You are on page 1of 19

25/11/64

แม่เหล็กไฟฟ้าและวงจรแม่เหล็ก
Electromagnetic and Magnetic Circuit

สนามแม่เหล็ก
(Magnetic Field)
จากหลั ก การเบื ้ อ งต้ น ทางฟิ ส ิ ก ส์
พบว่าจะมีสนามแม่เหล็กเกิดขึ้นรอบ
ๆ แท่ ง แม่ เ หล็ ก อยู ่ ต ลอดเวลา แท่ ง
แม่เหล็กแบบนี้เรียกว่า แม่เหล็กถาวร
(Permanent Magnet)

การวัดปริมาณของเส้นแรงแม่เหล็ก

- ปริมาณของเส้นแรงแม่เหล็กทั้งหมดรอบๆ แท่งแม่เหล็ก
เรียกว่า ”ฟลักซ์แม่เหล็ก”
- สัญลักษณ์ที่ใช้คือ  มีหน่วยเป็น เวเบอร์ (Wb)
- ฟลักซ์แม่เหล็กรวมที่เกิดจากแม่เหล็กนั้นไม่มีรูปแบบที่แน่นอน
- การวัดฟลักซ์แม่เหล็กที่ดีที่สุด ก็คือ การวัดความหนาแน่นของฟลักซ์
- คือ การวัดความหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็กต่อหน่วยพื้นที่

1
25/11/64

ความหนาแน่นของฟลักซ์ (Flux density; B)



B =
A
หน่วยของความหนาแน่นฟลักซ์ คือ เวเบอร์/ตารางเมตร (Wb/m2)
ซึ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เทสลา (Tesla) (1 Wb/m2 = 1 เทสลา)
เมื่อ
B = ความหนาแน่นของฟลักซ์ (Wb/m2)
A = พื้นที่หน้าตัดที่มีฟลักซ์แม่เหล็กผ่าน (m2)
 = เส้นแรงแม่เหล็ก (Wb)

แม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic
แม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic)
คือ แม่เหล็กที่สนามแม่เหล็กผลิตจากกระแสไฟฟ้า แม่เหล็กไฟฟ้า ปกติ
ประกอบด้วยลวดตัวนาพันเป็นคอยล์ (coil) กระแสที่ไหลผ่านขดลวดจะทาให้
เกิดสนามแม่เหล็ก

2
25/11/64

สนามแม่เหล็กรอบตัวนากระแสไฟฟ้า

แสดงทิศทางของสนามแม่เหล็กรอบตัวนากระแสและกฎมือขวาของแอมแปร์
 ทิศทางของกระแสพุ่งเข้า  ทิศทางของกระแสพุ่งออก

สนามแม่เหล็กรอบตัวนากระแสไฟฟ้า

3
25/11/64

สนามแม่เหล็กรอบขดลวด

สนามแม่เหล็กรอบขดลวด

4
25/11/64

แรงดันแม่เหล็ก (Magneto motive Force; MMF)

แรงดันแม่เหล็ก คือ ความสามารถในการผลิตเส้นแรงแม่เหล็กของ


ขดลวดตัวนา มีหน่วยเป็น แอมแปร์ (A)
MMF = N I
เมื่อ
N = จานวนรอบของขดลวดที่พันรอบแกน
I = กระแสที่ไหลในขดลวดมีหน่วยเป็นแอมแปร์ (A)

ความเข้มสนามแม่เหล็ก (Field Intensity; H)


ความเข้มสนามแม่เหล็ก คือ ปริมาณของแรงดันแม่เหล็ก (MMF)
ต่อหน่วยความยาวของทางเดินแม่เหล็ก ดังสมการต่อไปนี้
MMF
H =
l
เมื่อ
H = ความเข้มสนามแม่เหล็กมีหน่วยเป็นแอมแปร์/เมตร (A/m)
l = คือค่าความยาวเฉลี่ยของทางเดินแม่เหล็กซึ่งมีหน่วยเป็นเมตร (m)

