าในวงปิด สังเกตว่าเมื่อแท่งแม่เหล็กเคลื่อนออกจากวงปิดจะสร้างสนามแม่เหล็กเหมือนดึงดูดแ ท่งแม่เหล็ก
เข้า จะเห็นว่าสาเหตุของแรงเคลื่อนไฟฟ้า เหนี่ยวนานั้นเกิดจากการเคลื่อนที่ของแท่งแม่เหล็กที่ ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงฟลักซ์
แม่เหล็กที่ผ่านวงปิด
บทที่ 7 กฎของฟาราเดย์และการเหนี่ยวนา
7.3 กฎของเลนซ์
บทที่ 7 กฎของฟาราเดย์และการเหนี่ยวนา
ตัวอย่างคานวณ
ตัวอย่างที่ 4 พิจารณาการวางอุปกรณ์ในรูป สมมติว่า R=6.00 โอห์ม l=1.20 เมตร และมีสนามแม่เหล็กสม่าเสมอ
2.50 เทสลา มีทิศพุ่งเข้ากระดาษ
1.) จงหาแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนาที่เกิดขึ้นถ้าแท่งตัวนาที่เลื่อนเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 2 เมตรต่อวินาที บนรางที่มีแรงเสียด
ทานน้อยมากๆ
② mp
2.) อัตราพลังงานที่ส่งไปยังตัวต้านทาน
① UE Pa KI
on
R

E . - Blu p a 1-61
6
{ z -
2-54.27×2

P -
6W
Ee -

5¥x¥o×y
a
{ e - b

Ir Rar r

I 2 1.2 M

B z 2.5 T 10
บทที่ 7 กฎของฟาราเดย์และการเหนี่ยวนา
ตัวอย่างคานวณ
ตัวอย่างที่ 5 พิจารณาการวางอุปกรณ์ในรูป สมมติว่า R=9.00 โอห์ม l=0.350 เมตร และมีสนามแม่เหล็ก
สม่าเสมอ 0.300 เทสลา มีทิศพุ่งเข้ากระดาษ
1.) จงหาความเร็วของแท่งตัวนาไปทางขวาที่ทาให้เกิดกระแส 8.50 แอมแปร์
2.) ทิศทางของกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนา
⑤ dnnwbauiddulddvriinYun.is

I
3.) อัตราพลังงานที่ส่งไปยังตัวต้านทาน ① nip

tune k¥512
I 28.50 a 120.350 DVZIR
on P2
R2 9 R B 20.3
276.5 V
⑨ I { I 28.5×9

LEI a Blu z
650.25 Wife
HIS
ve
lµq= 0.3×0.35


2728.57
Mts

11
บทที่ 7กฎของฟาราเดย์และการเหนี่ยวนา
ตัวอย่างคานวณ
ตัวอย่างที่ 6 รางคู่ไม่มีแรงเสียดทาน วางห่างกัน 10 cm และต่อเข้ากับตัวต้านทานที่มีค่าความต้านทานไฟฟ้า
R3=5.00 โอห์ม และวงจรยังประกอบด้วยแท่งโหละตัวนาสองอันที่มีค่าความต้านไฟฟ้า R1=10 โอห์ม และ R2=15 โอห์ม ไถล
ไปตามรางดังรูป ถ้าแท่งที่ 1 เลื่อนด้วยความเร็ว V1=4.00 m/s และแท่งที่ 2 เลื่อนด้วยความเร็ว V2=2.00 m/s หาก
สนามแม่เหล็กมีค่าสม่าเสมอ 0.010 T จงหากระแสไฟฟ้าที่วิ่งผ่าน R3
Azz 5h RIZ 10 R
G, e
-
BW

.iq?iI.q:.::::::.
d.210am Ra . 15 R
E, It

:
°

"
III Ea . -

④ Eez oExio2
Ez Z O 002
-
U

12
Kul Irwin
--

}
/
EV o
Rz
-

Iz
-

EitIiRytIyRy a O ①

t¥q
-

IN "
ISB -

I'm -

Ea - O - O

}
,
,
R IF I -4%4 accost Isch - O

↳ -
1,401 TISCH z 4×103


15 Iz II,
-
a 2×103
IS Ku
doin a

on EIin a { font
Ii ? Ii -113

2×105+513
"
4×10 -
5 Iz z
+ Iz
10 15

in 30
opinion

12×15
"
-
15 Ig 24×18+10 Ig 730 Iz

12×101 -
4×10-5 e 55Iy
Is a 8×10-3
-
55

Iz 2 O - 145×101 #
บทที่ 7 กฎของฟาราเดย์และการเหนี่ยวนา
ตัวอย่างคานวณ
ตัวอย่างที่ 7 พิจารณาการวางอุปกรณ์ในรูป สมมติว่ามีความต้าน R แท่งตัวนามีความยาว l และมีมวล m โดยแท่ง
ตัวนามีความเร็วเริ่มต้น Vi ไปทางขวาและถูปปล่อยที่เวลา t=0 จงใช้กฎของนิวตัน หาความเร็วของแท่งในรูปฟังก์ชันของเวลา l

nd tzo B Ncos - this 812×2 Max

on Efx . Max
(Injun .
z -

BLIN Ctjot
-

Ra
Z
m
dy
I
Inv lnviz
line 't)
dt
q
- -

Rs

-14351nA andy
← at

|
Inv lnvi
tetemsinoamdux
a +

It
-

Yusa .nl/EIamdua; y .
Eight
-ilnvi

-11×115 mdf;
erteh
-

"
Indu .
- -

riiat be
my J# dux . -

Jtoniindt V e
Etta
-

13
. vie
บทที่ 7 กฎของฟาราเดย์และการเหนี่ยวนา
ตัวอย่างคานวณ
ตัวอย่างที่ 8 ตัวนายาว หมุนด้วยอัตราเร็งเชิงมุมคงที่ รอบจุดหมุนที่ปลายด้านหนึ่งสนามแม่เหล็กสม่าเสมอ B
จงหาแรงเคลื่อนไฟฟ้าเคลื่อนที่ที่ถูกเหนี่ยวนาระหว่างปลายทั้งสอง
E e
- BI V
M

