You are on page 1of 292

เครื่ องจักรกลไฟฟ้ า 1

(Electrical Machines 1)

แหล่ งกําเนิดพลังงาน (Source of Energy)


พลังงานในโลกนี้จะไม่มีวนั สู ญหายไป แต่จะเปลี่ยนรู ปพลังงานไปเท่านั้น พลังงาน
ในโลกนี้กม็ ีมากมาย เช่น พลังงานไฟฟ้ า พลังงานเคมี พลังงานความร้อน พลังงานแสง
พลังงานเสี ยง พลังงานกล ฯลฯ
พลังงานทุกชนิดมีความสําคัญกับมนุษย์มาก และพลังงานที่มีสาํ คัญสําหรับมนุษย์เป็ น
อย่างมาก ก็คือ พลังงานไฟฟ้ า และพลังงานไฟฟ้ ายังสามารถเปลี่ยนแปลงเป็ นพลังงานรู ปอื่น
ได้มากมาย เช่น พลังงานเสี ยง พลังงานกล พลังงานความร้อน เป็ นต้น

แหล่ งกําเนิดพลังงานไฟฟ้ า
1. Nonrenewable ได้แก่ Coal, Natural gas, Petroleum และ Nuclear เป็ นต้น

2
2. Renewable ได้แก่ Biomass, Solar, Wind, Hydropower และ Geothermal เป็ นต้น

3. Cogeneration Plant --> พลังงานร่ วม

ตัวอย่ างเช่ น Fuel Cell


กระบวนการแยกนํ้าด้วยไฟฟ้ า (เพื่อผลิตไฮโดรเจน (H2) หรื อ ออกซิ เจน (O2))
เมื่อเราแยกนํ้า (H2O) ด้วยไฟฟ้ า (อิเล็กตรอน) นํ้าก็จะแยกออกเป็ น ไฮโดรเจน (H2) และ
ออกซิ เจน (O2)

นํา้ (H2O) + ไฟฟ้ า (อิเล็กตรอน) -------- > (H2) + (O2)

3
กระบวนการเบือ้ งต้ นของ Fuel Cell
ในกรณี กลับกันหากนํา ไฮโดรเจน (H2) และ ออกซิ เจน (O2) มาพบกัน ณ สภาวะที่
เหมาะสม อาทิ ในสารละลายกรดฟอสฟอริ ก ก็จะเกิดกระบวนการรวมตัวเป็ นนํ้า และ ปล่อย
อิเล็กตรอนอิสระ ซึ่ งก็คือ ไฟฟ้ ากระแสตรง (DC)

(H2) + (O2) -------- > นํา้ (H2O) + ไฟฟ้ า (อิเล็กตรอน)

(H2) ก็นาํ มาจากสาร Hydrocarbon ทุกชนิด อาทิ นําก๊าซธรรมชาติ มาผ่าน


กระบวนการให้ความร้อน (Reformer) ก็จะได้ H2 อิสระ และ (O2) ก็ได้จากอากาศ นัน่ เอง
และนําเข้าสู่ กระบวนการ Fuel Cell
นํ้าได้จากกระบวนการเป็ นนํ้าร้อน สามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้อีก Fuel Cell จึง
เป็ นระบบผลิตไฟฟ้ าที่ไม่มีชิ้นส่ วนที่เคลื่อนที่ (การหมุน) ดังเช่นกระบวนการผลิตไฟฟ้ า
แบบอื่น ๆ และยังให้ผลผลิตทั้งไฟฟ้ าและความร้อน ซึ่ งเป็ นระบบที่เรี ยกว่า พลังงานร่ วม

……………………………………………………………...

4
ในการทํางานของเครื่ องจักรกลไฟฟ้ ามีความจําเป็ นต้องอาศัยผลจากสนามแม่เหล็กใน
กระบวนการเปลี่ยนรู ปพลังงาน (Energy-conversion process) ซึ่ งอาจจะเป็ นการเปลี่ยนรู ป
พลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงานกล หรื อพลังงานกลเป็ นพลังงานไฟฟ้ า

สนามแม่ เหล็กและวงจรแม่ เหล็ก (Magnetic Fields and Circuits)


ในการอธิบายพฤติกรรมต่าง ๆ ของสนามแม่เหล็กนั้น จะเกี่ยวข้องกับลักษณะของ
พื้นที่หรื อรู ปร่ างของวงจรแม่เหล็กเอง ดังนั้นในการศึกษาคุณลักษณะสมบัติของสนาม
แม่เหล็กนั้น เราจะต้องพิจารณาถึงค่าต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ ค่าเส้นแรงแม่เหล็ก ค่าความ
หนาแน่นเส้นแรงแม่เหล็ก ค่าความซึ มซาบแม่เหล็ก เป็ นต้น

 แม่ เหล็ก และสนามแม่ เหล็ก (Magnet and Magnetic field)


แม่เหล็ก คือ แท่งเหล็กที่สามารถดูดเหล็กได้
สนามแม่เหล็ก คือ บริ เวณที่มีเส้นแรงแม่เหล็กไหลผ่าน

5
6
Magnetic field around a coil

7
Electromagnetic induction
ค.ศ. 1831 โดย Michael Faraday ได้คน้ พบเกี่ยวกับการเหนี่ยวนําไฟฟ้ า โดยศึกษา
จากรู ป

สรุปได้ ดงั นี้


1. เมื่อขดลวดตัวนําเคลื่อนที่ตดั เส้นแรงแม่เหล็ก หรื อเส้นแรงแม่เหล็กตัดตัวนํา จะมี
แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําเกิดขึ้นในลวดตัวนํา
2. ทิศทางแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนํา ขึ้นอยูก่ บั ทิศทางของสนามแม่เหล็กและการ
เคลื่อนที่ของตัวนํา
3. ขนาดของแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับความเร็ วที่ลวดตัวนํา
เคลื่อนที่ตดั หรื อถูกตัด กับเส้นแรงแม่เหล็ก

8
Mean corelength, l

Cross  sectional area, A

 แรงเคลือ่ นแม่ เหล็ก (Magnetomotive force, mmf.,  )


คือ พลังงานรู ปหนึ่งที่ใช้ในการเคลื่อนที่หนึ่งหน่วยขั้วแม่เหล็กให้วงิ่ รอบวงจรแม่เหล็ก
หนึ่งรอบ หรื ออาจพิจารณาว่าเป็ นความสามารถในการทําให้เกิดเส้นแรงแม่เหล็กของขดลวด
ใดขดลวดหนึ่ง ซึ่ งเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับค่ากระแส ( i ) ที่ไหลผ่านขดลวด กับจํานวนรอบ
ของขดลวดนั้น มีหน่วยเป็ น A-T ดังนั้นจะได้วา่

  Ni (1)
เมื่อ N คือ จํานวนรอบของขดลวด (Turn)
i คือ กระแส (A)

 ความต้ านทานแม่ เหล็ก (Magnetic Reluctance,  )


คือ ความต้านทานที่เกิดขึ้นในวงจรแม่เหล็ก ซึ่ งเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับความยาว ( l )
และเป็ นสัดส่ วนผกผันกับพื้นที่หน้าตัด ( A ) และ (  ) ที่เส้นแรงแม่เหล็ก ( ) ผ่านไป จะได้
l
  (2)
A
เมื่อ  คือ ความต้านทานแม่เหล็ก ( A / Wb )
A คือ พื้นที่หน้าตัดของวงจรแม่เหล็ก ( m2 )

9
ค่า  จะเป็ นตัวบ่งบอกคุณสมบัติของสารแม่เหล็กแต่ละชนิดว่ายอมให้เกิดสนาม
แม่เหล็กได้มากหรื อน้อยเพียงใด

ซึ่ ง   o r (3)

เมื่อ  o คือ ค่าความซึ มซาบแม่เหล็กของอากาศ มีค่าเท่ากับ 4  107 H/m


 r คือ ค่าความซึ มซาบแม่เหล็กสัมพัทธ์ (Relative permeability) ของสาร
ตัวกลาง ซึ่ งไม่มีหน่วย

lc
ถ้า c  (4)
 Ac

lg
g  (5)
 o Ag

10
 เส้ นแรงแม่ เหล็ก (Magnetic Flux,  )
คือ การที่แม่เหล็กส่ งอํานาจแม่เหล็กออกมารอบตัวมันเอง โดยมีทิศทางพุง่ จากขั้ว
เหนือไปยังขั้วใต้ ซึ่ งสามารถหาได้จาก


  (6)

เมื่อ  คือ เส้นแรงแม่เหล็ก (Wb )


 คือ แรงเคลื่อนแม่เหล็ก ( A  T )
 คือ ความต้านทานแม่เหล็ก ( A / Wb )

 ความเข้ มของสนามแม่ เหล็ก (Magnetic Field Intensity, H )

จาก Ampare’s law


Ni   H  dl  Hl (7)
ดังนั้น จะได้
Ni
H  (8)
l

เมื่อ H คือ ค่าความเข้มสนามแม่เหล็ก ( A  T / m )

11
 ความหนาแน่ นของเส้ นแรงแม่ เหล็ก (Magnetic Flux density, B )

B  หรือ B  H (9)
A

เมื่อ B คือ ความหนาแน่นของเส้นแรงแม่เหล็ก (Tesla , Wb / m2 )

ถ้ าไม่ มีการโกงตัวของฟลั๊ก

Ac  Ag

จากสมการ (6) จะได้


  

  (c   g )
 lc l  (10)
   g 
A  A
 c o g 

12
จากสมการ (10)
 lc lg 
    
  A  A
 o r c o g  (11)
  lc 
   lg 
o Ac   r 

และถ้ าค่ า  r มีค่ามาก

lc
นัน่ คือ lg    g  c
r
lg
ดังนั้น    (12)
o Ag

ปรากฏการณ์ สนามแม่ เหล็กเบี่ยงเบน (Fringing Effect)

Ag  Ac

จากลักษณะของวงจรแม่เหล็กที่มีช่องว่างอากาศ แนวเส้นแรงแม่เหล็กจะมีการเบี่ยงเบน
หรื อการโกงตัวของเส้นแรงแม่เหล็ก ทําให้พ้นื ที่หน้าตัดของช่องว่างอากาศ Ag มีขนาดใหญ่

13
กว่าของแกนเหล็ก Ac ทําให้ B ในช่องว่างอากาศมีค่าลดลง ซึ่ งเรี ยกว่า ปรากฏการณ์
สนามแม่ เหล็กเบี่ยงเบน (Fringing effect) ดังนั้น จึงสามารถหาค่า B ได้จากสมการ

Bc  (13)
Ac


และ Bg  (14)
Ag

ค่าความซึมซาบแม่เหล็กสัมพัทธ์สามารถแบ่งสารแม่เหล็กออกได้เป็ น 3 ประเภท ดังนี้


1. สาร Diamagnetic เป็ นสารที่มีค่า  r น้อยกว่า 1 เช่น ตะกัว่ เป็ นต้น ซึ่ งจะ
เกิดค่าสนามแม่เหล็กได้นอ้ ยมาก
2. สาร Paramagnetic เป็ นสารที่มีค่า  r ประมาณเท่ากับ 1 หรื อมากกว่า 1
เล็กน้อย เช่น อากาศ ทองแดง อลูมิเนียม เป็ นต้น ซึ่ งอาจจะกําหนดให้วา่ มี
ค่า  r คงที่ประมาณเท่ากับ  o
3. สาร Ferromagnetic เป็ นสารที่มีค่า  r ประมาณมากกว่า 1 (102  106 )
เช่น เหล็ก นิเกิล เป็ นต้น ซึ่ งจะเกิดค่าสนามแม่เหล็กได้มาก แต่จะมีค่าไม่คงที่
เมื่อ H เปลี่ยนแปลงไป

จากสมการที่ (9) จะแสดงให้เห็นว่าการเกิดค่าความหนาแน่นเส้นแรงแม่เหล็กในสาร


แม่เหล็กชนิดต่าง ๆ จะขึ้นอยูก่ บั ค่า  และ H ดังนั้น

สาร Paramagnetic B   H  o H (15)

สาร Ferromagnetic B   H  o r H (16)

14
 เส้ นโค้ งกําเนิดแม่ เหล็ก (Magnetization Curves)
การอิ่มตัวของวัสดุตวั นําแม่เหล็ก คือ สภาพที่วสั ดุตวั นําแม่เหล็กยอมรับสภาพการ
เปลี่ยนแปลงเป็ นแม่เหล็กเต็มที่แล้ว ซึ่ งพฤติกรรมของการเกิดสนามแม่เหล็กของสารแม่เหล็ก
เราจะพิจารณาได้จากกราฟแสดงความสัมพันธ์ของค่า B และ H ที่ได้จากสมการที่ (15)
และ (16) ดังรู ป

15
จากกราฟ Magnetization Curves จะพบว่าค่า B ของสาร Ferromagnetic ชนิดต่าง
ๆ จะมีการเปลี่ยนแปลงเมื่อค่า H เพิ่มขึ้น ในช่วงแรกจะเกิดค่า B ได้มาก (  r มีค่ามาก)
หลังจากนั้นค่า B จะมีค่าเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก (  r มีค่าลดลงอย่างมาก) ซึ่ งจะทําให้เกิด
สภาพที่เรี ยกว่า เกิดการอิม่ ตัวของสนามแม่ เหล็ก (Saturation) หมายความว่า สาร
Ferromagnetic จะเกิดค่ า B ได้ สูงสุ ดทีค่ ่ า ๆ หนึ่ง

ตัวอย่ างที่ 1 พิจารณาจากกราฟเส้ นโค้ งกําเนิดแม่ เหล็ก และให้ เปรียบเทียบสารแต่ ละชนิด


คือ Cast steel, Silicon steel และ Armco iron เมือ่ ความหนาแน่ นเส้ นแรงแม่ เหล็กมีค่า
เท่ ากับ 0.8 Teslas
# สาร Cast steel ต้องการค่า H เท่ากับ 780 A-t/m
B 0.8
 r _ cs    816
o H 4  107  780

# สาร Silicon steel ต้องการค่า H เท่ากับ 220 A-t/m


B 0.8
 r _ ss    2,894
o H 4  107  220

# สาร Armco iron ต้องการค่า H เท่ากับ 75 A-t/m


B 0.8
 r _ ai    8, 488
o H 4  107  75

จะเห็นได้วา่ ที่ค่า B เดียวกันสาร Armco iron ต้องการค่า H น้อยที่สุดนัน่ คือ มีค่า  r


สู งสุ ด

16
I
I 

E m.m. f .
E R

ก. วงจรแม่ เหล็ก ข. วงจรไฟฟ้ า


รู ปแสดง การเปรี ยบเทียบความสัมพันธ์ระหว่างวงจรไฟฟ้ ากับวงจรแม่เหล็ก
วงจรอนุกรม

 

ก. วงจรแม่ เหล็ก ข. วงจรไฟฟ้าเทียบเท่ าวงจรแม่ เหล็ก

วงจรขนาน

a b c
be

bafe bcde

f e d

ก. วงจรแม่ เหล็ก ข. วงจรไฟฟ้าเทียบเท่ าวงจรแม่ เหล็ก


วงจรผสม

17
ก. วงจรแม่ เหล็ก ข. วงจรไฟฟ้ าเทียบเท่ าวงจรแม่ เหล็ก
ตารางที่ 1 การเปรี ยบเทียบค่าพารามิเตอร์ของวงจรไฟฟ้ าและวงจรแม่เหล็ก

วงจรไฟฟ้า วงจรแม่ เหล็ก


Current density J Magnetic flux density B
Current I Magnetic flux 
Electric field intensity  Magnetic flux intensity H
Voltage V Magnetomotive force  ( Ni )
Conductivity  Permeability 
Resistance R Reluctance 
J B
 l  V  IR  l Hl      l
 
V  V1  V2 Vn   1  2 n
แบบอนุกรม
I1  I 2  I 3  I n 1  2  3 n
V1  V2  V3 Vn 1  2  3 n
แบบขนาน
I  I1  I 2  I n   1  2 n

18
ตัวอย่ างที่ 2 วงจรแม่ เหล็กดังแสดงในรู ป มี Ac  Ag  12 cm2 , lg  0.05 cm, lc  40 cm
N  400 รอบ และกําหนดให้ แกนเหล็กมีค่าความซึมซาบแม่ เหล็กสั มพัทธ์ ของสาร (  r )
เท่ ากับ 4,000 เมือ่ คิดผลการโกงตัวของเส้ นแรงแม่ เหล็ก (Fringing effect) ซึ่งทําให้
พืน้ ทีห่ น้ าตัดของช่ องว่ างอากาศ Ag มีค่าเพิม่ ขึน้ 5 % จงคํานวณหา
a) The total reluctance of the flux path (iron plus air gap).
b) The current required to produce a flux density of 0.5 T in the air gap.

