You are on page 1of 11

โดยที่ smax  d/2  53.6/2  26.8 ซม., เหล็กปลอก DB10 (Av  1.57 ซม.

2)
Vs ที่ต้องกำร  Vu /   Vc  30.67/0.85 – 19.01  17.07 ตัน

s ที่ต้องกำร  Av fyd / Vs  1.574.053.6/17.07  19.72 ซม.

ใช้เหล็กปลอก DB10@0.18 ม.
2. ความยาวเหล็กเสริมล่าง
ก. จานวนเหล็กเส้นที่ต้องยื่นเข้าไปในจุดรองรับ
หนึ่งในสี่ของ (+As) ต้องยื่นเข้ำไปในที่รองรับอย่ำงน้อย 15 ซม. โดยที่ต้องมีเหล็กนอนที่แต่ละ
มุมของหน้ำตัดคำน เหล็กเสริมอย่ำงน้อย 2 เส้นควรยำวตลอดช่วงคำนโดยใช้ 2DB25 และ
หยุดเหล็กเสริม 2DB25 ภำยในช่วงคำน
ข. พิจารณาต าแหน่งการหยุดเหล็ก 2DB25 ภายในช่วงคาน และตรวจสอบควำมต้องกำร
ควำมยำวยึดรังอื่นๆ โดยเขียนแผนภูมิแรงเฉือนและโมเมนต์ดัดของสภำวะนำหนักบรรทุกที่ให้ค่ำ
โมเมนต์มำกที่สุดเป็นดังในรูปข้ำงล่ำง
wu = 8 t/m

.88 t-m .21 t-m

.6 m
.12 ton
.12 ton

.12 ton
.68 ton
.01 t-m
.25 m .82 m

.88 t-m .265 m .265 m


.21 t-m

รูปที่ 8.36 แผนภูมิแรงเฉือนและโมเมนต์ดัดของคำนต่อเนื่องช่วงนอกในตัวอย่ำงที่ 8.5

ส่ ว นโมเมนต์ บ วกของแผนภูมิ Mu ดั ง ในรู ปข้ ำงล่ ำง พร้ อมทั งก ำลั ง โมเมนต์ Mn ส ำหรั บ
4DB25, Mn  34.98 ตัน-เมตร และสำหรับ 2DB25, Mn  17.49 ตัน-เมตร

จำกในรูป 8.37 เหล็กล่ำง 2DB25 ยื่นเข้ำไปในที่รองรับ 15 ซม. และอีก 2DB25 ถูกหยุดที่


2.10 ม. และ 2.67 ม. จำกจุด รองรับภำยนอกและภำยในตำมลำดับ ต ำแหน่งหยุ ดเหล็กพิจ ำรณำ
จำกขันตอนดังนี :

RC SDM 8  Bond By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 205


4DB25, Mn = 34.98 t-m

.536 m Mu = .01 t-m .536 m

2DB25
Mn = 17.49 t-m

.25 m .82 m

.79 m .36 m
.411 m .411 m

DB DB

cm cm
m .83 m .67 m

รูปที่ 8.37 กำรหยุดเหล็กล่ำงในคำนต่อเนื่องช่วงนอกในตัวอย่ำงที่ 8.5


ระยะ (1) และ (2) คือระยะที่เลยจำกจุดที่ต้องกำรเหล็กเสริม จะใช้ค่ำที่มำกกว่ำระหว่ำง d
และ 12db : d  53.6 ซม. > 12db  12(2.5)  30 ซม. ระยะ 53.6 ซม. ควบคุม
ระยะ (3) และ (4) คือระยะวัดจำกปลำยเหล็กเสริมจนถึงจุดที่ต้องกำรกำลังโมเมนต์ดัดเต็มที่
ของเหล็ก 2DB25 ที่ยื่นเข้ำที่รองรับ ต้องมีค่ำไม่น้อยกว่ำ : d

จำกตำรำงที่ ก.4 สำหรับ DB25 : d  114 ซม.