de - -
BDRM

de z
-
Bdr Cwm
Y e

→ Idea fbwrdr
/ O O

&
E z
-

{ Bwrdn
£ E e
-
Bw
LET :O
{
( E)
a - ow

Bwi
E
-
z
v
z *

14
บทที่ 7 กฎของฟาราเดย์และการเหนี่ยวนา
7.4 การเหนี่ยวนาตัวเอง
วงจรไฟฟ้าใดใดจะมีลักษณะเป็นวงปิดเสมอเริ่มต้น ไม่มี
กระแสไฟฟ้ า ในวงจรแต่เ มื ่ อต่ อ สวิ ต ซ์ใ ห้ ม ีก ระแสไฟฟ้ า
กระแสไฟฟ้านี้จะทาให้เกิดสนามแม่เหล็กมีทิศทะลุ ผ่านวง
ปิดดังรูป (จากกฎมือขวาโดยให้นิ้วโป้งแทนทิศของกระแส dI
L = −L
นิ้วทั้งสี่แทนทิศของสนามแม่เหล็กที่วนรอบเส้นลวดตัวนา) dt
ท าให้ฟลักซ์ แม่เหล็กที่ผ่านวงปิดมีการเปลี่ยนแปลงโดย N B
L=
เพิ่มขึ้นจากศูนย์ในตอนแรก การเปลี่ยนแปลงนี้เองท าให้ I
เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนาต่อต้านการ L=− L

เพิ่มของฟลักซ์แม่เหล็ก ดังนั้นกระแสไฟฟ้าสุทธิใ นวงจรจะ dI / dt


ค่อย ๆ เพิ่มขึ้นจนมีค่าตามที่ควรจะเป็น (I=V/R) เมื่อฟลักซ์
แม่เหล็กคงตัวกระแสไฟฟ้าไม่ได้เพิ่มอย่างทันทีทันใด
:*
" "

÷÷÷ .

E t
-

mriuohnaiinnuo

or . -

1- I
it
i. 1-g
to
@ •

± '
• to 6 °

}
÷÷i
E e -

NDI ,

at

L
8L a
-

DI
at

L a nnwiuousw , / my mutuals, at)

L z NIB
I
บทที่ 7 กฎของฟาราเดย์และการเหนี่ยวนา
ตัวอย่างคานวณ
ตัวอย่างที่ 9 พิจารณาขดลวดโซลินอยด์ที่พันสม่าเสมอจานวน N รอบ และยาว กาหนดให้ความยาว ยาวกว่า
รัศมีของเส้นลวดมากๆ และแกนของขดลวดโซลินอยด์เป็นอากาศ
1.) จงหาค่าความเหนี่ยวนาตัวเองของขดลวดโซลินอยด์
2.) จงคานวณหาสภาพเหนี่ยวนาตัวเองและค่าแรงเคลืA่อนไฟฟ้าเหนี่ยว ของขดลวดโซลินอยด์ ที่ประกอบขดลวดจานวน€
L
300
รอบ ความยาวO 25 เซนติเมตร และพื้นที่หน้าตัดO
4 ตารางเซนติเมตร ถ้ากระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านขดลวดนี้ลดลง 50 A/S
"
GH
NOI
"
dB
( z ,
A
N' A
que L DI 50
pro
-


-

I -1
at Faa
Als
-
-

1.87×154 -
so,
( z N BACOSA

It
za.o.sx.is
T e. . i.
< t
Boat 20
\ ( 144 pro
2

IN
Bru -
NII La Npo NIA
e
Ie Lz
144 ( 49×157 )
p r A

niphoai
Lz
- -

Lz 1.81 XI -04 H
* *
16
บทที่ 7 กฎของฟาราเดย
์และการเหนี่ยวนา
7.5 วงจร RL
วงจรประกอบด้วยความต้านทาน R ต่ออนุกรมกับขดเหนี่ยวนา L วงจรนี้แบ่งพิจารณาได้สองลักษณะ ในช่วงที่เริ่มให้
แรงเคลื่อนไฟฟ้า V กับวงจร RL ทาให้เกิดกระแสไฟฟ้า I จากกฎวงปิดของ Kirchhoff จะได้

I=
R
(1 − e ) = I (1 − e )
−t /
0
−t /
L
I0 = , =
R R

I= e−t / = I 0e−t /
R
บทที่ 7 กฎของฟาราเดย์และการเหนี่ยวนา
ตัวอย่างคานวณ
ตัวอย่างที่ 10 พิจารณาวงจรดังรูป โดยมีค่าดังนี้ = 12V , R = 6.0 , L = 30.0 mH
สวิชต์ S1 ถูกปิดลง และถ้าสวิซต์ S2 ปิดไปที่ (a) 1.) จงหาค่าคงที่ของเวลา 2.) จงหากระแสในวงจรที่เวลา
t = 0 , t = 2 ms 3.) ใช้เวลาเท่าใดกระแสถึงจะมีค่าเท่ากับครึ่งหนึ่งของกระแสสูงสุด และถ้าสวิซต์ปิดไปที่ (b) 4.) สมการกระแส
ที่เวลาใดๆ 5.) จงหาเวลาที่กระแสลดลงเหลือ 1 ใน 4 6.) เปรียบเทียบกราฟแรงดันที่ตกคร่อมตัวต้านทานกับตัวเหนี่ยวนา

18

You might also like