วิธีทาํ
a) จากสมการ (9) จะได้

19
lc lc 0.4m
c   
 Ac  r o Ac 4000  4  107  0.0012m 2

 66,300 A  T / Wb

ผลของ Fringing effect) ทําให้พ้นื ที่หน้าตัดบริ เวณช่องว่างอากาศ Ag เพิ่มขึ้น 5 %


ดังนั้น
Ag  12 cm 2  1.05  12.6 cm 2

lg 0.0005m
a   g  
o Ag 4  107  0.00126m 2

 316, 000 A  T / Wb

# The total reluctance of the flux path

  c   g
 66,300  316, 000
 382,300 A  T / Wb

b) จากสมการ
  
เมื่อ   BA,   Ni

20
Ni  BA
BA
i 
N
0.5  0.00126  382,300

400
 0.602 A ans

 ความเหนี่ยวนําไฟฟ้ า ( Inductance, L )
คือ เป็ นองค์ประกอบที่ไม่สามารถรับและคายพลังงานได้ตลอดช่วงเวลา โดยพลังงาน
ที่สะสมอยูใ่ นตัวเหนี่ยวนําจะสะสมอยูใ่ นรู ปของสนามแม่เหล็ก และจะอธิ บายอยูใ่ นเทอม
ของกระแสไฟฟ้ า
Michael Faraday and Joseph Henry ได้ทาํ การทดลองเกี่ยวกับตัวเหนี่ยวนําไฟฟ้ า
โดยการจ่ายกระแสไฟฟ้ าเข้าไปในขดลวด ที่มีจาํ นวนรอบ N รอบ ซึ่งจะทําให้เกิดเส้นแรง
แม่เหล็ก  (t ) ดังนั้น จํานวนเส้นแรงแม่เหล็กทั้งหมด ของขดลวดจํานวนรอบ N รอบ ก็
คือ N (t )

N

i t 
i t 
v t 
   v t  

21
จากกฎของ Faraday’s law สรุ ปได้วา่ การเปลี่ยนแปลงของเส้นแรงแม่เหล็กจะทํา
ให้เกิดแรงดันเหนี่ยวนําขึ้น (Induced voltage) ในแต่ละรอบของขดลวด ซึ่ งขดลวดจํานวน
รอบ N รอบ ก็คือ

d (t ) d
e(t )  v(t )  N  (17)
dt dt

เมื่อ  คือ เส้นแรงแม่เหล็กที่เกี่ยวคล้อง (Flux Linkage),   N (Wb  T )


ซึ่ งจํานวนเส้นแรงแม่เหล็กทั้งหมดที่เกิดขึ้นที่จาํ นวนรอบ N รอบ ( N (t ) ) นั้นขึ้น
อยูก่ บั ค่าความเหนี่ยวนําของขดลวดและค่ากระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านขดลวด นัน่ คือ

  N  Li (18)

ดังนั้น
 N
L   (19)
i i

ดังนั้น “ค่าความเหนี่ยวนําไฟฟ้ าที่เกิดขึ้นที่ขดลวดจะเป็ นค่าของจํานวนเส้นแรง


แม่เหล็กที่เกี่ยวคล้องต่อหนึ่งหน่วยกระแส”

จากสมการ (13), (9), (8) แทนค่าในสมการ (19)

Ni
คือ   BA , B  H , H 
l

 N N BA N H A N  Ni A
L     
i i i i il

22
N 2 A N2
L   (20)
l 

ซึ่งสมการที่ (22) ถ้ าเราเลือกแกนเหล็กทีใ่ ช้ สาร Ferromagnetic ทีม่ คี ่ า r สู งมากๆ


จะทําให้ ค่า  g  c (c  0) จะได้ สมการหาค่ าความเหนี่ยวนําใหม่ คือ
N2 N 2 o Ag
L   (21)
g lg

แสดงให้เห็นว่าค่า L จะมีค่าคงที่โดยไม่ข้ ึนอยูก่ บั ค่ากระแส แต่ค่า L จะมีค่าแปรผัน


ตรงกับค่า N 2 และแปรผกผันกับค่า lg ดังนั้นเราจึงสามารถปรับค่า L ได้ตามความต้องการ
เช่น ถ้าต้องการค่า L ที่เปลี่ยนแปลงอย่างมาก ก็สามารถทําได้โดยการเปลี่ยนค่าจํานวนรอบ
ของขดลวด N แต่ถา้ ต้องการค่า L ที่เปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย ก็สามารถทําได้โดยการ
เปลี่ยนระยะช่องว่างอากาศ lg ดังรู ป

23
วศบ ฟฟ 2 สมทบ

สําหรับระบบที่มีขดลวดหลายขด ค่าของตัวเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นบนขดลวดแต่ละขด
นั้น จะมี 2 ค่า คือ

Self Inductance

1 2

N1 N2
i1 i2

11 22
L11  L22  (22)
i1 i2

เมื่อ L11 คือ Self Inductance ของขดลวด 1


11 คือ เส้นแรงแม่เหล็กที่เกี่ยวคล้อง (Flux Linkage) ของขดลวด 1
L22 คือ Self Inductance ของขดลวด 2
22 คือ เส้นแรงแม่เหล็กที่เกี่ยวคล้อง (Flux Linkage) ของขดลวด 2

24
Mutual Inductance

i1 N1 i2 N2

21  12

12
L12   L21
i2

เมื่อ L12 คือ Mutual Inductance ของขดลวด 1 อันเกิดจากการเหนี่ยวนําของขดลวด 2


12 คือ เส้นแรงแม่เหล็กที่เกี่ยวคล้อง (Flux Linkage) ที่เกิดของขดลวด 1
ซึ่ งเกิดจากกระแสไหลในขดลวด 2
i2 คือ กระแสที่ไหลในขดลวด 2

25
วงจรแม่ เหล็กแบบขดลวด 2 ขด

1
i1 i2

N1 N2
2

ในกรณีนีส้ มมติว่า r  

lc
นัน่ คือ lg    g  c
r
ดังนั้น
total  c   g
lc lg
 
o r Ac o Ag

26
และ Flux Linkage  1  2

total (m.m. f .)  N1i1  N 2i2

total N i  N 2i2
    11
g g
ดังนั้น Total Flux Linkage ของขดลวด 1 (1 )

N12 o Ag N1 N 2 o Ag
1  N1   i1   i2
lg lg

หรือ
1  L11 i1  L12 i2

เมือ่ L11 คือ Self Inductance ของขดลวด 1


L12 คือ Mutual Inductance ของขดลวด 1 อันเกิดจากการเหนี่ยวนําของขดลวด 2

N12 o Ag N1 N 2 o Ag
L11  L12 
lg lg

ทํานองเดียวกัน Total Flux Linkage ของขดลวด 2 (2 )

N1 N 2 o Ag N 22 o Ag
2  N 2   i1   i2
lg lg

หรือ

27
2  L21 i1  L22 i2

เมือ่ L22 คือ Self Inductance ของขดลวด 2


L21 คือ Mutual Inductance ของขดลวด 2 อันเกิดจากการเหนี่ยวนําของขดลวด 1

N 22 o Ag N1 N 2 o Ag
L22  L21 
lg lg
ตัวอย่ างที่ 3 วงจรแม่ เหล็ก มีขนาด Ac  9 cm2 , Ag  9 cm2 , lg  0.05 cm, lc  30 cm
N  500 รอบ และกําหนดให้ แกนเหล็กมีค่าความซึมซาบแม่ เหล็กสั มพัทธ์ ของสาร (  r )
เท่ ากับ 70,000 จงคํานวณหาค่ ากระแสทีท่ าํ ให้ บริเวณช่ องว่ างอากาศของแกนเหล็กมีความ
หนาแน่ นเส้ นแรงแม่ เหล็ก ( Bg ) เท่ ากับ 1.0 Tesla และเส้ นแรงแม่ เหล็ก ( )
วิธีทาํ จากสมการ (14) จะได้
  

Ni   (c   g )
 l l 
  c  g 
A  A
 c o g 
จากโจทย์ Ac  Ag
ดังนั้น   Bg Ag  Bc Ac
แทนค่า   Bg Ag ในสมการข้างต้น

28
Ni  Bg Ag (c   g )
Bg Ag  lc 
   lg 
o Ag  r 
Bg  lc 
i    lg 
o N   r 
1  0.3 
   5  104 
4  107  500  70000 
 0.8 A

  Bg Ag
 1 9  104
 9  104 Wb ans
ตัวอย่ างที่ 4 จากตัวอย่ างที่ 3 วงจรแม่ เหล็ก มีขนาด Ac  9 cm2 , Ag  9 cm2 , lg  0.05 cm
lc  30 cm, N  500 รอบ และกําหนดให้ แกนเหล็กมีค่าความซึมซาบแม่ เหล็กสั มพัทธ์ ของ
สาร (  r ) เท่ ากับ 70,000 จงคํานวณหาค่ าความเหนี่ยวนําไฟฟ้ า ( L ) เมือ่ บริเวณช่ องว่ าง
อากาศของแกนเหล็กมีความหนาแน่ นเส้ นแรงแม่ เหล็ก ( Bg ) เท่ ากับ 1.0 Tesla
วิธีทาํ
จากตัวอย่างที่ 1 จะได้   9  104 Wb, i  0.8 A
1  N1  500  9  104  0.45Wb  T

ซึ่ งสามารถหาค่าความเหนี่ยวนําไฟฟ้ า ( L ) ได้สองวิธี คือ


N 500  9  104
1) L    0.56 H
i 0.8

N2 N2
2) L  
 (c   g )

29
lc 0.3
c    3,789.4 AT
o  r Ac 70000  4  107  9  104
lg 5  104
g    442,097 AT
o Ag 4  107  9  104

แทนค่าจะได้
N2 5002
L    0.56 H
 (3,789.4  442,097)

แต่ เนื่องจาก  g  c ดังนั้น คํานวณหาค่ าความเหนี่ยวนําไฟฟ้า ( L ) ได้ จาก

N2 5002
L    0.565 H ans
g 442,097
ขดลวดพันรอบแกนวงแบบแหวนทอรอยด์ (Toroid)

30
i
d

รู ปแสดง ขดลวดพันรอบแกนวงแบบแหวนทอรอยด์ (Toroid)

จากกฎของแอมแปร์ (Ampare’s law) จะได้ความสัมพันธ์ของ  และ H คือ

  Ni   H dl  H * 2 R (23)
หรื อ
Ni
H  (24)
2 R
เมื่อ l คือ เส้นรอบวงเฉลี่ยของวงแหวน (2 R) (เมตร)
R คือ รัศมีเฉลี่ยของวงแหวน (เมตร)
ดังนั้น จากสมการที่ (6) จะได้


B  H  Ni (25)
2 R

จาก B 
A

ดังนั้น จะได้

31
  B Ac

 Ni ( r 2 ) (26)
2 R
r 2
 Ni
2R

เมื่อ Ac คือ รัศมีของพื้นที่หน้าตัดของแกน ( r 2 )

 การกระตุ้นวงจรแม่ เหล็กด้ วยไฟฟ้ ากระแสสลับ


(AC Excitation of Magnetic Circuits)
ในที่น้ ีจะทําการเปรี ยบเทียบการกระตุน้ วงจรแม่เหล็กด้วยไฟฟ้ ากระแสตรงและกระแส
สลับ สําหรับการกระตุน้ วงจรแม่เหล็กด้วยไฟฟ้ ากระแสตรงนั้น สามารถแสดงได้ดงั ในรู ป
ข้างล่าง

32
I
i

v V R

DC Excitation of Magnetic Circuits

จากรู ปวงจรเมื่อป้ อนแรงดันไฟฟ้ ากระแสตรงให้กบั ขดลวดของวงจรแม่เหล็ก จะทํา


ให้เกิดกระแสไหลในขดลวด ซึ่ งค่ากระแสจะถูกกําหนดโดยค่าความต้านทานไฟฟ้ าของ
ขดลวด และค่าแรงดันไฟฟ้ าที่ตกคร่ อมความต้านทาน ( RI ) จะมีค่าเท่ากับแรงดันไฟฟ้ าที่
แหล่งจ่าย (V ) ส่ วนค่าความหนาแน่นสนามแม่เหล็กนั้นจะขึ้นอยูก่ บั ค่า H ,  and A

I rms
i
R
v Vrms
j L

AC Excitation of Magnetic Circuits

ส่ วนกรณี ที่ทาํ การกระตุน้ ด้วยแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้ ากระแสสลับ ค่ากระแสไฟฟ้ าที่


เกิดขึ้นในขดลวดนั้นจะถูกกําหนดโดยค่าอิมพีแดนซ์ (Z ) ของขดลวด ซึ่ งประกอบด้วยค่า
ความต้านทานจริ ง ( R) และค่าความเหนี่ยวนํา ( L) และโดยปกติน้ นั ค่าแรงดันไฟฟ้ าที่ตก