5
25/11/64

ความต้านทานแม่เหล็ก (Reluctance;  )
เป็นองค์ประกอบตัวหนึ่งของวงจรแม่เหล็ก มีหน่วยเป็น At/Wb
เกิดจากคุณสมบัติทางฟิสิกส์ของวัสดุที่เป็นทางเดินแม่เหล็ก
l
 =
A
เมื่อ
l = ความยาวเฉลี่ยของทางเดินแม่เหล็ก มีหน่วยเป็นเมตร
A = พื้นที่หน้าตัดที่มีเส้นแรงแม่เหล็ก มีหน่วยเป็นตารางเมตร
 = ค่าความซาบซึมได้ของวัสดุที่ใช้เป็นวงจรแม่เหล็ก มีหน่วย
เป็น เฮนรี่ต่อเมตร (H/m)

ค่าความซาบซึมได้ของวัสดุ

 = 0r
0 = ค่าความซาบซึมได้ของอากาศ = 4 10 WbA // mm
2
−7

r = ค่าความซาบซึมได้สมั พัทธ์ = 1 (ในอากาศ)

6
25/11/64

วงจรแม่เหล็กและวงจรสมมูล

ความสามารถในการซาบซึมได้
วัสดุที่ไม่เป็นตัวนาแม่เหล็กจะแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง B และ H
เป็นเชิงเส้น ซึ่งเรียกว่า ค่าคงที่ของความซาบซึมได้ ส่วนวัสดุที่เป็นตัวนา
แม่เหล็กนั้น จะมีความสัมพันธ์ระหว่าง B และ H ไม่เป็นเชิงเส้น เราจึง
เขียนความสัมพันธ์ระหว่างค่า B กับค่า H ได้ดังนี้

B =  H = o  r H

เมื่อ r = ค่าความซาบซึมได้สัมพัทธ์ของวัสดุ

7
25/11/64

การเกิดค่า B-H ในสารแม่เหล็ก

ฮิสเตอรีซิส (Hysteresis)

8
25/11/64

พื้นที่ของวงรอบ Hysteresis คือ ค่าพลังงานความร้อนสูญเสีย


ต่อวงรอบ ความร้อนที่เกิดขึ้นนี้จะแผ่กระจายออกไปในวัสดุ

ค่า B-H ของวัสดุที่เป็นตัวนาแม่เหล็ก

9
25/11/64

ความสูญเสียจากกระแสไหลวนในแกนเหล็ก
(Eddy Current Loss)

การคานวณวงจรแม่เหล็ก

10
25/11/64

ตัวอย่างที่ 2.1 ขดลวดขดหนึ่งมี 200 รอบ พันอย่างสม่าเสมอรอบวงแหวนที่ทา


จากไม้ มีความยาวของเส้นรอบวงโดยเฉลี่ย 60 cm มีขนาดพื้นที่หน้าตัดเท่ากัน
ตลอด 5 cm2 ถ้ามีกระแสไหลผ่านขดลวด 4 A จงหา
1. ความเข้มสนามแม่เหล็ก (H)
2. ความหนาแน่นของสนามแม่เหล็ก (B)
3. จานวนเส้นแรงแม่เหล็กทั้งหมด ()
วิธีทา
1. ความยาวของเส้นรอบวงโดยเฉลี่ย = 60 cm = 0.6 m ความเข้ม
สนามแม่เหล็ก เท่ากับ
N I
H=
l
200  4
=
0.6
= 1,333 A − T / m

2. ความหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็ก เท่ากับ
B = 0 H
= 4  10−7 1,333
= 1.6 10−3 Wb / m 2