ระยะ (3) ที่มียำว 279 ซม.  114 ซม. OK

ระยะ (4) ที่มียำว 336 ซม.  114 ซม. OK

ตรวจสอบควำมยำวฝังยึด d สำหรับอีก 2DB25 ที่หยุดก่อนเข้ำที่รองรับ


ระยะจำกกลำงช่วงคำนคือ 141 ซม.  114 ซม. OK

สำหรับ 2DB25 ที่ยื่นเข้ำที่รองรับ ตรวจสอบระยะฝังที่ต้องกำร


Mn
ณ จุดเปลี่ยนกำรดัด (Point of Inflection, PI) : d   a
Vu
สำหรับ 2DB25, Mn  17.49/0.9  19.43 ตัน-เมตร
ณ จุด PI ข้ำงซ้ำย, Vu  28.12 – 8(1.25)  18.12 ตัน
a  ค่ำที่มำกกว่ำของ 12db  12(2.5)  30 ซม. หรือ d  53.6 ซม. (ควบคุม)

RC SDM 8  Bond By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 206


19.43  100
d   53.6  160.83 ซม.
18.12

สำหรับ DB25 : d  114 ซม.  160.83 ซม. OK

ณ จุด PI ข้ำงขวำ, Vu  32.68 – 8(1.82)  18.12 ตัน จำกกำรตรวจสอบ OK

3. ความยาวเหล็กเสริมบน
ส่ว นของแผนภูมิโ มเมนต์ล บ Mu แสดงในรูป 8.38 รวมทังกำลังเหล็กบนรับโมเมนต์ลบ Mn
สำหรับ 4DB25, Mn = 34.98 ตัน-เมตร และสำหรับ 2DB25+3DB28, Mn = 48.53 ตัน -
เมตร
1.25 m 1.82 m

0.536 m
0.536 m
-28.88 t-m
Mn for 4DB25 = 34.98 t-m
-46.21 t-m
1.786 m
Mn for 2DB25+3DB28 = 48.53 t-m
(5)
2.356 m
(6)

4DB25 2DB25+3DB28

7.6 m

รูปที่ 8.38 กำรหยุดเหล็กบนในคำนต่อเนื่องช่วงนอกในตัวอย่ำงที่ 8.5

4. ระยะฝังยึดที่ต้องการสาหรับเหล็กบน 4DB25 ทีจ่ ุดรองรับภายนอก


ก. จานวนเหล็กเส้นที่ต้องยื่นออกมาจากที่รองรับ
หนึ่งในสำมของ (-As) เสริมที่จุดรองรับจะต้องยื่นออกมำเลยจุดดัดกลับเป็นระยะเท่ำกับค่ำที่
มำกกว่ำของ d, 12db, หรือ Ln/16
d  53.6 ซม. (ควบคุม)
12db  12(2.5)  30 ซม.

Ln/16  760/16  47.5 ซม.

RC SDM 8  Bond By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 207


เนื่ องจำกจุ ดดัดกลับ อยู่ที่ระยะเพียงแค่ 1.25 ม. จำกจุดรองรับ ควำมยำวของ DB25 จึง
ค่อ นข้ ำงสั นแม้ว่ ำจะต้ อ งยื่ นเลยจุ ดดั ดกลั บ ไปอี ก 53.6 ซม. ตรวจสอบระยะฝั ง ยึด ที่
d

ต้องกำรที่ระยะ 1.786 ม. จำกผิวจุดรองรับ


ระยะ (5) ต้องมีค่ำไม่น้อยกว่ำ d

จำกตำรำงที่ ก.6 สำหรับ DB25 : d  114 ซม.

ปรับแก้เนื่องจำกผลของเหล็กบน, d  1.3(114)  148 ซม.  178.6 ซม. OK

ข. การฝังยึดในเสาต้นนอก
เหล็ก DB25 ถูกฝังยึดในเสำโดยใช้กำรงอขอมำตรฐำน จำกตำรำงที่ ก.5 ค่ำ hb  48 ซม.
ซึ่งลดลงได้โดยพิจำรณำกำรเสริมเหล็กส่วนเกินคือ :
(As required) 15.97
  0.81
(As provided) 19.63

dh  0.81  48  38.9 ซม.

ควำมกว้ำงเสำที่ต้องกำรคือ 38.9 + 4 + 1 + 2.5/2  45.2 ซม.


ใช้ความลึกเสา 50 ซม.
5. ระยะฝังยึดที่ต้องการสาหรับ 2DB25+3DB28 ที่จุดรองรับภายใน
ก. จานวนเหล็กเส้นที่ต้องยื่นออกมาคือหนึ่งในสามของ (-As)
2DB25+3DB28
d  53.6 ซม. (ควบคุม)
12db  12(2.8)  33.6 ซม. s

Ln/16  760/16  47.5 ซม.