33
คร่ อมความต้านทาน ( R) นั้นจะมีค่าน้ อยกว่ าแรงดันเหนี่ยวนําที่ค่าความต้านทานเสมือน ( j L)
ซึ่ งจะมีค่าประมาณเท่ากับแรงดันที่แหล่งจ่าย
ดังนั้น ในการกระตุน้ วงจรแม่เหล็กด้วยแหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้ ากระแสสลับนั้น จะทํา
ให้เกิดแรงดันไฟฟ้ าเหนี่ยวนําเกิดขึ้นในขดลวด ซึ่ งเป็ นไปตามกฎของ Faraday’s law
กล่าวคือ “แรงดันไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นที่ขดลวด ซึ่ งมีสนามแม่เหล็กเกี่ยวคล้องที่มีการ
เปลี่ยนแปลงตามเวลา จะแปรผันตรงกับจํานวนรอบของขดลวด N และอัตราการเปลี่ยน
แปลงของเส้นแรงแม่เหล็ก ( ) หรื อการเปลี่ยนแปลงของเส้นแรงแม่เหล็กจะทําให้เกิดแรงดัน
ไฟฟ้ าเหนี่ยวนําขึ้นในแต่ละรอบของขดลวด ซึ่ งขดลวดจํานวนรอบ N รอบ” ก็คือ
d (t ) d
e(t )  v(t )  N  (27)
dt dt
และในทางปฏิบตั ิ เพื่อความสะดวกในการพิจารณา เราจะกําหนดให้ความสัมพันธ์
ระหว่างค่าเส้นแรงแม่เหล็กกับค่ากระแสนั้น มีความสัมพันธ์เป็ นเชิงเส้น ( Error น้อยมาก)
และค่าเส้นแรงแม่เหล็กที่เกิดขึ้น เปลี่ยนแปลงในลักษณะสัญญาณรู ปไซน์ จะได้ดงั สมการ
  m sin t (28)
ดังนั้นจะได้ค่าแรงดันไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่ขดลวดจํานวน N รอบ คือ

d d sin t
e  N  N m  Nm cos t  Em cos t (29)
dt dt

เมื่อ Em  Nm
ดังนั้น
Em N m
Erms  Vrms    4.44 N f m (30)
2 2

34
เมื่อ   2 f

ตัวอย่ างที่ 5 วงจรแม่ เหล็ก มีจาํ นวนรอบขดลวดเท่ ากับ 500 รอบ ถ้ าจ่ ายแรงดันไฟฟ้ าให้ กบั
ขดลวดมีค่าเท่ ากับ v  500 cos 314t V จงคํานวณหาค่ าเส้ นแรงแม่ เหล็กทีเ่ กิดขึน้ ในวงจร
แม่ เหล็กนี้ ( )
วิธีทาํ
Em 500
Erms  Vrms    353.55 V
2 2
จากสมการที่ (30)
Erms  4.44 N f m

Erms 353.55
m    3.185 mWb ans
4.44 N f 4.44  500  50

35
 Hysteresis and Losses
เป็ นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในวัสดุตวั นําแม่เหล็ก อธิ บายได้โดยเส้นโค้งที่เกิดจากผล
ทางแม่เหล็ก หรื อ B  H Curve ดังแสดงในรู ป

36
2.หม้ อแปลงไฟฟ้า
(Transformer)
หม้ อแปลงไฟฟ้ า (Transformers) เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้ปรับระดับแรงดันไฟฟ้ า เพือ่ ให้มี
ระดับแรงดันเหมาะสมที่จะใช้ได้กบั อุปกรณ์ไฟฟ้ าชนิดต่าง ๆ หรื อ ทําหน้าที่ส่งผ่านกําลัง
ไฟฟ้ าในระบบไฟฟ้ าจากวงจรหนึ่งไปยังอีกวงจรหนึ่ง ที่ระดับความถี่เดียวกัน โดยวิธีการ
เปลี่ยนทั้งค่าแรงดันและกระแสไฟฟ้ า ซึ่ งใช้หลักการของวงจรแม่เหล็กที่กระตุน้ ด้วยไฟฟ้ า
กระแสสลับ จึงทําให้เกิดแรงดันไฟฟ้ าเหนี่ยวนําขึ้น (Faraday’s law)

Unit transformer
(110+ kV)

Substation transformer
(2.3 – 34.5 kV)

Distribution transformer (110V, 220V)


33
 โครงสร้ างของหม้ อแปลงไฟฟ้า
1. ขดลวดปฐมภูมิ (Primary)
2. ขดลวดทุติยภูมิ (Secondary)
3. แกนเหล็ก (Core) ซึ่ งทําจากสาร Ferromagnetic ที่มีคุณสมบัติทางแม่เหล็กที่ดี
คือ มีความซึ มซาบแม่เหล็กสู ง ๆ เพื่อลดการเกิดปรากฏการณ์สนามแม่เหล็กรั่ว

 การทํางานของหม้ อแปลงไฟฟ้า
ขณะไม่ มภี าระ (No Load)

i 
E1 E2

R1 90
v1 e1 N1 N2 e2 v2

ก) ข)

รู ปที่ 1 หลักการทํางานของหม้อแปลง

จากรู ปที่ 1 ก) เมื่อขดลวด Primary (N1) ได้รับ v1 และขดลวด Secondary (N2) อยูใ่ นสภาพ
เปิ ดวงจร จะทําให้เกิดค่ากระแสปริ มาณหนึ่งไหลในขดลวด (N1) เรี ยกว่า กระแสกระตุน้ i
(Exciting Current) และจะมีผลทําให้เกิดแรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนํา (Induced Voltage) ขึ้นที่
ขดลวดทั้งสองดังนี้

34
d
e1  N1  N1 m cos t  Em1 cos t (31)
dt
d
e2  N 2  N 2 m cos t  Em 2 cos t (32)
dt
เมือ่   m sint
m  Maximum magnetic flux

ถ้ ากําหนดให้ E1 และ E2 เป็ นค่าประสิ ทธิ ผล (rms) ของแรงดันไฟฟ้ าเหนี่ยวนํา e1 และ


e2 ตามลําดับ และ   2 f

N1  m 2 f
E1   N1 m  4.44 f N1 m (33)
2 2

N 2  m 2 f
E2   N 2 m  4.44 f N 2 m (34)
2 2

เมื่อ m  Bm Ac จะได้

E1  4.44 f N1 Bm Ac (35)

E2  4.44 f N 2 Bm Ac (36)

และจากสมการที่ (35) และ (36) จะได้ความสัมพันธ์ของแรงดันไฟฟ้ าเหนี่ยวนําในรู ป


อัตราส่ วนแรงดันไฟฟ้ า (Voltage ratio) หรื อ (Turns ratio) ดังนี้

E1 N
 1  a (37)
E2 N2

35
i 
E1 E2

R1 90
v1 e1 N1 N2 e2 v2

ก) ข)

รู ปที่ 1 หลักการทํางานของหม้อแปลง

จากรู ปที่ 1 ก) สามารถเขียนสมการแรงดันไฟฟ้ าทางด้าน Primary และ Secondary ได้ดงั นี้

v1  R1 i  e1 (38)

ในทางปฏิบัตนิ ้ันจะพบว่ าค่ า R1 และ i มีค่าน้ อยมาก ดังนั้น  v1  e1

v2  e2 (39)

ดังนั้น จะได้ ความสั มพันธ์ ของค่าอัตราส่ วนแรงดันไฟฟ้ าจากสมการ (37) ใหม่ ดงั นี้

V1 E N
 1  1  a (40)
V2 E2 N2

เมือ่ V1 และ V2 เป็ นค่าประสิ ทธิ ผล (rms) ของแรงดันไฟฟ้ าที่วดั ได้ (Terminal Voltage) ที่
ขดลวด Primary และ Secondary ตามลําดับ

36
ในขณะทีย่ งั ไม่ มภี าระ (No Load) จะมีเพียงกระแสกระตุ้น I เท่ านั้น ซึ่งประกอบด้ วย
1. กระแส I m (Magnetizing Current) เป็ นค่ากระแสที่ใช้สร้างสนามแม่เหล็ก เพื่อทําให้
เกิดการเหนี่ยวนํา e1 และ e2
2. กระแส I c (Core loss Current) เป็ นค่ากระแสที่ทาํ ให้เกิดค่าสู ญเสี ยในแกนเหล็ก ดังรู ป
Ic V1 V2
c

Im
I

รู ปที่ 2 ส่ วนประกอบของค่ากระแสกระตุน้

จากรู ปที่ 2 จะได้ความสัมพันธ์ของค่ากระแสดังนี้

I  I c  I m (41)
I c  I cos c (42)
I m  I sin c (43)

ดังนั้น จากรู ปที่ 2 ค่ าสู ญเสี ยในแกนเหล็ก ( Pcore or Pc ) สามารถหาได้ จากสมการ

Pc  V1 I cos c  V1 I c (44)

เมือ่ Sc  V1 I
Pc I
Power Factor (cos c ) =  c (45)
Sc I

37
ขณะมีภาระ (Transformer Under Load)

2  Ic V1 V2
I1 2 I2 2 
1
I2 N2
Im I 2  I 2
V1 N1 N2 V2 ZL N1
I

I1

ก) ข)

รู ปที่ 3 หลักการทํางานของหม้อแปลงขณะมีภาระ

จากรู ปที่ 3 ก) เมื่อต่อโหลด Z L เข้ากับขดลวด Secondary กระแส I จะสร้างแรงเคลื่อน


แม่เหล็ก ( N1I ) ขึ้น และ ( N1I ) นี้จะทําให้เกิด  ขึ้น และเคลื่อนตัวไปตัดขดลวด
Secondary จึงทําให้เกิด V2 ขึ้น
V2 จะไปสร้างกระแส I 2 V2 / Z L  ขึ้นและทําให้เกิด ( N 2 I 2 ) และ 2 และเมื่อ
2 เคลื่อนตัวตัดขดลวด Primary จึงทําให้เกิด I 2 ขึ้น กระแส I 2 ที่เกิดขึ้นนี้จะไปสร้าง
( N1I 2 ) ขึ้นมาชดเชยกับค่า ( N 2 I 2 ) และสร้าง 2 ที่มีขนาดเท่ากับ 2 จากนั้นก็จะกลับ
เข้าสู่ สภาวะปกติ ซึ่ งแสดงได้ดงั สมการ

N 2 I 2  N1I 2 (46)

ดังนั้น จะได้ ความสั มพันธ์ ของค่ าอัตราส่ วนกระแสไฟฟ้ า (Current Ratio) ดังนี้

I 2 N 1
 2  (47)
I2 N1 a

38
และจะได้
I1  I  I 2 (48)

ดังนั้น ถ้ ากําหนดให้ ค่ากระแสกระตุ้น I มีค่าน้ อยมาก (ไม่ เกิน 5% ของกระแสพิกดั ) จะ


สามารถประมาณได้ ว่า (Ideal Transformer)
N2
I1  I 2  I2 (49)
N1
และ Current Ratio คือ
I1 N 1
 2  (50)
I2 N1 a

จากหลักการทํางานพืน้ ฐานของหม้ อแปลงทีก่ ล่ าวมานีส้ ามารถสรุปได้ ว่า


1. ขณะไม่มีภาระ หม้อแปลงไฟฟ้ าจะไม่มีการส่ งผ่านกําลังไฟฟ้ า จะมีเพียงกระแส I
เท่านั้นเพื่อใช้สร้าง  ดังนั้นกําลังไฟฟ้ าที่รับเข้ามา (V1I ) จะสู ญเสี ยไปในรู ปของ
ความร้อนที่แกนเหล็ก ( Pc  V1 I cos  c )
2. ขณะที่มีภาระ Z L จะมีการส่ งผ่านกําลังไฟฟ้ าทางด้าน Secondary เท่ากับ V2 I 2 ซึ่ ง
ส่ งผ่านมาในรู ปของค่าแรงเคลื่อนแม่เหล็กจาก Pri และการสู ญเสี ยที่เกิดขึ้นจะเกิดขึ้น
ในแกนเหล็ก (Core loss) และในลวดทองแดง (Copper loss) ดังนั้นจะได้

P1  V1 I1 cos1 (51)

P2  V2 I 2 cos 2 (52)

เมือ่ P1 และ P2 คือ ค่ากําลังไฟฟ้ าจริ ง


cos1 คือ ค่าตัวประกอบกําลังไฟฟ้ าของหม้อแปลงไฟฟ้ า
cos 2 คือ ค่าตัวประกอบกําลังไฟฟ้ าของภาระไฟฟ้ า Z L

39
ถ้ าหม้ อแปลงในอุดมคติ “the output power of an ideal transformer is equal to its
input power”

POutput  V2 I 2 cos     1   2 (53)

จาก Ratio equations

V1 E N I
 1  1  2  a
V2 E2 N2 I1

V1
ดังนั้น V2  and I 2  aI1 แทนค่าในสมการ (53)
a

V1
POutput  (aI1 ) cos     1   2
a

POutput  V1 I1 cos   PInput (54)


และ
QInput  V1 I1 sin  V2 I 2 sin  QOutput (55)
และ
S Input  V1 I1  V2 I 2  SOutput (56)

40
 การคํานวณค่ าประสิ ทธิภาพของหม้ อแปลงไฟฟ้า
(Calculation of Transformer Efficiency)
หม้อแปลงขณะใช้งานจะเกิดการสูญเสี ย 2 ลักษณะคือ การสู ญเสี ยใน Pc และ Pcu
เนื่องจากมีกระแสไหลผ่านขดลวดทั้งด้าน Pri และ Sec จึงทําให้เกิดค่าสูญเสี ยทางไฟฟ้ าใน
รู ปของความร้อนดังสมการ

Pcu  I12 R1  I 22 R2 (57)


ดังนั้น
P2 Poutput Poutput
    (58)
P1 Pinput Poutput  Pc  Pcu
หรื อ
Pinput  Pc  Pcu
  (59)
Pinput

ดังนั้น ถ้าต้องการเพิ่มประสิ ทธิภาพของหม้อแปลงให้ดีข้ ึนสามารถทําได้โดยการลด


ค่าการสูญเสี ยต่าง ๆ เช่น เลือกใช้สาร Ferromagnetic ที่มีค่าสูญเสี ยในแกนเหล็กตํ่า ๆ และ
ออกแบบลวดตัวนําให้มีขนาดใหญ่ข้ ึน เพื่อลดค่า ค.ต.ท. ของขดลวดลง ทั้งนี้เพราะค่า Pcu
จะขึ้นอยูก่ บั ค่า ค.ต.ท. ของขดลวด

41
ตัวอย่ างที่ 6 หม้ อแปลงไฟฟ้ า 20 kVA, 1000/200 V, 50 Hz มีการสู ญเสี ยในแกนเหล็กที่
พิกดั 300 W เมือ่ จ่ ายกําลังไฟฟ้ าเต็มพิกดั ที่ 200 V ให้ กบั ภาระไฟฟ้าที่ 0.9 lagging pf. เกิด
การสู ญเสี ยในลวดทองแดงทั้งหมดทีพ่ กิ ดั 350 W จงคํานวณหาค่ าประสิ ทธิภาพของหม้ อ
แปลงไฟฟ้ านี้
วิธีทาํ กําลังไฟฟ้ าที่จ่ายให้กบั ภาระ
Poutput  V2 I 2 cos  2
 20,000  0.9
 18,000W
Poutput
   100%
Poutput  Pc  Pcu
18000
  100%
18000  300  350
 96.5% Ans

ตัวอย่ างที่ 7 จากตัวอย่างที่ 6 ถ้ าหม้ อแปลงไฟฟ้ าดังกล่าวจ่ ายกําลังไฟฟ้ าเต็มพิกดั ที่ 200 V
ให้ กบั ภาระไฟฟ้ าที่ 0.7 lagging pf. เกิดการสู ญเสี ยในลวดทองแดงทั้งหมดทีพ่ กิ ดั 350 W
จงคํานวณหาค่ าประสิ ทธิภาพของหม้ อแปลงไฟฟ้ านี้
วิธีทาํ เมื่อจ่ายกําลังไฟฟ้ าเต็มพิกดั เช่นเดิม ค่าการสู ญเสี ยต่าง ๆ ที่พิกดั จะมีค่าเท่าเดิม
Poutput
   100%
Poutput  Pc  Pcu
V2 I 2 cos  2
  100%
V2 I 2 cos  2  Pc  Pcu
20000  0.7
  100%
(20000  0.7)  300  350
 95.56% Ans