3. พื้นที่หน้าตัดของวงแหวนไม้ = 5 cm2 = 5 x 10-4 m2


เส้นแรงแม่เหล็กทั้งหมด เท่ากับ
 = B A
= 1.6  10−3  5  10−4
= 8.0  10−7 Wb

11
25/11/64

ตัวอย่างที่ 2.2 วงจรแม่เหล็ก ดังรูป มีค่าความซึมซาบสัมพัทธ์ของแกนเหล็ก


เท่ากับ 2,000 แกนเหล็กหนา 10 cm จานวนรอบของขดลวดตัวนาที่พันอยู่
เท่ากับ 300 รอบ กระแสไหลในขดลวดตัวนา 1 A จงหา
ก) ความหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็กในแกนเหล็ก
ข) เส้นแรงแม่เหล็กที่เกิดขึ้นในแกนเหล็ก
ค) กระแสที่ทาให้เกิดเส้นแรงแม่เหล็กในแกนเหล็กเท่ากับ 0.012 Wb

ก) ความหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็กในแกนเหล็ก
B =  H = 0  r  H
N I
H=
l
l = 40 + 35 + 40 + 35 = 150 cm = 1.5 m
300 1
H= = 200 A/m
1.5

12
25/11/64

B = 0  r  H
= 4  10−7  2, 000  200
= 0.5 Wb/m 2

ข) เส้นแรงแม่เหล็กที่เกิดขึ้นในแกนเหล็ก
 = B A
(10 15) + (10 10)
A= = 125 cm 2
2
= 0.0125 m 2
 = 0.5  0.0125 = 6.25 10 −3 Wb

ค) กระแสที่ทาให้เกิดเส้นแรงแม่เหล็กในแกนเหล็กเท่ากับ 0.012 Wb

 = 0.012 Wb
 0.012
B= = = 0.96 Wb/m 2
A 0.0125
B B
B = H  H= =
 0  r
0.96
H= = 382.165 A/m
4 10−7  2, 000
H l 382.165 1.5
I = = = 1.19 A
N 300

13
25/11/64

ตัวอย่ างที่ 2.3 วงจรแม่เหล็กดังรู ปประกอบไปด้วยแกนเหล็ก 2 ชนิ ดต่อกันเป็ นรู ป


วงแหวน มีความกว้างของ Air gap เท่ากับ 0.12 cm. พื้นที่หน้าตัดของแกนเหล็กเท่ากับ
0.14 m2 มีค่าความต้านทานแม่เหล็กของแกนเหล็กส่ วนแรก (1) เท่ากับ 650 A-t/Wb
ค่าความต้านทานของแกนเหล็กส่ วนที่สอง (2) เท่ากับ 244 A-t/Wb ความต้านทาน
คอยล์เท่ากับ 5.2 โอห์ม จงหาค่าต่อไปนี้

1. ความต้านทานแม่เหล็กรวมทั้งวงจร
2. เส้นแรงแม่เหล็กทั้งหมดที่เกิดขึ้นนนวงจร
3. ความหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็กนน
Air gap
4. แรงดันแม่เหล็กที่ drop นน Air gap

วิธีทา
หาความต้านทานแม่เหล็กรวมของทั้งวงจร

lc
core = = 1 + 2
o r Ac
core = 650 + 244 = 894 At / Wb

la 0.0012
 gap = = = 6,821.13 At / Wb
o Agap 4 10−7  0.14
eq =  gap1 + core +  gap 2 = 6,821.13 + 894 + 6,821.13
= 14,536.26 At / Wb

14
25/11/64

2) หาเส้นแรงแม่เหล็กทั้งหมดที่เกิดขึ้นนนวงจร
MMF = N I =  
E 24
I = = = 4.62 A
R 5.2
N I 268  4.62
 = = = 0.085 Wb
 14,536.26
3) หาความหนาแน่นของเส้นแรงนน Air gap
 0.085
B = = = 0.607 Wb / m2
A 0.14
4) หาแรงดันแม่เหล็กที่ drop นน Air gap
MMF =   gap = 0.085  (6,821.13  2) = 1,159.59 A

เส้นแรงแม่เหล็กรั่วไหลและ Fringing Effect


ในวงจรแม่เหล็กที่มีช่องว่างของอากาศ (Air gap) นั้นจะเกิดการรั่วไหล
ของฟลักซ์ จากทางเดินแม่เหล็กหรือเกิดการกระจายของฟลัก ซ์ในช่องว่าง
ของอากาศ ฟลักซ์ที่รั่วไหลออกมาท าให้เส้นแรงที่ผลิตขึ้นจากขดลวด
ตัวนาลดลงไป ซึ่งสามารถชดเชยได้ด้วยการเพิ่มแรงดันแม่เหล็กขึน้ อีก

