You are on page 1of 20

บทที่ 6

การออกแบบแรงเฉื อนและจุดต่อคาน-เสา
Column
C T
Vcjc
V
C T  As f y Cs' T
C'c Vjhjh
V Beam
V Cs
T'
T C  Cc  C s Cc

V
T C   Cc  Cs
hc

ศ.ดร.อมร พิมานมาศ
ภาณุวฒั น์ จ้อยกลัด
ปรีดา ไชยมหาวัน

1
ตัวอย่างโครงสร้างอาคาร
+22.00
Design Interior Joint
3.5

C C C C
+18.50

C C C C
3.5

+15.00

C C C C 0.25
3.5

+11.50
6-DB16
3.5

C C C C
+8.00
2-hoop.RB6

0.50
C C C C 4cm
3.5

+4.50 BT1 BT2 BT1


4-DB16
C 4.2 C 2.8 C 4.2 C
4.5

BT1&BT2 cross section


+0.00 +M
n = 13.14 T-m
5.0 3.0 5.0
-Mn = 19.22 T-m 2
Transverse
ตัวอย่างการออกแบบคานต้านทานแรง
เฉื อน
มยผ.1301-50 ส่วนที่ 4 ข้อ4.2 กาหนดไว้ว่ากาลังรับแรงเฉื อนที่ใช้ออกแบบ
คาน เสาจะต้องไม่น้อยกว่าค่าแรงเฉื อนที่คานวณได้จาก
 แรงเฉื อนที่เกิดขึน้ เมื่อแรงดัดที่ปลายขององค์อาคารทัง้ สองถึงค่า
โมเมนต์ระบุรวมกับแรงเฉื อนจากน้าหนักบรรทุกจากแรงโน้ มถ่วง (ถ้ามี)
 แรงเฉื อนสูงสุดที่ได้จากการรวมน้าหนักบรรทุกออกแบบ ที่พิจารณาแรง
แผ่นดินไหวเป็ น 2 เท่าของแรงที่กาหนดในกฎหมายควบคุมอาคารว่าด้วย
การก่อสร้างอาคารในเขตที่อาจได้รบั แรงสันสะเทื
่ อนจากแผ่นดินไหว
3
กำลังต้ำนทำนโมเมนต์
การออกแบบคาน ลบจำกคำนด้ำนซ้ำย กำลังต้ำนทำนโมเมนต์
บวกจำกคำนด้ำนขวำ
การคานวณแรงเฉื อนในคาน
M n1  M n 2 w u L c
คำนวณแรงเฉือนทีเ่ กิดขึน้ ตำม (5-10) V ul  
Lc 2
A B
น้ำหนักบรรทุก
Sideway to left Wu=3.94 T/m
แนวดิง่
Mn1=19.22 T-m Mn2=13.14 T-m
15.979 T 4.2m
0.569 T
A B
Sideway to right Wu=3.94 T/m

Mn1=13.14 T-m
ตัน
Mn2=19.22 T-m
4.2m 15.979 T
0.569 T

19.22  13.14 3.94  4.2


Vu    15.979
4.2 2 4
การคานวณกาลังต้านทานแรงเฉื อน
กำลังรับแรงเฉือนโดยคอนกรีตล้วน (5-11)
V c  0.53 f c bd

Vc  0.53 240  25  44  9.03 ตัน


แรงเฉือนทีต่ อ้ งรับด้วยเหล็กเสริมเท่ำกับ
Vs  Vu  Vc
Vs  15.979  (0.85)  9.03  8.30 ตัน
Vs  8.30 /0.85  9.76 ตัน

5
ตรวจสอบกาลังรับแรงเฉื อน
สมมุตใิ ช้เหล็กปลอกขนำด 2-RB6 มม. จะต้องวำงเรียงกันให้มรี ะยะห่ำงเท่ำกับ
A f d 1.13  2,400  44
s v v s
9.76  1,000
 12.23 ซม.
Vs