42
ตัวอย่ างที่ 8 หม้ อแปลงไฟฟ้ า 1kVA, 50/200 V, 50 Hz เมือ่ จ่ ายกําลังไฟฟ้ าเต็มพิกดั ที่ 200 V
ให้ กบั ภาระไฟฟ้ าที่ 0.8 lagging pf. จงคํานวณหาค่ าประสิ ทธิภาพของหม้ อแปลงไฟฟ้ านี้
เมือ่ ไม่ คดิ ค่ าความต้ านทานไฟฟ้ าของขดลวดทั้งสองด้ าน
กําหนดให้ Vinput  500V , Voutput  2000V และทางด้ าน Pri มีค่ากระแส
กระตุ้น I c  0.70 A, I m  2.7  90 A
วิธีทาํ
จากสู ตรกําลังไฟฟ้ าที่จ่ายให้กบั ภาระ P2  Poutput  V2 I 2 cos  2

เมื่อมีภาระเท่ากับ 0.8 lagging pf. นัน่ คือ  2  cos 1 0.8  36.87


kVA 1000VA
-> กระแสทางด้าน Sec. มีค่าเท่ากับ I2    5  36.87 A
V2 200V

-> กําลังไฟฟ้ าที่จ่ายให้กบั ภาระหรื อด้าน Sec. ที่พิกดั P2  Poutput  V2 I 2 cos  2

P2  Poutput  V2 I 2 cos  2  200  5  0.8  800W

I 2 1
จากสมการที่ (47) 
I2 a
I2 5  36.87
I 2    20  36.87 A
a (50 / 200)

จากสมการที่ (47) I  I c  I m  0.70  2.7  90  2.8  75.46 A

จากโจทย์เมื่อไม่คิดค่า ค.ต.ท. ของขดลวด (ไม่มี Pcu ) ดังนั้นจึงมีการสู ญเสี ย Pc เพียง


อย่างเดียว ดังนั้น เมื่อทราบค่า Poutput  800W จึงสามารถหาค่าประสิ ทธิภาพได้ 2 วิธี คือ
1. โดยการหาค่า Pc  V1 I cos  c

2. โดยการคํานวณหาค่า Pinput , P1  V1 I1 cos 1  ( I1  I  I 2 )

43
วิธีที่ 1 มีการสู ญเสี ย Pc เพียงอย่ างเดียว --> Pc  V1 I cos  c =V1*Ic=35W

Pc  50  2.8 cos  75.46  35.15W

Poutput
   100%
Poutput  Pc  Pcu
800
  100%
800  35.15  0
 95.8% Ans

วิธีที่ 2 โดยหาค่ ากําลังไฟฟ้ าทางด้ าน Pri. ทีพ่ กิ ดั --> Pinput  V1 I1 cos 1

-> กระแสทางด้าน Pri. ที่พิกดั มีค่าเท่ากับ


I1  I  I 2  2.8  75.46  20  36.87  22.25  41.35 A

-> มุมระหว่าง I1 และ V1 ทางด้าน Pri. มีค่าเท่ากับ 1  41.35


-> กําลังไฟฟ้ าทางด้าน Pri. ที่พิกดั มีค่าเท่ากับ
Pinput  V1 I1 cos 1  50  22.25  cos  41.35  835W

Poutput
   100%
Pinput
800
  100%
835
 95.8% Ans

กรณี Ideal Transformer


PInput  V1 I1 cos   50  20  cos (36.87  36.87)  1000W  I1  I 2

POutput  V2 I 2 cos   200  5  cos (36.87  36.87)  1000 W

44
วศบ ฟฟ 2 (ปกติ)

 การเปลีย่ นรู ปค่ าอิมพีแดนซ์ ของหม้ อแปลงไฟฟ้า


(Impedance Transformation through a Transformer)

ค่าอิมพีแดนซ์ของโหลด สามารถหาได้จากสมการ

VL V V
ZL   2  s (60)
IL I2 Is

45
ซึ่ งจะได้ค่าอิมพีแดนซ์ของโหลด ปรากฏทางด้าน Pri. คือ

V1 V
Z L   P (61)
I1 IP
จาก Ratio equations

V1
 a  V1  aV2
V2

I2 I2
 a  I1 
I1 a

ดังนั้น จะได้ ค่าอิมพีแดนซ์ ของโหลด ปรากฏทางด้ าน Pri. เป็ น

V1 aV2 V
Z L    a2 2
I1 I2 / a I2

Z L  a 2 Z L (62)

46
 การวิเคราะห์ วงจรทีป่ ระกอบด้ วยหม้ อแปลงอุดมคติ
(Analysis of Circuits Containing Ideal Transformers)
ในการวิเคราะห์วงจรที่ประกอบด้วยหม้อแปลงอุดมคติ จะทําให้ในการคํานวณหาค่า
แรงดันและกระแสไฟฟ้ านั้น สามารถทําได้โดยง่ายและค่าที่เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าจ่าย (ต้นทาง)
กับค่าที่โหลดรับ (ปลายทาง) มีค่าใกล้เคียงกันมากที่สุด (การสู ญเสี ยน้อย) โดยการเขียนวงจร
ระบบกําลังร่ วมกับหม้อแปลงไฟฟ้ าได้ดว้ ยวงจรไฟฟ้ า หรื อวงจรสมมูล (Equivalent circuit)

47
Example 2-1 (page 73) A single-phase power system consists of a 480V, 60Hz
generator supplying a load Zload  4  j3  though a transmission line of impedance
Z line  0.18  j 0.24  . Answer the following questions about this system.

a) If the power system is exactly as described above (Fig 2-6a), what will the voltage
at the load be? What will the transmission line losses be?
b) Suppose a 1:10 step-up transformer is placed at the generator end of the
transmission line and a 10:1 step-down transformer is placed at the load end of
the line (Fig 2-6b). What will the load voltage be now? What will the transmission
line losses be now?

48
Solution
a) Figure 2-6a shows the power system without transformers. Here I G  I line  I load .
The line current in this system is given by
V
I line 
Z line  Z load
4800V

(0.18  j 0.24)  (4  j 3)
4800

4.18  j 3.24
4800

5.2937.8
 90.8  37.8 A

Therefore the load voltage is


Vload  I line Z load
 (90.8  37.8)(4  j 3)
 (90.8  37.8)(536.9)
 454  0.9 V

and the line losses are


Ploss  I line
2
Rline
 90.82  0.18
 1,484 W

b) Figure 2-6b shows the power system with the transformers. To analyze this system,
it is necessary to convert it to a common voltage level. This is done in two steps:
1. Eliminate transformer T2 by referring the load over to the transmission
line’s voltage level.
2. Eliminate transformer T1 by referring the transmission line’s elements and
the equivalent load at the transmission line’s voltage over to the source side.

49
The value of the load’s impedance when reflected to the transmission system’s voltage is
  a 2 Z load
Z load
2
 10 
   (4  j 3)
1
 400  j 300 

The total impedance at the transmissionline level is now



Z eq  Z line  Z load
 (0.18  j 0.24)  (400  j 300)
 400.18  j 300.24
 500.336.88 

50
This equivalent circuit is shown in Figure 2-7a. The total impedance at the
transmission line level ( Zline  Zload
 ) is now reflected across T1 to the source’s voltage level.

Z eq  a 2 Z eq
 )
 a 2 ( Z line  Z load
2
1
    (0.18  j 0.24)  (400  j 300) 
 10 
 (0.0018  j 0.0024)  (4  j 3)
 5.00336.88 

Notice that Zline   4  j 3  . The resulting


  0.0018  j 0.0024  and Z load
equivalent circuit is shown in Figure 2-7b. The generator’s current is

4800
IG   95.94  36.88 A
5.00336.88

Knowing the current IG , we can now work back and find I line and I load . Working
back through T1 , we get
N P1I G  N S 1I line
N P1I G
I line 
N S1
1
 (95.94  36.88)  9.594  36.88 A
10

Working back through T2 gives


N P 2 I line  N S 2 I load
N P 2 I line
I load 
NS 2
10
 (9.594  36.88)  95.94  36.88 A
1

51
It is now possible to answer the questions originally asked. The load voltage is given
by
Vload  I load Z load
 (95.94  36.88)(536.87)
 479.7  0.01 V

and the line losses are given by

Ploss  I line
2
Rline
 9.5942  0.18
 16.7 W Ans

52
Exercises 1
1. หม้อแปลงไฟฟ้ า ขนาดแรงดัน 500/100V, 50Hz ทางด้านแรงสู งทนกระแสได้ 15A
จงคํานวณหาขนาดกระแสทางด้านแรงตํ่า และพิกดั กําลังไฟฟ้ าของหม้อแปลงไฟฟ้ านี้
(75A, 7,500VA)
2. จากโจทย์ขอ้ 1 เมื่อออกแบบหม้อแปลงโดยใช้แกนเหล็กชนิด Silicon steel ที่มีค่า
ความหนาแน่นเส้นแรงแม่เหล็กเท่ากับ 1.1 Teslas และมีพ้นื ที่หน้าตัดเท่ากับ 2.73x10-3m2
จงคํานวณหาจํานวนรอบของขดลวดทั้งสองด้าน (750 รอบ, 150 รอบ)
3. หม้อแปลงไฟฟ้ าตัวหนึ่ง ออกแบบโดยใช้แกนเหล็กชนิด Silicon steel ที่มีค่าความ
หนาแน่นเส้นแรงแม่เหล็กเท่ากับ 1 Teslas และมีพ้นื ที่หน้าตัดเท่ากับ 9x10-3m2
ขดลวดทางด้านแรงตํ่ามีจาํ นวนรอบเท่ากับ 250 รอบ ทนกระแสได้ 120A และขดลวด
ทางด้านแรงสู งมีจาํ นวนรอบเท่ากับ 1000 รอบ ทนกระแสได้ 30A จงคํานวณหาขนาด
พิกดั ของแรงดันและกําลังไฟฟ้ าของหม้อแปลงตัวนี้ (2000/500V, 60kVA)
4. จากโจทย์ขอ้ 3 เมื่อออกแบบหม้อแปลงโดยใช้แกนเหล็กชนิด Armco iron ที่มีค่า
ความหนาแน่นเส้นแรงแม่เหล็กเท่ากับ 1.3 Teslas ถ้าขนาดพื้นที่หน้าตัดแกนเหล็ก
และขนาดพิกดั แรงดันไฟฟ้ าและกําลังไฟฟ้ ามีค่าเท่าเดิม จงคํานวณหาจํานวนรอบของ
ขดลวดทั้งสองด้าน (770 รอบ, 192 รอบ)
5. จากโจทย์ขอ้ 3 เมื่อออกแบบหม้อแปลงโดยใช้แกนเหล็กชนิด Armco iron ที่มีค่า
ความหนาแน่นเส้นแรงแม่เหล็กเท่ากับ 1.3 Teslas ถ้าจํานวนรอบของขดลวดทั้งสอง
ด้านและขนาดพิกดั แรงดันไฟฟ้ าและกําลังไฟฟ้ ามีค่าเท่าเดิม จงคํานวณหาขนาดพื้นที่
หน้าตัดของแกนเหล็ก (6.93x10-3m2)

53
 วงจรสมมูลของหม้ อแปลงไฟฟ้า
(The Equivalent Circuit of a Transformer)

ในการวิเคราะห์วงจรของหม้อแปลง เพื่อคํานวณหาค่าพารามิเตอร์ต่าง ๆ ของหม้อ


แปลงนั้น สามารถทําได้โดยการเขียนวงจรหม้อแปลงด้วยวงจรไฟฟ้ า หรื อวงจรสมูล
(Equivalent circuit) วงจรสมมูลนี้สามารถย้ายไปรวมกันทางด้านใดด้านหนึ่งของหม้อแปลง
ก็ได้ ซึ่ งค่าใด ๆ ของขดลวดทั้งสองจะมีค่าเท่ากันและการย้ายค่าต่าง ๆ นี้ จะไม่ทาํ ให้
คุณสมบัติของหม้อแปลงดังกล่าวเปลี่ยนไป ดังแสดงในรู ปที่ 4

I1 R1 jXl1 I 2 I2 R2 jXl2

I
Ic Im
V1 Rc jX m E1 E2 V2 ZL

N1 N2
Ideal Transformer

รูปที่ 4 วงจรสมมูลของหม้อแปลงจริ ง

54
วงจรสมมูลของขดลวดปฐมภูมิ
“ ค่าใด ๆ ของขดลวดทางด้านทุติยภูมิ มีค่าเทียบเท่ากันกับค่าของขดลวดทางด้าน
ปฐมภูมิ หรื อ การย้ายค่าต่าง ๆ ทางด้านทุติยภูมิไปไว้ทางด้านปฐมภูมิ (Referred
to the primary side)”

 การย้ ายค่ าต่ าง ๆ ทางด้ านทุตยิ ภูมิไปไว้ทางด้ านปฐมภูมิ (Referred to the


primary side)

I1 R1 jXl1 I 2 R2 jX l2

I
Ic Im
V1 Rc jX m E1  E2 V2 Z L

รู ปที่ 5 วงจรสมมูลที่ยา้ ยค่าต่าง ๆ ทางด้านทุติยภูมิไปไว้ทางด้านปฐมภูมิ

จากรู ปที่ 5 โดย Kirchoff’s law จะได้

V1  I1  R1  jXl1   E1 (63)
E1  E2  aE2 (64)
E2  I 2  R2  jX l2   V2 (65)
I c  I cos c (66)
I m  I sin c (67)

55
ซึ่ ง
R2  a 2 R2 X l2  a 2 Xl2

Z L  a 2 Z L Z L  RL  jX L
E1 E1
Rc  Xm 
Ic Im
I2
V2  aV2 I 2 
a

56
 วงจรสมมูลโดยประมาณ เมื่อย้ ายค่ าต่ าง ๆ ทางด้ านทุตยิ ภูมิไปไว้ ทางด้ าน
ปฐมภูมิ (Approximate Equivalent Circuit referred to the primary side)
เพื่อทําให้การคํานวณหาค่าพารามิเตอร์ต่าง ๆ ของวงจรหม้อแปลงง่ายขึ้น จึง
ได้ยา้ ยส่ วนการสู ญเสี ยในแกนเหล็ก (Core loss –> 2-10%) ไปไว้หน้า R1 ดังรู ป

Req1 jX eq1

รู ปที่ 6 วงจรสมมูลโดยประมาณ เมื่อย้ายค่าต่าง ๆ ทางด้านทุติยภูมิไปไว้ทางด้านปฐมภูมิ

จะได้ Req1  R1  R2  R1  a 2 R2 (68)


jX eq1  j  Xl1  X l2   j  Xl1  a 2 Xl2  (69)
V1  I 2  Req1  jX eq1   V2
(70)

