You are on page 1of 7

-37-

บทที่ 5 เสาคอนกรีตเสริมเหล็ก

ปลอกเดี่ยว ปลอกเกลียว เหล็กเสริมแกน

เหล็กยืน เหล็กยืน

5.1 เสาสั้นรับน้้าหนักตามแกน
1) เสาปลอกเกลียว ก้าลังรับน้้าหนักปลอดภัยตามแนวแกน
P = Ag (0.25 fc’ + fs Pg)
2) เสาปลอกเดี่ยว ก้าลังรับน้้าหนักปลอดภัยตามแนวแกน

P = 0.85 Ag (0.25 fc’ + fs Pg) **********

เมื่อ P = ก้าลังรับน้้าหนักโดยปลอดภัยตามแนวแกนของเสา
Ag = เนื้อที่หน้าตัดทั้งหมดของคอนกรีต
Pg = อัตราส่วนระหว่างพื้นที่หน้าตัดของเหล็กยืนต่อพื้นที่หน้าตัดของคอนกรีต
= Ast / Ag = 0.01 -> 0.08
fs = หน่วยแรงอัดที่ยอมให้ของเหล็กเสริม
= 0.40 fy แต่ไม่เกิน 2100 กก./ซม.2
ข้อก้าหนดเกี่ยวกับเสา
1) อัตราส่วน h/t (ความสูง/ด้านแคบ ของเสาเหลี่ยม หรือ ของเสากลม) ต้อง O 15 ถ้าเกิน ต้องลด
ก้าลังค่า P ลง โดยออกแบบเป็นเสายาวซึ่งจะกล่าวต่อไป
2) เนื้อที่หน้าตัดเหล็กยืนของเสา =0.01 Y 0.08 ของเนื้อที่หน้าตัดเสาและมีขนาด  ไม่เล็กกว่า 12 มม.
3) เสาเหลี่ยมต้องมีเหล็กยืนอย่างน้อย 4 เส้น , เสากลมอย่างน้อย 6 เส้น
4) ช่องว่างระหว่างเหล็กยืนต้องไม่น้อยกว่า 1 1/2 เท่าของ  เหล็กหรือ 1 1/2 เท่าของวัสดุผสมหยาบ
ใหญ่สุด หรือ 4 ซม.
5) เหล็กปลอกเกลียว ต้องมีปริมาณไม่น้อยกว่าที่ค้านวณจากสูตร
-38-
Ps = 0.45 (Ag - 1) fc'
Ac fy
เมื่อ Ps = อัตราส่วนระหว่างปริมาตรของเหล็กปลอกเกลียว กับปริมาตรของแกนเสา วัดที่ขอบนอก
ของเหล็กปลอกเกลียว
fy = ก้าลังคลากของเหล็กปลอกเกลียว แต่ไม่เกิน 4200 กก./ซม.2
Ac = เนื้อที่หน้าตัดของแกนคอนกรีตภายในศูนย์กลางของเหล็กปลอกเกลียว
Ag = เนื้อที่หน้าตัดทั้งหมดของเสาปลอกเกลียว
6) คอนกรีตหุ้มเหล็ก ไม่น้อยกว่า 3 ซม. หรือ 1 1/2 เท่าของวัสดุผสมหยาบใหญ่สุด
7) เสาปลอกเดี่ยว ใช้เหล็กปลอกไม่เล็กกว่า 6 มม. มีระยะห่าง
- ไม่เกิน 16 x  เหล็กยืน
- 48 x เหล็กปลอก
- ไม่เกินด้านแคบสุดของเสา
8) เหล็กปลอกเกลียวต้องพันต่อเนื่องสม่้าเสมอ ระยะห่างไม่เกิน 7 ซม. และไม่แคบกว่า 3 ซม.หรือ
1 1/2 เท่าของขนาดวัสดุผสมหยาบใหญ่สุด
9) ขนาด  เหล็กปลอกเกลียวไม่เล็กกว่า 6 มม.

ตัวอย่างที่ 1 จงออกแบบเสาสี่เหลี่ยมจตุรัสคสล. เพื่อรับน้้าหนักปลอดภัยตามแนวแกน 22,000 กก. ใช้


ปลอกเดี่ยวขนาด  6 มม. ก้าหนดให้ fc' = 100 กก./ซม.2 , fy = 2500 กก./ซม.2
0.05 วิธีท้า สูตรเสาปลอกเดี่ยว P = 0.85 Ag (0.25 fc' + fs Pg)
สมมติใช้เสาขนาด 25 x 25 ซม.
0.25 0.05 Ag = 25 x 25 = 625 ซม.2
fs = 0.4 fy
0.25 = 0.4 x 2500 = 1000 กก./ซม.2
Pg = As = As .
Ag 625
แทนค่า 22,000 = 0.85 x 625 x (0.25 x 100 + 1000 x As )
625
22,000 = 531.25 (25 + 1.6 As )
As = 1 22,000 - 25 = 10.26 ซม.2
1.6 531.25
ใช้เหล็กยืน ……..  ……….. มม. As = …………………ซม.2 > 10.26 Ok
-39-
หา Spacing (สมมติใช้เหล็กปลอก  6 มม.)
- 16 เท่าของเหล็กยืน = 16 x 1.9 = 30.4 ซม.
- 48 เท่าของเหล็กปลอก = 48 x 0.6 = 28.8 ซม.
- ด้านแคบของเสา = 25 ซม. ******* น้อยที่สุด