DB10

4 cm cover

40 cm

รูปที่ 8.39 เหล็กบน 2DB25+3DB28

ระยะช่องว่ำง s  [40 – 2(4) – 2(1) – 2(2.5) – 3(2.8)]/4

 4.15 ซม.  1.48db > db

ระยะ c-c เหล็กเสริม  [40 – 2(4) – 2(1) – 2.5]/4  6.88 ซม.  2.46db

ระยะหุ้มคอนกรีต  4 + 1  5 ซม.  1.79db > db

ระยะฝังยึดที่ต้องกำร, d  1.3(127)  165 ซม.

ระยะ (6)  182 + 53.6  235.6 ซม.  d  165 ซม. OK

RC SDM 8  Bond By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 208


6. สรุปผลการออกแบบ : ควำมยำวของเหล็กล่ำงและเหล็กบนเป็นดังแสดงในรูปข้ำงล่ำง

1.786 m 2.356 m

DB DB + DB
DB
15 cm
2DB 2DB

2.10 m 2.67 m
7.6 m

รูปที่ 8.40 ระยะหยุดเหล็กบนและเหล็กล่ำง

การต่อเหล็กเสริมรับแรงดึง
เหล็กเส้นที่ใช้เสริมในคอนกรีตจะถูกผลิตออกมำโดยมีควำมยำวมำตรฐำนซึ่งขึนกับควำมสะดวกใน
กำรขนส่งและกำรคิดนำหนัก โดยปกติจะผลิตที่ควำมยำว 10 เมตร ดังนันเมื่อนำมำใช้ในคำนหรือพืน
ต่อเนื่องหลำยๆช่วงจึงต้องมีกำรต่อเหล็กโดยกำรทำบง่ำยๆแบบสัมผัสหรือแยกกัน หรืออำจต่อแบบ
ชนโดยกำรเชื่อม โดยทั่วไปจุดที่ต่อเชื่อมควรอยู่ห่ำงจำกจุดที่มีหน่วยแรงดึงมำกที่สุด และควรสลับกัน
ต่อเพื่อไม่ให้เหล็กเหล็กทุกเส้นในหน้ำตัดถูกต่อพร้อมกัน
คำนที่มีกำรต่อเหล็กควรมีควำมเหนียวเทียบเท่ำกับที่ไม่มีกำรต่อเหล็ก ข้อกำหนดของ ACI
ต้องกำรให้แน่ใจว่ำจะไม่เกิดกำรวิบัติที่จุดต่ อเมื่อถึงกำลังดัดสูงสุดของคำนที่จุดต่อเหล็ก ข้อกำหนด
ของระยะทำบน้อยที่สุดสำหรับกำรต่อทำบแบบสัมผัสมีไว้เพื่อให้มีคอนกรีตหุ้มเพียงพอเพื่อต้ำนทำน
กำรแตกแยกตัว แต่สำหรับกำรทำบแบบไม่สัมผัส เหล็กแต่ละเส้นไม่ควรวำงห่ำงกันจนเกินไป รูปที่
8.41 แสดงกำรกระจำยหน่วยแรงดึ งในเหล็กเสริมที่จุดต่อทำบ โดยหน่วยแรงจะเพิ่มขึนจำกศูนย์ที่
ปลำยแล้วมีค่ำเพิ่มขึนตำมระยะทำบจนมีหน่วยแรงมำกสุดคือ fy
Tensile stress
in Bar A
fy

Bar A 0

Bar B
(Lap length)

fy
Tensile stress
in Bar B

รูปที่ 8.41 กำรกระจำยหน่วยแรงในเหล็กต่อทำบ

RC SDM 8  Bond By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 209


มำตรฐำน วสท. 1008-38 กำหนดให้ทำกำรต่อเหล็กเสริมได้เมื่อมีควำมจำเป็น หรือที่ยอมให้
ตำมแบบก่อสร้ำง หรือในข้อกำหนดประกอบแบบ หรือโดยอนุมัติจำกวิศวกร โดยกำรต่อเหล็กเสริม
อำจทำได้ 2 วิธีคือ กำรต่อทำบ และ กำรต่อเชื่อมและข้อต่อทำงกล
กำรต่อทำบจะใช้กับเหล็กเส้นที่มีขนำดใหญ่ไม่เกิน DB36 โดยควำมยำวในกำรต่อทำบรับแรง
ดึงจะขึนกับชันคุณภำพในกำรต่อ A หรือ B แต่ตอ้ งไม่น้อยกว่ำ 30 ซม. โดยที่
กำรต่อชันคุณภำพ A . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 1.0 d