มยผ.1310-50 (ส่วนที่ 4 ข้อ 4.3.2) ระบุระยะเรียงเหล็กปลอกภำยในปลำย


คำนทีห่ ำ่ งจำกขอบของจุดรองรับเป็ นระยะ 2 เท่ำของควำมลึกจะต้องเสริม
เหล็กปลอกทีม่ รี ะยะเรียงไม่มำกกว่ำ
d / 4  44 / 4  11
8d  12.8 ดังนัน้ เสริมเหล็กปลอก 2-RB6@0.10 งอ
 b
s max 
24d  14 .4
ซม. ขอ 135 องศำ ในช่วงห่ำงจำกจุดรองรับ
 v
30 จนถึง 1.0 ม. (2h) 6
การออกแบบคาน
ตรวจสอบกาลังรับแรงเฉื อน
สำหรับเหล็กปลอกทีอ่ ยูน่ อกช่วงจุดหมุนพลำสติก ข้อกำหนดของ มยผ.1310-50
ส่วนที่ 4 ข้อ 4.3.3 ระบุวำ่ ระยะเรียงมำกสุดต้องไม่เกิน d /2  22 ซม.
และมีกำลังรับแรงเฉือนมำกกว่ำแรงเฉือนทีก่ ระทำห่ำงจำกหน้ำเสำเป็ นระยะ
2h=1m ซึง่ มีคำ่ เท่ำกับ Vu  15.979  3.94  1.0  12.04 ตัน
Av f v d 1.13  2400  44
สมมุตใิ ช้เหล็กปลอก 2-RB6@0.20 V s  s  20  1,000  5.97 ตัน

Vn  (Vc  Vs )  0.85  (9.03  5.97)  12.75 ตัน มำกกว่ำ 12.04 ตัน O.K.

ใช้เหล็กปลอก 2-RB6@0.20 นอกช่วงจุดหมุนพลำสติก


7
ตัวอย่างการออกแบบจุดต่อภายใน
แรงเฉื อนภายในจุดต่อ
มยผ.1301-50 ให้คำนวณแรงเฉือนภำยในจุดต่อสำมำรถคำนวณได้จำก (5-14)
 
V j  As1 f y  As2 f y  Vcol

เมือ่ Vcol คือแรงเฉือนในเสำตำมสมมุตฐิ ำน

โมเมนต์ระบุลบด้ำนขวำเท่ำกับโมเมนต์
ระบุบวกด้ำนซ้ำย
โมเมนต์ทงั ้ สองในคำนถ่ำยแรงไปเป็ น
โมเมนต์ในเสำต้นบนและเสำต้นล่ำง
โมเมนต์เสำต้นบน=โมเมนต์เสำต้นล่ำง
8
ตัวอย่างการออกแบบจุดต่อภายใน
แรงเฉื อนภายในจุดต่อ

Mu= (19.22+13.14)/2 = 16.18 T-m


Hc/2 = 2.9/2 Vcol = (2x16.18)/2.9 = 11.16T
6-DB16
Vcol C2 = T2 T1=6x2.01x4000/1000 =48.25 T
+MnbL =13.14 T-m Vj - M nbR=19.22 T-m
Hc/2 = 2.9/2
T2=4x2.01x4000/1000 C1 = T1
=32.16 T 4-DB16
Vcol Vcol = 11.16 T
Mu = 16.18 T-m Mu= 16.18 T-m

(6  2.01  4,000  4  2.01  4,000 )


Vj   11.16  69.24 ตัน
1,000
9
ตัวอย่างการออกแบบจุดต่อภายใน
กาลังต้านทานแรงเฉื อนภายในจุดต่อ
คำนตำมแนวยำวมีควำม
กว้ำงคำนต่อควำมกว้ำงเสำ
0.2/0.5  0.40 < 0.75

V n  3.9 f c A j

10
ตัวอย่างการออกแบบจุดต่อภายใน
กาลังต้านทานแรงเฉื อนภายในจุดต่อ

ที่มาภาพ มยผ. 1301-54

Aj  h  ควำมกว้ำงประสิทธิผล
b  h  25  50  75 ซม.
ควำมกว้ำงประสิทธิผล = ค่ำน้อยระหว่ำง b  2x1  25  2  2.5  30 ซม.
A j  30  50 ซม.2
11
ตัวอย่างการออกแบบจุดต่อภายใน
กาลังต้านทานแรงเฉื อนภายในจุดต่อ

Vn  3.9  240  (50  30)/1000  90.63 ตัน


Vn  0.85  90.63  77.04 ตัน > Vj = 69.24 ตัน OK
เสริมเหล็กปลอกในจุดต่อตำม (5-16) Av  3.5
bw s และ ระยะไม่เกิน 2S0
fy

S0 คือระยะเรียงเหล็กปลอกเสำช่วงจุดหมุนพลำสติก ในทีน่ ้ีสมมุตใิ ช้ S0 = 12.5 ซม.