I2
a
 Req1  jX eq1   aV2

57
 วงจรสมมูลโดยประมาณ เมื่อไม่ คดิ การสู ญเสี ยในแกนเหล็ก ทีย่ ้ ายค่ าต่ าง ๆ
ทางด้ านทุตยิ ภูมิไปไว้ ทางด้ านปฐมภูมิ
เพื่อทําให้การคํานวณหาค่าพารามิเตอร์ ต่าง ๆ ของวงจรหม้อแปลงง่ายและ
สะดวกขึ้นอีก จึงไม่คิดการสู ญเสี ยในแกนเหล็ก (Core loss –> 2-10%) จึงได้วงจร
สมมูลใหม่ ดังแสดงในรู ปที่ 7
Req1 jX eq1

Req1 jX eq1

I1  I 2

รู ปที่ 7 วงจรสมมูลโดยประมาณ เมื่อไม่คิดการสูญเสี ยในแกนเหล็ก

จะได้ Req1  R1  R2  R1  a 2 R2 (71)


jX eq1  j  Xl1  X l2   j  Xl1  a 2 Xl2  (72)
V1  I1  Req1  jX eq1   aV2 (73)

58
วงจรสมมูลของขดลวดทุติยภูมิ
“ ค่าใด ๆ ของขดลวดทางด้านปฐมภูมิ มีค่าเทียบเท่ากันกับค่าของขดลวดทางด้าน
ทุติยภูมิ หรื อ การย้ายค่าต่าง ๆ ทางด้านปฐมภูมิไปไว้ทางด้านทุติยภูมิ (Referred
to the secondary side) ”

 การย้ ายค่ าต่ าง ๆ ทางด้ านปฐมภูมิไปไว้ทางด้ านทุตยิ ภูมิ (Referred to the


secondary side)

I1 R1 jX l1 I2 R2 jXl2

I
I c I m
V1 Rc jX m E1  E2 V2 ZL

รู ปที่ 8 วงจรสมมูลที่ยา้ ยค่าต่าง ๆ ทางด้านปฐมภูมิไปไว้ทางด้านทุติยภูมิ

ซึ่ งจะได้
R1 Xl1 Rc Xm
R1  , X l1  , Rc  , X m 
a2 a2 a2 a2
V1
V1  , I1  aI1
a
I c  aI c , I m  aI m

E1 N1
E1  เมือ่ a  
a N2

59
 วงจรสมมูลโดยประมาณ เมื่อย้ ายค่ าต่ าง ๆ ทางด้ านปฐมภูมิไปไว้ ทางด้ าน
ทุตยิ ภูมิ (Approximate Equivalent Circuit referred to the secondary side)
เพื่อทําให้การคํานวณหาค่าพารามิเตอร์ต่าง ๆ ของวงจรหม้อแปลงง่ายขึ้น จึง
ได้ยา้ ยส่ วนการสู ญเสี ยในแกนเหล็ก (Core loss –> 2-10%) ไปไว้หน้า R1 ดังรู ป

Req 2 jX eq 2

รู ปที่ 9 วงจรสมมูลโดยประมาณ เมื่อย้ายค่าต่าง ๆ ทางด้านปฐมภูมิไปไว้ทางด้านทุติยภูมิ

R1
จะได้ Req 2  R1  R2   R2 (74)
a2
 Xl 
jX eq 2  j  X l1  Xl2   j  21  Xl2  (75)
a 
V1  I 2  Req 2  jX eq 2   V2
(76)
 I 2  Req 2  jX eq 2   V2
V1
a

60
 วงจรสมมูลโดยประมาณ เมื่อไม่ คดิ การสู ญเสี ยในแกนเหล็ก ทีย่ ้ ายค่ าต่ าง ๆ
ทางด้ านทุตยิ ภูมิไปไว้ ทางด้ านปฐมภูมิ
เพื่อทําให้การคํานวณหาค่าพารามิเตอร์ ต่าง ๆ ของวงจรหม้อแปลงง่ายและ
สะดวกขึ้นอีก จึงไม่คิดการสู ญเสี ยในแกนเหล็ก (Core loss –> 2-10%) จึงได้วงจร
สมมูลใหม่ ดังแสดงในรู ปที่ 10

Req 2 jX eq 2

Req 2 jX eq 2

I1  I 2

รู ปที่ 10 วงจรสมมูลโดยประมาณ เมื่อไม่คิดการสูญเสี ยในแกนเหล็ก

R1
จะได้ Req 2  R1  R2   R2 (77)
a2
 Xl 
jX eq 2  j  X l1  Xl2   j  21  Xl2  (78)
a 
V1  I 2  Req 2  jX eq 2   V2 (79)

61
 การคํานวณหาค่ าพารามิเตอร์ ของหม้ อแปลง
(Determining the Values of Components in The Transformer Model)
ในการคํานวณหาค่าอิมพีแดนซ์สมมูล (Equivalent Impedance - Z eq ) ของหม้อแปลง
นั้น ไม่สามารถนําเอาค่าอิมพีแดนซ์สมมูลของขดลวดทั้งสองชุดมารวมกันโดยตรงได้ แต่
สามารถใช้วธิ ี การที่เรี ยกว่า ถ่ ายทอด (Transfer) จากขดลวดด้ านหนึ่งไปยังขดลวดอีกด้ าน
หนึ่งได้ ดังหัวข้อที่ผา่ นมา ซึ่ งสามารถหาค่าได้จากการทดสอบหม้อแปลง ดังนี้
 การทดสอบแบบวงจรเปิ ด (Open-circuit test)
 การทดสอบแบบปิ ดวงจร (Short-circuit test)
การทดสอบแบบวงจรเปิ ด (Open-circuit test) - เป็ นการทดสอบเพื่อ
1. หาค่าการสูญเสี ยในแกนเหล็ก (Core loss) (ประมาณ/ปฏิบตั ิ)
2. หาค่า Rc , X m ของแกนเหล็ก
3. เมื่อทราบค่า Rc , X m ก็สามารถหาค่า I  I c  I m เพื่อนําไปหาค่ากระแส
ทางด้านปฐมภูมิได้ดงั สมการ I1  I  I 2

โดยปกติในการทดสอบแบบนี้จะนิยม เปิ ดวงจรทางด้ านแรงดันสู งไว้ แล้วทํา


การปรับค่าแรงดัน v(t ) ที่แหล่งจ่ายไฟจนกระทัง่ วัดค่าแรงดันไฟฟ้ าทางด้านแรงดันตํ่าได้
เท่ากับพิกดั ของหม้อแปลง ที่ความถี่เดียวกัน แล้วบันทึกผลการทดสอบ VOC , I OC , POC

62
ค่าที่ได้จากการทดสอบหม้อแปลงแบบวงจรเปิ ด สามารถคํานวณหาค่าต่าง ๆ ได้ดงั นี้

POC  P 
cos OC   OC  cos 1  OC 
I OCVOC  I OCVOC 

I c  I OC cosOC

I m  I OC sin OC เมื่อ I OC  I

VOC VOC
Rc _ L  X m_ L 
Ic Im

Ye  Gc  jBm
1 1
 j
Rc Xm
หรือ
I OC I
Ye      OC   cos 1 PF
VOC VOC

63
การทดสอบแบบวงจรปิ ด (Short-circuit test) - เป็ นการทดสอบเพื่อ
1. หาค่าการสูญเสี ยในขดลวดทองแดง (Copper loss)
2. หาค่า Req , X eq และ Z eq ของหม้อแปลง
3. เมื่อทราบค่า Z eq ก็สามารถหาค่าแรงดันตกคร่ อมหม้อแปลงและ Voltage
Regulation ของหม้อแปลงได้

โดยปกติในการทดสอบแบบนี้จะนิยม ลัดวงจรทางด้ านแรงดันตํ่าไว้ แล้วทํา


การปรับค่าแรงดัน v(t ) ที่แหล่งจ่ายไฟ (ประมาณ 5-10% ของแรงดันที่พิกดั ) จนกระทัง่ วัด
ค่ากระแสไฟฟ้ าทางด้านแรงดันสู งได้เท่ากับกระแสพิกดั ของหม้อแปลง ที่ความถี่เดียวกัน
แล้วบันทึกผลการทดสอบ VSC , I SC , PSC
ซึ่ งค่า PSC ที่อ่านได้ คือ ค่าการสู ญเสี ยในขดลวดทองแดง (Copper loss) ที่
Full Load ส่ วนค่าการสู ญเสี ยในแกนเหล็ก (Core loss) มีค่าน้อยมาก

64
ค่าที่ได้จากการทดสอบหม้อแปลงแบบวงจรปิ ด สามารถคํานวณหาค่าต่าง ๆ ได้ดงั นี้

PSC  PSC 
cos  SC    SC  cos 1  
I SCVSC  I SCVSC 

VSC PSC
Z SC  RSC  2
I SC I SC

X SC  2
Z SC  RSC
2

VSC 0
Z SC 
I SC    sc Req jX eq
VSC
  sc
I SC
 RSC  jX SC

Z eq  Req  jX eq

65
Example 2-2 (page 92) The equivalent circuit impedances of a 20-kVA, 8000/240V,
60Hz transformer are to be determined. The open-circuit test and the short-circuit test
were performed on the primary side of the transformer, and the following data were
taken:
Open  circuit test Short  circuit test
(on primary ) (on primary )
VOC  8000V VSC  489V
I OC  0.214 A I SC  2.5 A
POC  400W PSC  240W

Find the impedances of the approximate equivalent circuit referred to the primary side,
and sketch that circuit.

Solution
The power factor during the open-circuit test is
POC
PF  cos OC 
I OCVOC
400W

8000V  0.214 A
 0.234 lagging

The excitation admittance is given by

66
I OC I
Ye      OC   cos 1PF
VOC VOC
0.214 A
   cos 1 0.234
8000V
 0.0000268  76.5 
 1 1 
 0.0000063  j 0.0000261    j 
 Rc Xm 
Therefore,
1
Rc _ P   159 k 
0.0000063
1
Xm_ P   38.4 k 
0.0000261

The power factor during the short-circuit test is


PSC
PF  cos  SC 
I SCVSC
240W

489V  2.5 A
 0.196 lagging

The series impedance is given by


VSC V
Z SC   SC cos 1PF
I SC    I SC
489V
 cos 1 0.196
2.5 A
 195.678.7 
 38.4  j192   ( Z eq  Req  jX eq )

Therefore, the equivalent resistance and reactance are

67
Req _ P  38.4 
X eq _ P  192 
Req _ S  38.4  / a 2  38.4 /(8000 / 240)2
X eq _ S  192  / a 2  192 /(8000 / 240)2

The resulting simplified equivalent circuit is shown in Figure 2-21


Req jX eq

38.4 j192 

159 k j 38.4 k

Figure 2  21

 อัตราการปรับค่ าแรงดันไฟฟ้าของหม้ อแปลง (Voltage Regulation)

V1  V2
VR   100%  referred to primary
V2
V1  V2
VR   100%  referred to secondary
V2

 เฟสเซอร์ ไดอะแกรม (The Transformer Phasor Diagram)


เฟสเซอร์จะเป็ นตัวแทนในการแสดงขนาดและทิศทางของค่าพารามิเตอร์ ต่าง ๆ ของ
หม้อแปลง
 เมือ่ ย้ ายค่ าต่ าง ๆ ทางด้ านปฐมภูมไิ ปไว้ ทางด้ านทุตยิ ภูมิ (Equivalent Circuit referred
to the secondary side)

68
Req1 jX eq1

รูปวงจรสมมูลโดยประมาณ เมื่อย้ ายค่ าต่ าง ๆ ทางด้ านปฐมภูมิไปไว้ ทางด้ านทุติยภูมิ

จากรู ปวงจรสมมูล จะได้สมการที่ (76)

V1  I 2  Req 2  jX eq 2   V2

 I 2  Req 2  jX eq 2   V2
V1
a
จากสมการข้างต้น (76) จะสามารถเขียนเฟสเซอร์ไดอะแกรมที่ภาระไฟฟ้ าต่าง ๆ ได้ดงั นี้

ก) รู ปเฟสเซอร์ ไดอะแกรมของหม้ อแปลง ขณะทีไ่ ด้ รับภาระไฟฟ้ าทีม่ ี Power factor


lagging ไปเป็ นมุม 

ข) รู ปเฟสเซอร์ ไดอะแกรมของหม้ อแปลง ขณะทีไ่ ด้ รับภาระไฟฟ้ าทีม่ ี Unity power


factor

69
ค) รู ปเฟสเซอร์ ไดอะแกรมของหม้ อแปลง ขณะทีไ่ ด้ รับภาระไฟฟ้ าทีม่ ี Power factor
leading ไปเป็ นมุม 

70
71
72
73
74
75
วศบ ฟฟ 2 (ปกติ + สมทบ)

 ระบบเปอร์ -ยูนิต (Per-Unit System)


ในการคํานวณหาค่าต่าง ๆ ในระบบไฟฟ้ ากําลังที่ประกอบไปด้วยหม้อแปลงไฟฟ้ า
เช่น ค่าอิมพีแดนซ์ แรงดันไฟฟ้ า กระแสไฟฟ้ า หรื อกําลังไฟฟ้ า ฯลฯ ล้วนแต่ตอ้ งใช้ระบบ
เปอร์-ยูนิตเข้ามาช่วยในการคํานวณวิเคราะห์หาค่าต่าง ๆ เหล่านี้ เพื่อความสะดวกรวดเร็ ว
และถูกต้อง ซึ่ งเป็ นปริ มาณที่ไม่มีหน่วย จึงไม่จาํ เป็ นต้องกังวลในเรื่ องหน่วยต่าง ๆ โดยจะ
เลือกค่าฐานอ้างอิง (Base value) ไว้
เปอร์ -ยูนิต (Per-Unit) ก็คอื ปริมาณทีเ่ ป็ นสั ดส่ วนระหว่ างปริมาณจริง (Actual value)
กับปริมาณอ้ างอิง (Base value of quantity)

76
Actual
Quantity per  unit 
Basevalueof quantity

การกําหนดค่าฐานอ้างอิง (Base value of quantity) จะกําหนดฐานเป็ น Base power


(kVA,MVA) และ Base voltage (kV) ที่จุด ๆ หนึ่งในระบบไฟฟ้ ากําลัง โดยฐาน Base power
จะเป็ นอันเดียวกันทั้งระบบ ส่ วนฐาน Base voltage ในที่อื่น ๆ นอกจากจุดที่ถูกกําหนดจะ
เปลี่ยนไปตามอัตราส่ วนของหม้อแปลง
 ระบบ 1 เฟส (Single-phase system)
Pbase , Qbase or Sbase  Vbase I base
Sbase
 I base 
Vbase
(Vbase ) 2 Vbase
Z base  
Sbase I base
I base
Ybase 
Vbase

77
78
79
80
 ระบบ 3 เฟส (Three-phase system)

Pbase _ 3 , Qbase _ 3 or Sbase _ 3  VL _ base I L _ base


Sbase _ 3
 I L _ base 
3 VL _ base
(VL _ base ) 2 VL _ base
Z base _ 3  
Sbase _ 3 3 I L _ base
I L _ base
Ybase _ 3 
VL _ base

81
Exercises 2
1. Single phase Transformer 10 KVA 450/120 V, 50 Hz

Open  circuit test Short  circuit test


(onthelow  voltage side) (onthe high  voltage side)
VOC  120V VSC  9.65V
I OC  4.2 A I SC  22.2 A
POC  80W PSC  120W