15
25/11/64

แรงแม่ เหล็ก

พิจารณาจากรู ปข้างบนประกอบไปด้วยแกนเหล็กที่อยูก่ บั ที่มีขดลวดตัวนาพันอยูแ่ ละ


แกนเหล็กที่เคลื่อนที่ได้ซ่ ึงเรี ยกว่า “อาร์ เมเจอร์ ” สมมตินห้แกนเหล็กทั้งคู่มีพ้นื ที่หน้าตัด
A ตารางเมตรเท่ากัน มีระยะห่างเท่ากับ l เมตร ถ้ามีกระแสไหลนนขดลวดทานห้เกิดความ
หนาแน่นของฟลักซ์ B นนช่องว่างของอากาศ

แรงแม่ เหล็ก

เราสามารถเขียนสมการของแรงที่เกิดขึ้นระหว่างผิวของเหล็กทั้งสองได้ดงั นี้

B2  A
FM = Newton / pole face
2 o

แรงที่เกิดขึ้นนี้จะดึงอาร์เมเจอร์นห้เคลื่อนที่เข้ามาหาแกนเหล็กที่อยูก่ บั ที่ แรงแม่เหล็ก


ที่เกิดขึ้นนี้สามารถนาไปประยุกต์นช้นนงานต่างๆได้ เช่น การนช้แม่เหล็กไฟฟ้ายกแผ่น
เหล็กขนาดนหญ่ การดูดเศษเหล็กชิ้นเล็กๆ การแยกธาตุเหล็กออกจากสิ นแร่ รี เลย์ และ
คอนแทคเตอร์

16
25/11/64

ตัวอย่างที่ 2.4 แม่เหล็กไฟฟ้าดังรูป มีพื้นที่หน้าตัดของผิวหน้าของขั้วแม่เหล็ก


เท่ากับ 200 cm2 มีทางเดินแม่เหล็กยาว 60 cm ทาจากเหล็ก Cast steel
ขั้วทั้งสองห่างกัน 30 cm จงหากระแสที่ไหลในคอยล์ที่ทาให้แม่เหล็กไฟฟ้า
สามารถยกแผ่นเหล็ก Cast iron ขนาด 600 ปอนด์ ให้ได้ระยะห่าง 1 mm
จากขั้วแม่เหล็ก

วิธีทำ แรงที่ใช้ทั้งหมดเท่ากับ 600 4.45 = 2670 N (4.45 คือ Factor ที่ใช้ในการ


เปลี่ยนปอนด์เป็น นิวตัน) ขั้วแม่เหล็กมี 2 ขั้ว เพราะฉะนั้นแรงที่เกิดขึ้นทั้งหมด คือ

B2  A B2  A
F = 2 =
2 o o
F o 2670  4  10 −7
B2 = = = 0.168
A 200  10 −4
B = 0.41 T

ใช้ข้อมูลของเหล็กจำกกรำฟรูปที่ 2.10 ในหนังสือหน้ำ 2-8


NI = H cs lcs + 2 H g l g + H ci lci
0.41110−3
NI = (350  0.6) + (2  ) + (1, 600  0.3)
4 10−7
NI = 210 + 653 + 480 = 1,343 At

17
25/11/64

350 1600

ถ้าสมมติให้ มีจานวนขดลวดตัวนา เท่ากับ 500 รอบ


ดังนั้น กระแสที่ไหลในคอยล์ แล้วทาให้แม่เหล็กไฟฟ้าสามารถยก
แผ่นเหล็ก Cast iron หนัก 600 ปอนด์ ให้ได้ระยะห่าง 1 mm จาก
ขั้วแม่เหล็ก คือ
1,343
I = = 2.686 A
500

18
25/11/64

จบการบรรยาย

19

You might also like