กำรต่อชันคุณภำพ B . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 1.3 d

เมื่อ คือควำมยำวฝังยึดรับแรงดึงของเหล็กเสริม มีค่ำเท่ำกับ 0.06Abfy / fc สำหรับคอนกรีต


d

กำลัง f  = 240 ksc และเหล็กเสริม SD40 กำลัง fy = 4,000 ksc ควำมยำว ของเหล็กเสริม
c d

ขนำดต่ำงๆอำจคำนวณได้ดังแสดงในตำรำง
ตารางที่ 8.6 ควำมยำวฝังยึด d (ซม.)

เหล็กเสริม พื้นที่ (ซม.2) ความยาว d (ซม.)


DB10 0.785 12.2
DB12 1.13 17.5
DB16 2.01 31.1
DB20 3.14 48.6
DB25 4.91 76.1
DB28 6.16 95.4
DB32 8.04 125
DB36 10.18 158

หรืออำจใช้สูตรอย่ำงง่ำยแบบดังเดิมคือ ระยะทำบของเหล็กข้ออ้อยให้ใช้ไม่น้อยกว่ำ 36 เท่ำขนำด


เส้นผ่ำศูนย์กลำงแต่ต้องไม่น้อยกว่ำ 30 ซม.
กำรต่อทำบของเหล็ กข้ออ้อยและลวดข้อ อ้อยรับแรงดึงให้ ใช้ ชันคุณภำพ B โดยยกเว้นให้ ใช้ชั น
คุณภำพ A ได้ในกรณีดังนี
1. พืนที่เหล็กเสริมที่ใช้มีอย่ำงน้อยสองเท่ำของที่ต้องกำรโดยกำรวิเครำะห์ตลอดควำมยำวกำรต่อ
2. ปริมำณเหล็กเสริมที่ต่อทำบต้องไม่เกินครึ่งหนึ่งของพืนที่เหล็กเสริมทังหมดที่ต้องกำรต่อทำบ
ตำแหน่งที่จะทำกำรต่อทำบเหล็กเสริมรับแรงดึงควรจะอยู่ห่ำงจำกบริเวณที่รับแรงดึงสู ง มำ
ต่อในบริเวณที่มีปริมำณเหล็กเสริมมำกกว่ำที่ต้องกำรจำกกำรวิเครำะห์อย่ำงน้อยสองเท่ำ ซึ่งในคำน
โดยทั่วไป เหล็กเสริมบนจะต่อที่กลำงช่วงคำน และ เหล็กเสริมล่ำงจะต่อริมช่วงดังในรูป

RC SDM 8  Bond By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 210


รูปที่ 8.42 ตำแหน่งกำรต่อทำบเหล็กเสริมคำน
กำรต่อทำบของเหล็กเส้นที่มัดรวมเป็นกำต้องเป็นไปตำมควำมยำวระยะต่อทำบที่ต้องกำรของ
เหล็กเส้นแต่ละเส้นภำยในมัดนัน โดยเพิ่มควำมยำวอีกร้อยละ 20 สำหรับเหล็ก 3 เส้นมัดรวมเป็นกำ
และเพิ่มร้อยละ 33 สำหรับเหล็ก 4 เส้นมัดรวมเป็นกำ
กำรต่อเหล็กโดยวิธีต่อทำบที่ผิวไม่สัมผัสกันในองค์อำคำรรับแรงดัด ต้องวำงห่ำงกัน (clear
spacing) ไม่เกิน 1/5 ของระยะทำบ และไม่เกิน 15 ซม. ในกรณีที่เหล็กที่จะต่อทำบมีหลำยเส้นให้
ต่อแบบสลับเส้นตำมเงื่อนไขดังนี
5 cm
4
=A
0.3 A
Fs
Fs