 20
สมมุตใิ ช้เหล็กปลอก 2-RB6@0.20 Av=1.13 ซม.2 > Av  3.5  30
2,400
 0.875 ซม.2

OK
ดังนัน้ เสริมเหล็กปลอก 2-RB6@0.20 ภำยในจุดต่อ 12
ตัวอย่างการออกแบบจุดต่อภายใน

3-RB6@0.125
nd
< 6.25cm
2 floor

0.5m
2-RB6@0.2

3-RB6@0.125

การเสริมเหล็กในจุดต่ อ
13
ตัวอย่างการออกแบบจุดต่อภายนอก
+22.00
Design Exterior Joint
3.5

C C C C
+18.50

C C C C
3.5

+15.00

C C C C 0.25
3.5

+11.50
6-DB16
3.5

C C C C
+8.00
2-hoop.RB6

0.50
C C C C 4cm
3.5

+4.50 BT1 BT2 BT1


4-DB16
C 4.2 C 2.8 C 4.2 C
4.5

BT1 cross section


+0.00 +M
n = 13.14 T-m
5.0 3.0 5.0
-Mn = 19.22 T-m 14
Transverse
ตัวอย่างการออกแบบจุดต่อภายนอก
แรงเฉื อนภายในจุดต่อ
Mu= 19.22/2 = 9.61
Hc/2 = 2.9/2 T-m
Vcol= (2x9.61)/2.9= 6.63 T
6-DB16
Vcol
Vj T1=6x2.01x4,000=48.24 T
Hc/2 = 2.9/2 - M =19.22 T-m
nbR
C1 = T1
Vcol
Vcol= 6.63 T
Mu = 9.61 T-m M u=9.61 T-m
6  2.01  4,000
Vj   6.63  41.61 ตัน
1,000 15
ตัวอย่างการออกแบบจุดต่อภายนอก
กาลังต้านทานแรงเฉื อนภายในจุดต่อ
คำนตำมแนวยำวมีควำม
กว้ำงคำนต่อควำมกว้ำงเสำ
0.2/0.5  0.40 < 0.75

V n  3.2 f c A j

ที่มาภาพ มยผ. 1301-54 16


ตัวอย่างการออกแบบจุดต่อภายนอก
กาลังต้านทานแรงเฉื อนภายในจุดต่อ
3.2  240  (50  30)
Vn 
1,000
 74.36 ตัน
Vn  0.85  74.36  63.20 ตัน > Vj = 41.61 ตัน OK
bw s
เสริมเหล็กปลอกในจุดต่อตำม (5-16) Av  3.5
fy

และ ระยะไม่เกิน 2S0 =25 ซม.


 20
สมมุตใิ ช้เหล็กปลอก 2-RB6@0.20 Av=1.13 ซม.2 >Av  3.5  30
2,400
 0.875 ซม.2

OK
ดังนัน้ เสริมเหล็กปลอก 2-RB6@0.20 ภำยในจุดต่อ
17
ตัวอย่างการออกแบบจุดต่อภายนอก

3-RB6@0.125
nd
< 6.25cm 2 floor

0.5m
2-RB6@0.2

3-RB6@0.125

การเสริมเหล็กในจุดต่ อ
18
แรงเฉื อนในเสา
การ คานวณแรงเฉื อนในเสา (Shear in Column)
Pu
(MnbL+MnbR)/2
Vcol M nbL  M nbR
(MnbL+MnbR)/2 Vcol 
Vcol Hc

Hc M nbL MnbR
Beams-control

Vcol 
(32.36 / 2)  (36.36 / 2)
2.90
 11.16 ตัน
Vcol
Vcol (MnbL+MnbR)/2
(MnbL+MnbR)/2
Pu

19
20

You might also like