ก) คํานวณหาค่า Parameter ของ Transformer equivalent circuit ที่ Referred to the


primary and secondary side
ข) เมื่อนําภาระมาใส่ ทางด้าน Secondary ที่แรงดันและกระแสพิกดั ที่ 0.8 p.f. leading
ให้คาํ นวณหา Input voltage, Input current และ Input power factor
ค) คํานวณหา Efficiency และ Voltage Regulation

วิธีทาํ
ก) Open circuit test
เมือ่ ทําการทดสอบทางด้ าน Secondary ดังนั้น

Poc 80
 oc  cos 1  cos 1  80.9
I ocVoc 4.2  120

I m  I oc sin oc  4.2 sin 80.9  4.15 A

I c  I oc cos oc  4.2 cos80.9  0.66 A

82
Low-side
Voc 120
Rc ,L    182 
I c ,L 0.66
,
V 120
X m,L  oc   29 
I m,L 4.15
High-side
V1 450
a    3.75
V2 120
Rc ,H  a 2 Rc ,L  3.752  182  2560 
X m ,H  a 2 X m ,L  3.752  29  408 

ข) Short circuit test


Psc 120
 sc  cos 1  cos 1  56 lagging
I scVsc 22.2  9.65

Vsc 9.650
Z eq  Z sc    0.43456  0.243  j 0.36 
I sc 22.2  56

High-side

Req , H  0.243  , X eq , H  0.36 

Low-side
Req , H 0.24
Req , L    0.017 
a2 3.752

83
X eq , H 0.36
X eq , L    0.026 
a2 3.752
I1 I 2 Req  0.243 jX m  j 0.36

I
Ic Im
V1 Rc  2560 jX m  j 408 V2  450V

# Referred to the Primary

I1 I 2 Req  0.017 jX m  j 0.026


I
Ic Im
V1 Rc  182 jX m  j 29 V2  120V

# Referred to the Secondary

84
I1 I 2 Req jX eq

I
Ic Im
V1
V1 Rc jX m a V2
V2

85
 การคํานวณหาค่ าพารามิเตอร์ ของหม้ อแปลง
(Determining the Values of Components in The Transformer Model)
ในการคํานวณหาค่าอิมพีแดนซ์สมมูล (Equivalent Impedance - Z eq ) ของหม้อแปลง
นั้น ไม่สามารถนําเอาค่าอิมพีแดนซ์สมมูลของขดลวดทั้งสองชุดมารวมกันโดยตรงได้ แต่
สามารถใช้วธิ ี การที่เรี ยกว่า ถ่ ายทอด (Transfer) จากขดลวดด้ านหนึ่งไปยังขดลวดอีกด้ าน
หนึ่งได้ ดังหัวข้อที่ผา่ นมา ซึ่ งสามารถหาค่าได้จากการทดสอบหม้อแปลง ดังนี้
 การทดสอบแบบวงจรเปิ ด (Open-circuit test)
 การทดสอบแบบปิ ดวงจร (Short-circuit test)
การทดสอบแบบวงจรเปิ ด (Open-circuit test) - เป็ นการทดสอบเพื่อ
1. หาค่าการสูญเสี ยในแกนเหล็ก (Core loss)
2. หาค่า Rc , X m ของแกนเหล็ก
3. เมื่อทราบค่า Rc , X m ก็สามารถหาค่า I  I c  I m เพื่อนําไปหาค่ากระแส
ทางด้านปฐมภูมิได้ดงั สมการ I1  I  I 2

โดยปกติในการทดสอบแบบนี้จะนิยม เปิ ดวงจรทางด้ านแรงดันสู งไว้ แล้วทํา


การปรับค่าแรงดัน v(t ) ที่แหล่งจ่ายไฟจนกระทัง่ วัดค่าแรงดันไฟฟ้ าทางด้านแรงดันตํ่าได้
เท่ากับพิกดั ของหม้อแปลง ที่ความถี่เดียวกัน แล้วบันทึกผลการทดสอบ VOC , I OC , POC

62
ค่าที่ได้จากการทดสอบหม้อแปลงแบบวงจรเปิ ด สามารถคํานวณหาค่าต่าง ๆ ได้ดงั นี้

POC  P 
cos OC   OC  cos 1  OC 
I OCVOC  I OCVOC 

I c  I OC cosOC

I m  I OC sinOC เมื่อ I OC  I

VOC VOC
Rc  Xm 
Ic Im

Ye  Gc  jBm
1 1
 j
Rc Xm
หรือ
I OC    I OC   cos 1 PF
Ye  
VOC VOC

63
การทดสอบแบบวงจรปิ ด (Short-circuit test) - เป็ นการทดสอบเพื่อ
1. หาค่าการสูญเสี ยในขดลวดทองแดง (Copper loss)
2. หาค่า Req , X eq และ Z eq ของหม้อแปลง
3. เมื่อทราบค่า Z eq ก็สามารถหาค่าแรงดันตกคร่ อมหม้อแปลงและ Voltage
Regulation ของหม้อแปลงได้

โดยปกติในการทดสอบแบบนี้จะนิยม ลัดวงจรทางด้ านแรงดันตํ่าไว้ แล้วทํา


การปรับค่าแรงดัน v(t ) ที่แหล่งจ่ายไฟ (ประมาณ 5-10% ของแรงดันที่พิกดั ) จนกระทัง่ วัด
ค่ากระแสไฟฟ้ าทางด้านแรงดันสู งได้เท่ากับกระแสพิกดั ของหม้อแปลง ที่ความถี่เดียวกัน
แล้วบันทึกผลการทดสอบ VSC , I SC , PSC
ซึ่ งค่า PSC ที่อ่านได้ คือ ค่าการสู ญเสี ยในขดลวดทองแดง (Copper loss) ที่
Full Load ส่ วนค่าการสู ญเสี ยในแกนเหล็ก (Core loss) มีค่าน้อยมาก

64
ค่าที่ได้จากการทดสอบหม้อแปลงแบบวงจรเปิ ด สามารถคํานวณหาค่าต่าง ๆ ได้ดงั นี้

PSC  P 
cos  SC    SC  cos 1  SC 
I SCVSC  I SCVSC 

VSC PSC
Z SC  RSC  2
I SC I SC

X SC  2
Z SC  RSC
2

VSC 0
Z SC 
I SC    sc Req jX eq
VSC
  sc
I SC
 RSC  jX SC

Z eq  Req  jX eq

65
Example 2-2 (page 92) The equivalent circuit impedances of a 20-kVA, 8000/240V,
60Hz transformer are to be determined. The open-circuit test and the short-circuit test
were performed on the primary side of the transformer, and the following data were
taken:
Open  circuit test Short  circuit test
(on primary ) (on primary )
VOC  8000V VSC  489V
I OC  0.214 A I SC  2.5 A
POC  400W PSC  240W

Find the impedances of the approximate equivalent circuit referred to the primary side,
and sketch that circuit.

Solution
The power factor during the open-circuit test is
POC
PF  cos OC 
I OCVOC
400W

8000V  0.214 A
 0.234 lagging

The excitation admittance is given by

66
I OC I OC   cos 1PF
Ye    
VOC VOC 0
0.214 A
   cos 1 0.234
8000V
 0.0000268  76.5 
 1 1 
 0.0000063  j 0.0000261    j 
 Rc Xm 
Therefore,
1
Rc   159 k 
0.0000063
1
Xm   38.4 k 
0.0000261

The power factor during the short-circuit test is


PSC
PF  cos  SC 
I SCVSC
240W

489V  2.5 A
 0.196 lagging

The series impedance is given by


VSC V
Z SC   SC cos 1PF
I SC    I SC
489V
 cos 1 0.196
2.5 A
 195.678.7 
 38.4  j192   ( Z eq  Req  jX eq )

Therefore, the equivalent resistance and reactance are


Req1  38.4 
X eq1  192 

The resulting simplified equivalent circuit is shown in Figure 2-21

67
Req1 jX eq1

38.4 j192 

159 k j 38.4 k

Figure 2  21

 อัตราการปรับค่ าแรงดันไฟฟ้าของหม้ อแปลง (Voltage Regulation)


V1  V2
VR   100%  referred to primary
V2
V  V
VR  1 2  100%  referred to secondary
V2

 เฟสเซอร์ ไดอะแกรม (The Transformer Phasor Diagram)


เฟสเซอร์จะเป็ นตัวแทนในการแสดงขนาดและทิศทางของค่าพารามิเตอร์ ต่าง ๆ ของ
หม้อแปลง
 เมือ่ ย้ ายค่ าต่ าง ๆ ทางด้ านทุตยิ ภูมไิ ปไว้ ทางด้ านปฐมภูมิ (Equivalent Circuit referred
to the primary side)

Req 2 jX eq 2

68
รูปวงจรสมมูลโดยประมาณ เมื่อย้ ายค่ าต่ าง ๆ ทางด้ านทุติยภูมิ ไปไว้ ทางด้ านปฐมภูมิ

จากรู ปวงจรสมมูล จะได้สมการที่ (76)

V1  I 2  Req 2  jX eq 2   V2

 I 2  Req 2  jX eq 2   V2
V1
a
จากสมการข้างต้น (76) จะสามารถเขียนเฟสเซอร์ไดอะแกรมที่ภาระไฟฟ้ าต่าง ๆ ได้ดงั นี้

ก) รู ปเฟสเซอร์ ไดอะแกรมของหม้ อแปลง ขณะทีไ่ ด้ รับภาระไฟฟ้ าทีม่ ี Power factor


lagging ไปเป็ นมุม 

ข) รู ปเฟสเซอร์ ไดอะแกรมของหม้ อแปลง ขณะทีไ่ ด้ รับภาระไฟฟ้ าทีม่ ี Unity power


factor

ค) รู ปเฟสเซอร์ ไดอะแกรมของหม้ อแปลง ขณะทีไ่ ด้ รับภาระไฟฟ้ าทีม่ ี Power factor


leading ไปเป็ นมุม 

69
70
71
72
73
74
75
 ระบบเปอร์ -ยูนิต (Per-Unit System)
ในการคํานวณหาค่าต่าง ๆ ในระบบไฟฟ้ ากําลังที่ประกอบไปด้วยหม้อแปลงไฟฟ้ า
เช่น ค่าอิมพีแดนซ์ แรงดันไฟฟ้ า กระแสไฟฟ้ า หรื อกําลังไฟฟ้ า ฯลฯ ล้วนแต่ตอ้ งใช้ระบบ
เปอร์-ยูนิตเข้ามาช่วยในการคํานวณวิเคราะห์หาค่าต่าง ๆ เหล่านี้ เพื่อความสะดวกรวดเร็ ว
และถูกต้อง ซึ่ งเป็ นปริ มาณที่ไม่มีหน่วย จึงไม่จาํ เป็ นต้องกังวลในเรื่ องหน่วยต่าง ๆ โดยจะ
เลือกค่าฐานอ้างอิง (Base value) ไว้
เปอร์ -ยูนิต (Per-Unit) ก็คอื ปริมาณทีเ่ ป็ นสั ดส่ วนระหว่ างปริมาณจริง (Actual value)
กับปริมาณอ้ างอิง (Base value of quantity)

Actual
Quantity per  unit 
Basevalueof quantity

76
การกําหนดค่าฐานอ้างอิง (Base value of quantity) จะกําหนดฐานเป็ น Base power
(kVA,MVA) และ Base voltage (kV) ที่จุด ๆ หนึ่งในระบบไฟฟ้ ากําลัง โดยฐาน Base power
จะเป็ นอันเดียวกันทั้งระบบ ส่ วนฐาน Base voltage ในที่อื่น ๆ นอกจากจุดที่ถูกกําหนดจะ
เปลี่ยนไปตามอัตราส่ วนของหม้อแปลง
 ระบบ 1 เฟส (Single-phase system)
Pbase , Qbase or Sbase  Vbase I base
Sbase
 I base 
Vbase
(Vbase ) 2 Vbase
Z base  
Sbase I base
I base
Ybase 
Vbase

77
78
79
 ระบบ 3 เฟส (Three-phase system)

Pbase _ 3 , Qbase _ 3 or Sbase _ 3  VL _ base I L _ base


Sbase _ 3
 I L _ base 
3 VL _ base
(VL _ base ) 2 VL _ base
Z base _ 3  
Sbase _ 3 3 I L _ base
I L _ base
Ybase _ 3 
VL _ base

80
Exercises 2
1. Single phase Transformer 10 KVA 450/120 V, 50 Hz

Open  circuit test Short  circuit test


(วัดทางด้าน Low-side) (วัดทางด้าน High-side)
VOC  120V VSC  9.65V
I OC  4.2 A I SC  22.2 A
POC  80W PSC  120W

ก) คํานวณหาค่า Parameter ของ Transformer equivalent circuit ที่ Referred to the


high and low-side
ข) เมื่อนําภาระมาใส่ ทางด้าน Secondary ที่แรงดันและกระแสพิกดั ที่ 0.8 p.f. leading
ให้คาํ นวณหา Input voltage, Input current และ Input power factor
ค) คํานวณหา Efficiency และ Voltage Regulation

วิธีทาํ
ก) คํานวณหาค่ า Parameter
# Open circuit test

เมือ่ ทําการทดสอบทางด้ าน Secondary (Low-side) ดังนั้น


Poc 80
 oc  cos 1  cos 1  80.9
I ocVoc 4.2  120

I m  I oc sin oc  4.2 sin 80.9  4.15 A

I c  I oc cos oc  4.2 cos80.9  0.66 A

81
Low-side
Voc 120
Rc ,L    182 
I c ,L 0.66
,
V 120
X m,L  oc   29 
I m,L 4.15
High-side
V1 450
a    3.75
V2 120
Rc ,H  a 2 Rc ,L  3.752  182  2560 
X m ,H  a 2 X m ,L  3.752  29  408 

# Short circuit test


เมือ่ ทําการทดสอบทางด้ าน Primary (High-side) ดังนั้น
Psc 120
 sc  cos 1  cos 1  56 lagging
I scVsc 22.2  9.65
Vsc 9.650
Z eq  Z sc    0.43456  0.243  j 0.36 
I sc 22.2  56

High-side
Req ,H  0.243 , X eq ,H  0.36  ,

Low-side
Req ,H 0.24
Req ,L    0.017 
a2 3.752
X eq ,H 0.36
X eq ,L    0.026 
a2 3.752

82
I1 I 2 Req  0.243 jX eq  j 0.36
I
Ic Im
V1 Rc  2560 jX m  j 408 V2  450V

รูปวงจรสมมูล เมื่อย้ ายค่ าต่ าง ๆ ทางด้ านทุติยภูมิ (Low) ไปไว้ ทางด้ านปฐมภูมิ (High)

I1 I 2 Req  0.017 jX eq  j 0.026


I
Ic Im
V1 Rc  182 jX m  j 29 V2  120V

รูปวงจรสมมูล เมื่อย้ ายค่ าต่ าง ๆ ทางด้ านปฐมภูมิ (High) ไปไว้ ทางด้ านทุติยภูมิ (Low)

83
ข) เมือ่ นําภาระมาใส่ ทางด้ าน Secondary ทีแ่ รงดันและกระแสพิกดั ที่ 0.8 p.f. leading
ให้ คาํ นวณหา Input voltage, Input current และ Input power factor

- เมื่อทําการย้ ายค่ าต่ าง ๆ จากทางด้ านทุติยภูมิ (Low) ไปไว้ ทางด้ านปฐมภูมิ (High)