Fs
Fs

Fs 2 cm
2 Fs

Fs
Fs

Clear spacing

รูปที่ 8.43 กำรต่อทำบสลับเหล็กเสริม


 ระยะช่องว่ำงระหว่ำงเหล็กที่ต่อทำบต้องไม่เกิน 4 เท่ำขนำดเหล็กเสริมหรือ 5 ซม. มิฉะนันให้เพิ่ม
ระยะทำบตำมส่วนที่เกิน
 ระยะห่ำงตำมยำวของส่วนต่อทำบที่ถัดกันต้องไม่น้อยกว่ำ 0.3 เท่ำของระยะทำบ
RC SDM 8  Bond By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 211
 ระยะช่องว่ำงระหว่ำงเหล็กที่ต่อทำบถัดกันต้องไม่น้อยกว่ำ 2 เท่ำขนำดเหล็กเสริมหรือ 2 ซม.
สำหรับกำรต่อเชื่อมเหล็กเสริมและข้อต่อเชิงกล กำรต่ออย่ำงสมบูรณ์ต้องสำมำรถรับแรงได้
อย่ำงน้อย 1.25 เท่ำของกำลังครำก fy ของเหล็กเสริม โดยทำกำรต่อเชื่อมในบริเวณที่เนือที่เหล็ก
เสริมจริงมีปริมำณน้อยกว่ำ 2 เท่ำของที่ต้องกำรโดยกำรวิเครำะห์

Metal-arc butt weld with double-V preparation

15 x bar size with 2 metal-arc fillet welds 5 x bar size in length

Metal-arc butt weld with fillet weld 10 x bar size in length

รูปที่ 8.44 กำรเชื่อมต่อเหล็กเสริมแบบต่ำงๆ

การต่อเหล็กเสริมรับแรงอัด
ในขณะที่กำรต่อเหล็กรับแรงดึงไม่สำมำรถทำไดกับเหล็กที่มีขนำดใหญ่กว่ำ DB36 เหล็กเส้นขนำด
DB40 และ DB60 รับแรงอัดอำจถูกต่อกับเหล็ก DB36 หรือเล็กกว่ำได้

ระยะทำบ s รับแรงอัดน้อยที่สุดเมื่อ fc ไม่น้อยกว่ำ 210 ก.ก./ซม.2 จะต้องมีค่ำอย่ำงน้อยเท่ำกับ


สำหรับ fy  4,000 ก.ก./ซม.2 ระยะทำบ s  0.007 fy db  30 ซม. (8.26ก)

สำหรับ fy  4,000 ก.ก./ซม.2 ระยะทำบ s  (0.013fy  24)db  30 ซม. (8.26ข)

เมื่อ f  น้อยกว่ำ 210 ก.ก./ซม.2 ระยะทำบจะต้องเพิ่มอีกหนึ่งในสำม เมื่อต่ อเหล็กสองขนำดที่ไม่


c

เท่ำกัน ระยะทำบจะใช้ค่ำที่มำกกว่ำของ (1) ระยะทำบของเหล็กที่เล็กกว่ำ หรือ (2) ระยะฝัง d

ของเหล็กรับแรงอัดของเส้นที่ใหญ่กว่ำ
 สำหรับองค์อำคำรที่เหล็กเสริมหลักถูกห่อหุ้มโดยปลอกเดี่ยว ระยะทำบอำจลดลงได้เป็น 0.83
ของระยะปกติแต่ต้องไม่น้อยกว่ำ 30 ซม.
 สำหรับองค์อำคำรที่เหล็กเสริมหลักถูกห่อหุ้มโดยปลอกเกลียว ระยะทำบอำจลดลงได้เป็น 0.75
ของระยะปกติแต่ต้องไม่น้อยกว่ำ 30 ซม. จำนวนเท่ำของเส้นผ่ำศูนย์กลำงที่ต้องกำรสำหรับระยะ
ทำบรับแรงอัดเป็นดังแสดงในตำรำงที่ 8.7

RC SDM 8  Bond By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 212


ตารางที่ 8.7 จำนวนเท่ำเส้นผ่ำศูนย์กลำงที่ต้องกำรสำหรับระยะทำบรับแรงอัดเมื่อ fc  210 ก.ก./ซม.2

หน่วยแรงคราก fy จานวนเท่าของเส้นผ่าศูนย์กลาง
(ก.ก./ซม.2) เสาปลอกเกลียว เสาปลอกเดี่ยว อื่นๆ
3000 16 18 21
4000 21 24 28
5000 31 59 41