0.05 0.05
4 19 มม
0.25 ป 6 มม. . @ 0.25

0.25

###############################
5.2 เสายาว
เสายาว หมายถึงเสาทีม่ ขี นาดหน้าตัดน้อยมากเมื่อเทียบกับความยาวเสา ความชะลูดของเสาวัด จาก
อัตราส่วน h/r โดยที่
t D h = ความยาวอิสระของเสา
t r = รัสมีไจเรชั่นของหน้าตัดเสา = I / A
= 0.3 t ส้าหรับเสาเหลี่ยม
= 0.25 D ส้าหรับเสากลม
เมื่อเปรียบเทียบหน้าตัดเสาที่มีขนาดเท่ากัน แต่ความยาวต่างกัน เสาที่ยาวกว่าจะรับน้้าหนักได้
น้อยกว่า เพราะจะเกิดการโก่งเดาะเสียก่อน
พื้น พื้น พื้น

คาน
พื้น h h h

ความยาวประสิทธิผล ใช้ h' = h


เมื่อเสานัน้ มีส่งิ ยันข้าง เช่นก้าแพงคอนกรีตเสริมเหล็ก (ก้าแพงอิฐธรรมดาไม่ถือว่ายันข้าง) ถ้าการยัน
ข้างไม่ดีพอ ต้องหาความยาวประสิทธิผล h' จาก
r'j = Kc / Kb
เมื่อ Kc = ผลรวมของ EI/h ของเสาที่มาพบตรงจุด j
Kb = ผลรวมของ EI/L ของคานที่มาพบตรงจุด j
-40-
h = ความสูงอิสระของเสา
L = ความยาวของคาน
E = โมดูลัสความยืดหยุ่น ถ้าเป็นเสา, คานคสล. ไม่ต้องคิด
I = โมเมนต์ความเฉื่อยของเสา และคาน = Ar2
r = รัศมีไจเรชั่น
ตัวอย่าง จงหาค่า r' T ของจุดหัวเสาดังรูปที่ T
B3 B3
B1 = 0.30 x 0.50
C2 4.00 B2 = 0.25 x 0.50
B2 T B2 B3 = 0.20 x 0.50

C1 = 0.35 x 0.40
C1 4.00 C2 = 0.30 x 0.30
B1 B1

4.50 4.50
รูปด้าน, รูปตัด
คาน B2 มี A = 25 x 50 = 1250 ซม.2
t = 0.50 ม. 0.50 = t
r = 0.3 t = 0.3 x 50 = 15 ซม.
I = Ar2 = 1250 x 152 = 281250 ซม.4 0.25
L = 4.50 ม. = 450 ซม.
E = ไม่คิด (เพราะเป็นคอนกรีตด้วยกันหมด)
 Kb = I/L = 281250 / 450 = 625
ที่จุดต่อมีคาน 2 ตัว ; Kb = 625 + 625 = 1250
เสา C1 มี A = 35 x 40 = 1400 ซม.2 0.35 = t
t = 35 ซม.
r = 0.3 t = 0.3 x 35 = 10.5 ซม. 0.40
I = Ar2 = 1400 x (10.5)2 = 154350 ซม.4
h = 4.00 - 0.50 = 3.50 = 350 ซม.
Kc = 154350 / 350 = 441
-41-
C2 มี A = 30 x 30 = 900 ซม.2
r = 0.3 x 30 = 9 ซม.2
I = Ar2 = 900 x 92 = 72900 ซม.4
h = 400 - 50 = 350 ซม.
Kc = 72900 / 350 = 208.29
Kc = 441 + 208.29 = 649.29
จากสมการ r'T = Kc
/ Kb = 649.29 / 1250 = 0.52 < 1
ถ้าทราบ r'T ของปลายบนของเสา
r'B ของปลายล่างเสา
จะได้คา่ เฉลีย่ r' = 1/2 (r'T + r'B)
ถ้า r' < 25 ถือว่าปลายเสามีสภาพยึดหมุน (ไม่มีโมเมนต์)
r' = 0 หรือ 1 ถือว่าปลายเสามีสภาพยึดแน่น (มีโมเมนต์)
การลดก้าลังของเสาเนื่องจากความชะลูด

P เสายาว = R .P เสาสั้น
M เสายาว = R .M เสาสั้น

เมื่อ P เสายาว = ก้าลังรับน้้าหนักตามแกนของเสายาว


P เสาสั้น = "------------------------------" เสาสั้น
M เสายาว = ความสามารถในการรับโมเมนต์ของเสายาว
M เสาสั้น = "----------------------------------------"เสาสั้น
R = ตัวคูณลดค่าเนื่องจากความชะลูด
เมื่อเสารับน้้าหนักตามแนวแกนอย่างเดียว
R = 1.07 - 0.008(h/r) O1
การบ้าน 6
เสาขนาดหน้าตัดตามรูป สามารถรับน้้าหนักปลอดภัยได้เท่าไร และมีความยาวสูงสุดกี่เมตร
0.20 4  12 มม. ก้าหนดให้ fc' = 144 กก./ซม.2
ป  6 มม. @ 0.18 fs = 1200 กก./ซม.2
0.20 n = 11

$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$$

You might also like