I1 I 2 Req  0.243 jX eq  j 0.36


I
Ic Im
V1 Rc  2560 jX m  j 408 V2  450V

# หาค่ า Input Voltage

V2  aV2  3.75  120V  4500 V


kVA 1000
I 2    22.236.9 A
V2 4500
 17.753  j13.329 A

V1  V2  I 2  Req  jX eq 
 4500   (17.753  j13.329)(0.243  j 0.36) 
 449.516  j 9.63 V
 449.6191.23 V Ans

84
I  I c  I m
V1 V
 j 1
Rc ,H X m,H
449.6191.23 V 449.6191.23 V1
 j
2560 408
 0.1992  j1.098 A
 1.116  79.72 A

# หาค่ า Input Current


I1  I  I 2
 (0.1992  j1.098)  (17.753  j13.329)
 17.952  j12.231 A
 21.72334.27 A Ans

# หาค่ า Input Power Factor


PF .  Cos (34.27  1.23)
 0.838 Leading Ans

ค) คํานวณหา Efficiency และ Voltage Regulation


- เมื่อทําการย้ ายค่ าต่ าง ๆ จากทางด้ านทุติยภูมิ (Low) ไปไว้ ทางด้ านปฐมภูมิ (High)
Pout
   100%
Pin
V   I   Cos  2
 2 2  100%
V1  I1  Cos 1
450  22.2  0.8
  100%
449.619  21.723  0.838
 97.64%

85
V1  V2
%VR   100%
V2
449.619  450
  100%  Leading
450
  0.085% Ans

86
 หม้ อแปลงไฟฟ้าสามเฟส (Three Phase Transformers)
เป็ นอุปกรณ์ที่ใช้เปลี่ยนระดับแรงดันให้สูงขึ้นหรื อตํ่าลงตามต้องการ ภายในประกอบ
ด้วยขดลวด 2 ชุดคือ ขดลวดปฐมภูมิ (Primary winding) และขดลวดทุติยภูมิ (Secondary
winding) แต่สาํ หรับหม้อแปลงกําลัง (Power Transformer) ขนาดใหญ่บางตัวอาจมีขดลวดที่
สามเพิ่มขึ้น คือ ขดลวดตติยภูมิ (Tertiary winding) ซึ่งมีขนาดเล็กกว่าขดปฐมภูมิและทุติย
ภูมิ และแรงดันที่แปลงออกมาจะมีค่าตํ่ากว่าขดทุติยภูมิ

86
# ชนิดของหม้ อแปลง - แบ่งตามหน้าที่หรื อวัตถุประสงค์การใช้งานได้ดงั นี้
1. Power Transformer
2. Distribution Transformer
3. Instrument Transformer
4. Special-Type Transformer

87
การติดตั้งหม้ อแปลงในระบบจําหน่ าย
1. หม้ อแปลงจําหน่ ายทีใ่ ช้ งานทัว่ ไปของ กฟภ. แบ่ งออกเป็ น 2 ระบบ คือ
1.1 ระบบ 1 เฟส 3 สาย 22 kV มีใช้งาน 4 ขนาด คือ 10, 20, 30 และ 50 kVA
1.2 ระบบ 3 เฟส 4 สาย 22 kV และ 33 kV มีหลายขนาดได้แก่ 30, 50, 100, 160,
250, 315, 400, 500, 1000, 1250, 1500, 2500 kVA.

2. ระบบการติดตั้งหม้ อแปลงในระบบจําหน่ ายของ กฟภ. แบ่ งออกเป็ น 3 แบบ คือ


2.1 ติดตั้งบนเสาเดีย่ วแบบแขวน - เหมาะสําหรับหม้อแปลงขนาดเล็ก 1 เฟส หรื อ
แบบ 3 เฟส ขนาดไม่เกิน 30 kVA (สําหรับผูใ้ ช้ไฟเฉพาะราย)

2.2 ติดตั้งบนเสาคู่แบบนั่งร้ าน - เหมาะสําหรับหม้อแปลง 3 เฟส ที่มีขนาดไม่ใหญ่


โดยมีน้ าํ หนักไม่เกิน 3,000 kg แบ่งออกเป็ น
2.1. ระบบ 22 kV
ขนาด 50-250 kVA สําหรับผูใ้ ช้ไฟทัว่ ไป
ขนาด 50-500 kVA สําหรับผูใ้ ช้ไฟเฉพาะราย
2.2. ระบบ 33 kV
ขนาด 50-250 kVA สําหรับผูใ้ ช้ไฟทัว่ ไป และเฉพาะราย
2.3 ติดตั้งบนพืน้ แบบตั้งบนแท่ น - เหมาะสําหรับหม้อแปลง 3 เฟส ที่มีขนาดใหญ่
ขนาด 315 kVA ขึ้นไป (สําหรับผูใ้ ช้ไฟเฉพาะราย)

88
3. อุปกรณ์ ป้องกันหม้ อแปลง
3.1 ฟิ วส์ (Fuse) ทําหน้าที่ป้องกันอุปกรณ์ไฟฟ้ าหรื อระบบอันเกิดจากสาเหตุกระแส
เกินพิกดั (Over current) เนื่องจากการลัดวงจร (Short circuit) โดยการติดตั้งฟิ วส์เป็ น
อุปกรณ์ป้องกันทั้งทางด้านแรงสู ง (Primary) และแรงตํ่า (Secondary)

ฟิ วส์ แรงสู ง (Dropout fuse cutout) ฟิ วส์ แรงตํา่ (Fuse switch with H.R.C. Fuse)
-มีขนาด 2-3 เท่ าของกระแสเต็มพิกดั ของหม้ อแปลง -มีขนาด 1.25-1.5 เท่ าของกระแสเต็มพิกดั ของหม้ อแปลง

โดยทัว่ ไปนั้นค่า Percent Impedance ของหม้อแปลงค่อนข้างตํ่า คือ 4 - 6 % ด้วย


จุดประสงค์เพื่อต้องการให้มี Voltage Regulation ดี คือ ไม่วา่ โหลดของหม้อแปลงจะมีมาก
หรื อน้อยเพียงใด แรงดันของหม้อแปลงก็ไม่เปลี่ยนแปลงมาก ยังมีความสมํ่าเสมอของ
แรงดัน แต่ผลที่ตามมาคือ จะทําให้กระแสลัดวงจรค่อนข้างสู งมาก จึงต้องป้ องกันหม้อแปลง
โดยการติดตั้งฟิ วส์ท้ งั ด้านแรงสู งและแรงตํ่า

3.2 ล่ อฟ้ า (Lightning Arrester) ทําหน้าที่ป้องกันอุปกรณ์และสายส่ ง มิให้ได้รับ


ความเสี ยหายจากภาวะแรงดันเกินพิกดั (Over voltage) ที่เกิดจากฟ้ าผ่าหรื อการปลด-สับสวิตซ์

(HV. Arrester) (LV. Arrester)

89
3.3 อาร์ คซิ่งฮอร์ น (Arcing Horn) เป็ นอุปกรณ์ป้องกันหม้อแปลงมิให้ชาํ รุ ดเสี ยหาย
จากภาวะแรงดันเกินที่เกิดจากฟ้ าผ่า สําหรับระยะ Air gap ของ Arcing horn ที่บุชชิ่งแรงสู ง
ของหม้อแปลงตามมาตรฐานของการไฟฟ้ าส่วนภูมิภาคกําหนดดังนี้
3.3.1 ระบบ 11 KV. ระยะห่ าง 8.6 เซนติเมตร
3.3.2 ระบบ 22 KV. ระยะห่ าง 15.5 เซนติเมตร
3.3.3 ระบบ 33 KV. ระยะห่ าง 22.0 เซนติเมตร

4. การต่ อลงดิน
โดยต่อสายลงดิน (Ground lead) ของล่อฟ้ าแรงสู งเข้ากับตัวถังหม้อแปลงก่อน แล้วจึง
ลงดิน เพื่อลดความต่างศักดิ์ไฟฟ้ าระหว่างขดลวดในหม้อแปลงกับตัวถังในขณะล่อฟ้ า ทํางาน
สําหรับค่าความต้านทานดินแต่ละจุด ไม่ควรเกิน 5 โอห์ม หากเกินต้องเพิ่มกราวด์ร็อด
(ห่างอย่างน้อย 2 เท่าของความยาวกราวด์ร็อด) หรื อใช้วธิ ี การฝังตัวนําตามแนวระดับ (Strip
Electrode) หรื ออาจจะใช้สารเคมี (เกลือผสมถ่านป่ น) ฝังรอบ ๆ กราวด์ร็อด เป็ นวิธีที่ไม่
ถาวร ต้องทําทุก ๆ 2-3 ปี

5. นํา้ มันหม้ อแปลง


5.1 เป็ นฉนวนไฟฟ้ า โดยป้ องกันกระแสไฟฟ้ ากระโดดจากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่ง ถ้า
เทียบกับอากาศแล้วนํ้ามันหม้อแปลงจะทนแรงดันได้สูงกว่าหลายเท่า ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั คุณภาพ
ของนํ้ามันหม้อแปลงนั้น ดังนั้นถ้าเราจุ่มตัวนําลงในนํ้ามัน ก็จะสามารถวางไว้ใกล้กนั ได้โดย
ไม่ลดั วงจร

5.2 ระบายความร้ อน โดยที่น้ าํ มันเป็ นของเหลวจึงสามารถเคลื่อนตัวมาถ่ายเทความ


ร้อนให้แก่อากาศรอบๆ หม้อแปลงได้ดี, ทําให้ขดลวดและแกนเหล็กของหม้อแปลงระบาย
ความร้อนได้ , ทําให้ฉนวนที่พนั หุ ม้ ขดลวดทนต่อความร้อนสู งได้ และทําให้ฉนวนไม่ร้อน
จัดเกินไปช่วยยืดอายุการใช้งานของหม้อแปลงให้นานขึ้น

90
6. ซิลกิ ้ าเจล (Silica gel) มีลกั ษณะเป็ นเม็ดเล็ก ๆ สี ฟ้าหรื อนํ้าเงินบรรจุอยูใ่ นกระเปาะ
ข้างถังอะไหล่น้ าํ มันหม้อแปลง ทําหน้าที่ ช่วยดูดความชื้นในหม้อแปลง ถ้ าเสื่ อมคุณภาพจะ
กลายเป็ นสี ชมพู

พิกดั กระแสของหม้ อแปลงหาได้ จากสู ตร


ระบบ 1 เฟส I 
kVA
kV

ระบบ 3 เฟส I 
kVA
3 kV

เช่ น หม้อแปลงขนาด 100kVA 3 เฟส 22000/400-230 V

พิกดั กระแสทางด้านแรงสู ง IP 
kVA

100kVA
 2.6 A
3 kV 3  22kV

พิกดั กระแสทางด้านแรงตํ่า IS 
kVA

100kVA
 144 A
3 kV 3  0.4kV

การส่ งจ่ ายกําลังไฟฟ้ าในระบบไฟฟ้ากําลัง 3 เฟส นั้น จําเป็ นต้ องใช้ หม้ อแปลงไฟฟ้ า
ชนิด 3 เฟส ซึ่งในการเชื่อมต่ อขดลวดทั้ง 3 ขด นั้น (บางครั้ งเรี ยกว่ า การแบงก์ หม้ อแปลง)
โดยทัว่ ๆ ไปนั้นมีอยู่ด้วยกัน 4 แบบ คือ การต่ อหม้ อแปลงแบบสตาร์ -สตาร์ (Y  Y ) , แบบ
สตาร์ -เดลต้ า (Y  ) , แบบเดลต้ า-สตาร์ (  Y ) และแบบเดลต้ า-เดลต้ า (  )

91
การต่ อหม้ อแปลงแบบสตาร์ -สตาร์ (Wye-Wye Connection ; Y  Y )

VLP 3 V P
  a
VLS 3 V S

- ใช้ระบบไฟฟ้ าแรงสูง กระแสตํ่า  V  VL / 3  58% VL  ลดค่าใช้จ่ายของฉนวน


- ทํางานอย่างมีประสิ ทธิภาพในระบบ 3 , 4W ที่โหลดสมดุล โดยต่อสาย N เข้ากับ Gen.
- ถ้าไม่ได้ต่อสาย N ไว้ทางด้าน Pri. ในสภาวะที่โหลดไม่สมดุล จะทําให้แรงดันแต่ละเฟสทาง
Sec. ไม่เท่ากัน (นิวทรัลลอย – Floating Neutral)
- มี 3rd Harmonic เกิดขึ้น ซึ่งจะไปรบกวนความถี่ของระบบ และทําให้   m Sint
เปลี่ยนแปลงไป ส่ งผลให้ v(t ) ที่ Sec. เปลี่ยนแปลงด้วย ซึ่งสามารถแก้ไขได้โดยการเพิม่
ขดลวดที่สามเข้าไป เรี ยกว่า “ขดลวดตติยภูมิ” (Tertiary winding)

92
การต่ อหม้ อแปลงแบบสตาร์ -เดลต้ า (Wye-Delta Connection ; Y   )

VLP 3 V P V P
  3a ;  a
VLS V S V S

- ใช้เป็ น Step-down transformer ในระบบส่ งจ่ายกําลังไฟฟ้ า เช่น ระบบจําหน่าย

93
การต่ อหม้ อแปลงแบบเดลต้ า-สตาร์ (Delta-Wye Connection ;   Y )

VLP V P a V P
  ;  a
VLS 3 V S 3 V S

- ใช้เป็ น Step-up transformer ในระบบส่ งจ่ายกําลังไฟฟ้ า เช่น ระบบจําหน่าย


- ลดฉนวนทางด้าน Sec.  V  VL / 3  58% VL

94
การต่ อหม้ อแปลงแบบเดลต้ า-เดลต้ า (Delta-Delta Connection ;    )

VLP V
 P  a
VLS V S

- ใช้ระบบไฟฟ้ าแรงตํ่า กระแสสู ง


- ทํางานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพทั้งระบบ 1 , 3 ทั้งโหลดสมดุลและไม่สมดุล
- หม้อแปลงตัวใดตัวหนึ่งชํารุ ด หม้อแปลงที่เหลืออีก 2 ตัว สามารถจ่ายโหลดได้ (V-V)

95
Example Three-phase Transformer are connected in    to step-down a line voltage
of 138kV to 4,160V to supply power to a manufacturing plant. The plant draws 21 MW
at a lagging power factor of 86 percent.
Calculate
a) The apparent power drawn by the plant.
b) The current in the HV lines and LV lines.
c) The current in the primary and secondary winding of each transformer.
d) The load carried by each transformer.
Solution
P 21 MW
a) S    24.4 MVA
Cos  0.86

b) High voltage
S 24.4 MW
I LP    102 A
3 VLP 3  138 kV
Low voltage
S 24.4 MW
I LS    3.386 kA
3 VLS 3  4.16 kV
c)
102 A
I P   58.9 A
3
3.386 kA
I S   1.955 kA
3
d)
24.4 MVA
S   8.13 MVA or
3
S  V P  I P  138 kV  58.9 A  8.13 MVA Ans