การฝังยึดเหล็กเสริมในคานยื่น
เหล็กเสริมบนรับแรงดึงในคำนยื่นจะต้องมีควำมยำวไม่น้อยกว่ำควำมยำวฝังยึด Ld โดยวัดจำกจุดที่มี
แรงดึงสูงจุดที่ผิวเสำออกมำทังสองข้ำง ซึ่งในกรณีที่ช่วงยื่นน้อยกว่ำ Ld ให้ทำกำรงอฉำกที่ปลำยยื่น
เพื่อช่วยในกำรฝังยึด

 d d

รูปที่ 8.45 กำรเสริมเหล็กในคำนยื่นช่วงสัน


ในกรณีที่ปลำยยื่นมีควำมยำวมำกพออำจหยุดเหล็กครึ่งหนึ่งที่ระยะไม่น้อยกว่ำครึ่งหนึ่งของ
ระยะยื่นหรือควำมยำวฝังยึด โดยอำจลดควำมลึกคำนจนถึงปลำยคำนไม่น้อยกว่ำ 15 ซม.
L
ค่ำที่มำกกว่ำของ
0.5 L d
0.5 Ast Ast
15cm
MIN.

0.25 Ast (MIN.) d /3

อย่ำงน้อยสองเส้น

รูปที่ 8.46 กำรเสริมเหล็กในคำนยื่นช่วงยำว


RC SDM 8  Bond By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 213
ในกรณีของคำนยื่นจำกเสำโดยไม่มีคำนช่วงในให้ทำกำรงอฉำกเหล็กเสริมบน โดยให้มีระยะ
ปลำยงอขอเพื่อให้มีกำรฝังยึดที่เพียงพอ
L
ค่ำที่มำกกว่ำของ
0.5 L หรือ d
dh
0.5 Ast Ast

d /3

0.25 Ast (MIN.)


อย่ำงน้อยสองเส้น
รูปที่ 8.47 กำรเสริมเหล็กในคำนยื่นจำกเสำ

การเสริมเหล็กต่างระดับ
เหล็กเสริมในคำนต่อเนื่องโดยปกติจะวำงเป็นแนวเส้นตรงผ่ำนหัวเสำ แต่ในกรณีที่คำนที่มำต่อทังสอง
ข้ำงของเสำมีกำรเปลี่ยนระดับ หรือมีควำมควำมลึกต่ำงกัน กำรดัดเหล็กเสริมอำจก่อให้เกิดกำร
แตกร้ำวของคอนกรีตอันเนื่องมำจำกแรงดึงในเหล็กเสริม ดังนันจึงต้องแยกเหล็กเป็นคนละเส้นโดยใช้
กำรงอเหล็กช่วยในกำรฝัดยึดเพื่อรับแรงดึงในเหล็กเสริม

รูปที่ 8.48 กำรเสริมเหล็กในคำนต่ำงระดับ

รูปที่ 8.49 กำรเสริมเหล็กในคำนที่มีควำมลึกต่ำงกัน


RC SDM 8  Bond By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 214
สำหรับคำนต่ำงระดับระหว่ำงช่วงควำมยำวจะมีรำยละเอียดกำรเสริมเหล็กแตกต่ำงกันไปตำม
ควำมสูงของระยะที่ต่ำงระดับดังแสดงในรูปที่ 8.50 เป็นกำรเสริมเหล็กในกรณีที่มีควำมต่ำงระดับ
น้อยเมื่อเทียบกับควำมลึกคำน h โดยจะเสริมเหล็กกันร้ำวเพิ่มในคำนส่วนที่ระดับสูงกว่ำ

<h

รูปที่ 8.50 กำรเสริมเหล็กในคำนที่มีควำมต่ำงระดับน้อย


เมื่อควำมต่ำงระดับมีมำกขึนแต่ยังไม่เกินควำมลึกคำน h ให้ทำกำรเสริมเหล็กดังในรูปที่ 8.51
โดยมีช่วงทำบไม่น้อยกว่ำ h

<h h

h
35D

รูปที่ 8.51 กำรเสริมเหล็กในคำนที่มีควำมต่ำงระดับมำกแต่ยังไม่เกิน h

รูปที่ 8.52 กำรเสริมเหล็กในคำนที่มีควำมต่ำงระดับมำกเกิน h


RC SDM 8  Bond By Dr.Mongkol JIRAWACHARADET 215

You might also like