96
Example หม้อแปลงไฟฟ้ า 3 เฟส เมื่อขดลวดปฐมภูมิได้รับแรงดันไฟฟ้ า 2300 V ทําให้
จ่ายโหลดตามพิกดั ของหม้อแปลงไฟฟ้ า 50 kVA และ 230 V จงคํานวณหาค่าต่อไปนี้
ก) กําลังไฟฟ้ าที่พิกดั ของขดลวดแต่ละชุด
ข) กระแสและแรงดันไฟฟ้ าที่เฟสของขดลวดปฐมภูมิ
ค) กระแสและแรงดันไฟฟ้ าที่เฟสของขดลวดทุติยภูมิ
ง) อัตราส่ วนแรงดันไฟฟ้ าของหม้อแปลงไฟฟ้ า
เมือ่ ต่ อหม้ อแปลงไฟฟ้ าเป็ นแบบ    และแบบ Y  Y
วิธีทาํ
ก) กําลังไฟฟ้ าของขดลวดแต่ละชุด จะมีค่าเป็ น 1/3 เท่าของกําลังที่พิกดั คือ
S 50 kVA
  16.667 kVA
3 3

ข) กระแสและแรงดันไฟฟ้ าที่เฟสของขดลวดปฐมภูมิ

# ต่ อหม้ อแปลงแบบ   

V P  VLP  2.3 kV
S 50 kVA
I LP    12.551 A
3 VLP 3  2.3 kV
I LP 12.551 A
I P    7.246 A
3 3

97
ค) กระแสและแรงดันไฟฟ้ าที่เฟสของขดลวดทุติยภูมิ

V S  VLS  230V
S 50 kVA
I LS    125.511A
3 VLS 3  230V
I LS 125.511 A
I S    72.464 A
3 3

ง) อัตราส่ วนแรงดันไฟฟ้ าของหม้อแปลงไฟฟ้ า


VLP V 2300V
 P   10
VLS V S 230V

98
# ต่ อหม้ อแปลงแบบ Y  Y

ข) กระแสและแรงดันไฟฟ้ าที่เฟสของขดลวดปฐมภูมิ
VLP 2.3 kV
V P    1.328 kV
3 3
S 50 kVA
I P  I LP    12.551 A
3 VLP 3  2.3 kV

ค) กระแสและแรงดันไฟฟ้ าที่เฟสของขดลวดทุติยภูมิ
VLS 230V
V S    132.791kV
3 3
S 50 kVA
I S  I LS    125.511 A
3 VLS 3  230V

ง) อัตราส่ วนแรงดันไฟฟ้ าของหม้อแปลงไฟฟ้ า

VLP V 2300V
 P   10
VLS V S 230V

99
 ค่ าเปอร์ -ยูนิตในระบบสามเฟส (Per-Unit Value in Three phase System)
- เพื่อความสะดวก
- ลดความซับซ้อนในการคํานวณสําหรับวงจรไฟฟ้ าขนาดใหญ่
- ลดเวลาที่ใช้ในการคํานวณ (เปลี่ยนหน่วย)
- ไม่ตอ้ งคิดผลกระทบของระดับแรงดันทั้งสองของหม้อแปลง

เช่ น

ถ้ าเอา Opera House (35 m.) เป็ นเบส เราจะพูดได้ ว่า Acropolis (27 m.) สู งเป็ น
0.771 เท่ าของ Opera House หรือ 0.771 pu.

Actual
Quantity per  unit 
Basevalueof quantity

Actual คือ ค่าจริ งของปริ มาณที่กาํ หนดมาให้ในหน่วยต่างๆ


Base คือ ค่าอ้างอิง หรื อ ฐาน ของหน่วยที่เราเลือกใช้ในการอ้างอิง โดยจะ
ต้องมีหน่วยเดียวกับค่าจริ ง (Actual)

100
 ระบบ 1 เฟส (Single-phase system)
Pbase , Qbase or Sbase  Vbase I base
Sbase
 I base 
Vbase
(Vbase ) 2 Vbase
Z base  
Sbase I base
I base
Ybase 
Vbase

 ระบบ 3 เฟส (Three-phase system)

Sbase _ 3
 I _ base 
3V _ base

ถ้ าต่ อแบบ Y ; VL _ base  3 V _ base


Sbase _ 3
I L _ base   I _ base
3 VL _ base
และ
(V _ base ) 2 3(V _ base ) 2
 Z base  
Sbase _ 3 Sbase _ 3
3
ถ้ าต่ อแบบ Y ;
2
V 
3  L _ base
 3 
 Z base 
Sbase _ 3

101
102
103
 การบาลานซ์ โหลดหม้ อแปลง
การบาลานซ์โหลด เป็ นการเฉลี่ยโหลดแต่ละเฟสให้มีค่าเท่ากันหรื อใกล้เคียงกัน ซึ่ ง
ทําให้กระแสในแต่ละเฟสใกล้เคียงกันด้วย ถ้าหากโหลดไม่สมดุล จะเกิดผลเสี ยต่อระบบ
ดังนี้
1) เกิดความสูญเสี ยและแรงดันปลายสายตกมาก
2) Voltage Regulation ไม่ ดี กล่ าวคื อแรงดันไฟฟ้ าในแต่ ละเฟสไม่ เท่ ากัน
3) ความสามารถในการจ่ ายโหลดของหม้ อแปลงลดลง

ข้ อกําหนด
1. หม้อแปลงทัว่ ไป การไฟฟ้ าส่ วนภูมิภาค ยอมให้จ่ายโหลดได้ไม่เกิน 80 % ของกระแส
พิกดั หม้อแปลง
2. การบาลานซ์เฟสหม้อแปลง ไม่ควรแตกต่างกันเกิน 20 % ของแอมป์ เฉลี่ย

ผลกระทบจากการจ่ ายโหลดไม่ สมดุลของหม้ อแปลง 3 เฟส


1. จะมีกระแสไหลในสายนิวทรัล ซึ่ งจะทําให้แรงดันตกและมีกาํ ลังไฟฟ้ าสู ญเสี ยในสาย
นิวทรัล ประสิ ทธิ ภาพของระบบจะลดลง
2. Voltage Regulation ไม่ดี คือ เฟสที่มีโหลดต่อในวงจรมากแรงดันไฟฟ้ าจะตํ่า ส่ วน
เฟสที่มีโหลดต่อน้อยแรงดันไฟฟ้ าจะสู ง
3. ความสามารถในการจ่ายโหลดของระบบลดลง ไม่สามารถจ่ายได้ตามพิกดั เพราะถูก
จํากัดด้วยเฟสที่มีโหลดสู งสุ ด
4. กรณี ที่ระบบไม่สมดุลและสายนิวทรัลขาด จะทําให้โหลดในวงจรต่ออนุกรมกัน และ
คร่ อมอยูก่ บั แรงดันขนาด 400 โวลท์ แรงดันตกคร่ อมโหลดบางตัวอาจสู งกว่าปกติ
และอาจชํารุ ดได้

104
# การบาลานซ์ โหลดของหม้ อแปลง 1 เฟส 3 สาย

หม้ อแปลง 1 เฟส 3 สาย 460/230 V. สมมุตมิ พี กิ ดั 30 KVA. จ่ ายโหลดรวม 95 A ถ้ า


เฟส A จ่ ายโหลด 45 A เฟส B จ่ ายโหลด 50 A จะถือว่ าหม้ อแปลงลูกนีจ้ ่ ายโหลด บา
ลานซ์ หรือไม่ ?
วิธีทาํ
# หม้ อแปลง 30 KVA, 230 V.
- กระแสเต็มพิกดั คือ 
30 kVA
 130 A
230V
- หม้อแปลงทัว่ ไป ยอมให้จ่ายโหลดได้ไม่เกิน 80 % ของกระแสพิกดั
 0.8  130  104 A
ดังนั้น เฟส A และ B ควรจ่ ายโหลดไม่ เกินเฟสละ 
104 A
 52 A
2
จากการทีห่ ม้ อแปลงจ่ ายโหลดรวม 9.5 A

ดังนั้น กระแสเฉลี่ยของแต่ละเฟส 
95 A
 47.5 A
2
- กระแสแต่ละเฟสต้องต่างกันไม่เกิน 20 % ของแอมป์ เฉลี่ย  0.2  47.5  9.5 A
- แต่เนื่องจากเฟส A จ่ายโหลด 45 A. และเฟส B จ่ายโหลด 50 A. จึงต่างกัน  5 A
ดังนั้น จึงพบว่ ากระแสของเฟสทัง้ สองต่ างกันไม่ เกิน 9.5 A จึงถือว่ าหม้ อแปลงลูกนี้
จ่ ายโหลดได้ สมดุล

105
# การบาลานซ์ โหลดของหม้ อแปลง 3 เฟส 4 สาย

หม้ อแปลง 3 เฟส 3 สาย ขนาดพิกดั 50 KVA. 400/230 V. จ่ ายโหลดรวม 50 A


โดยแต่ ละเฟสจ่ ายกระแสดังรู ป จะถือว่ าหม้ อแปลงลูกนีจ้ ่ ายโหลดบาลานซ์ หรือไม่ ?
วิธีทาํ
# หม้ อแปลง 50 kVA, 400/230 V.
- กระแสเต็มพิกดั คือ 
50 kVA
 72 A
3  230V
- หม้อแปลงทัว่ ไป ยอมให้จ่ายโหลดได้ไม่เกิน 80 % ของกระแสพิกดั
 0.8  72  57 A
ดังนั้น แต่ ละเฟสควรจ่ ายโหลดไม่ เกินเฟสละ  57 A
จากการทีห่ ม้ อแปลงจ่ ายโหลดรวม 50 A
ดังนั้น - กระแสแต่ละเฟสต้องต่างกันไม่เกิน 20 % ของแอมป์ เฉลี่ย  0.2  50  10 A
- แต่เนื่องจาก เฟส A จ่ายโหลด 70 A ซึ่ งเกิน 80% ของแอมป์ เฉลี่ย
เฟส B จ่ายโหลด 50 A ซึ่ งยังไม่เกิน 80% ของแอมป์ เฉลี่ย
เฟส C จ่ายโหลด 30 A ซึ่ งยังไม่เกิน 80% ของแอมป์ เฉลี่ย
แต่ต่างกับเฟสอื่นเกิน 10 A
ดังนั้น จึงถือว่ าหม้ อแปลงลูกนี้จ่ายโหลดไม่ สมดุล

106
 การทดสอบหม้ อแปลง แบ่งเป็ น 2 แบบ ใหญ่ ๆ คือ

1. Routine Test
1) Resistance measurement
2) Insulation resistance test
3) Voltage ratio test
4) Polarity & Vector group
5) Dielectric test of insulation
6) Oil test
7) No load test
8) Short circuit test

2. Type Test
1) Impulse test
2) Temperature rise test

107
1.1 Resistance measurement
- เป็ นการทดสอบเพื่อใช้หาค่าการสูญเสี ยในขดลวดทองแดง และหาอุณหภูมิที่
เพิ่มขึ้นสู งสุ ดของนํ้ามันหม้อแปลง ที่นิยมมี 2 วิธี คือ Wheatstone bridge (มากกว่า 1 โอห์ม)
และ Kelvin double bridge (ตํ่ากว่า 1 โอห์ม)

# Wheatstone bridge - ใช้วดั หาค่าความต้านทานที่มีค่าสู ง มากกว่า 1 โอห์ม

R1 และ R3 คือ ความต้านทานแขนอัตราส่ วน


R2 คือ ความต้านทานแขนปรับค่า
RX คือ ความต้านทานที่ตอ้ งการวัด
G คือ กัลวานอมิเตอร์

จะต้องทําให้ค่า VR1  VR3 โดยการปรับค่าความต้านทาน R2 แล้วสังเกตเข็ม


ของกัลวานอมิเตอร์จะต้องไม่กระดิก แสดงว่าไม่มีกระแสไหลผ่าน เรี ยกสภาวะนี้วา่ บริ ดจ์
ได้ สมดุลย์ และสามารถคํานวณหาค่าความต้านทานที่ตอ้ งการวัด RX ได้ดงั นี้

VR1  VR 3
R1  R2 R  RX
 3
R2 RX
R1 R
 3
R2 RX
R3
 RX   R2
R1

108
# Kelvin double bridge - ใช้วดั หาค่าความต้านทานที่มีค่าตํ่า ๆ ตํ่ากว่า 1 โอห์ม

เมือ่
Q, M , q, m คือ ความต้านทานอัตราส่ วน ที่ไม่จาํ เป็ นต้องรู ้ค่าแน่นอน
S คือ ความต้านทานปรับค่าได้ ที่รู้ค่าแน่นอน
X คือ ความต้านทานที่ตอ้ งการวัด
G คือ กัลวานอมิเตอร์

โดยการปรับค่า Regulating resistance เพียงเล็กน้อย และทําการปรับค่าความ


ต้านทาน Q, M , q, m และ S จนกระทัง่ เข็มของกัลวานอมิเตอร์ช้ ีที่ตาํ แหน่งศูนย์ และ
สามารถคํานวณหาค่าความต้านทานที่ตอ้ งการวัด X ได้ดงั นี้

Q rm  Q q 
X  S   
M r  q  m M m

109
1.2 Insulation resistance test
- เป็ นการทดสอบเพื่อตรวจสอบสภาพความเป็ นฉนวนของนํ้ามันหม้อแปลง ซึ่ ง
ถ้านํ้ามันมีความชื้นหรื ออุณหภูมิสูงขึ้นจะทําให้ค่าความเป็ นฉนวนลดลง เครื่ องมือที่ใช้
เรี ยกว่า Megger เพือ่ ใช้วดั ความเป็ นฉนวนระหว่างขดลวดแรงสูงกับแรงตํ่า (P-S), ขดลวด
แรงสู งกับตัวถังหม้อแปลง (P-E), ขดลวดแรงตํ่ากับตัวถังหม้อแปลง (S-E)

1.3 Voltage ratio test


- เป็ นการทดสอบเพื่อตรวจสอบหาอัตราส่ วนแรงดันหรื อจํานวนรอบของหม้อ
แปลงว่าถูกต้องหรื อไม่ โดยการป้ อนแรงดันไฟฟ้ าประมาณ 400V ให้กบั ทางด้านแรงดันสู ง
ของหม้อแปลง แล้ววัดค่าแรงดันทางด้านแรงตํ่า เช่น
หม้อแปลงสามเฟส พิกดั 22kV/230V จะต้องวัดค่าได้ 7.3V (400/(22000/230))

1.4 Polarity & Vector group


- เป็ นการทดสอบเพื่อตรวจสอบถึงการประกอบหรื อต่อขดลวดหม้อแปลงว่า
ถูกต้องหรื อไม่
- สําหรั บหม้ อแปลงเฟสเดียว จะมีการตรวจสอบขั้วหรื อกําหนดขั้วของหม้อ
แปลง โดยแบ่งออกเป็ น 2 แบบ คือ Subtractive polarity และ Additive polarity คือ
# ใช้ ไฟฟ้ ากระแสตรง วงจรการทดสอบแสดงดังรู ป โดยให้สงั เกตเข็ม
โวลท์มิเตอร์ ถ้าเข็มชี้ทางบวก แสดงว่าเป็ นแบบ Subtractive polarity และถ้าเข็มโวลท์
มิเตอร์ ถ้าเข็มชี้ทางลบ แสดงว่าเป็ นแบบ Additive polarity

110
# ใช้ ไฟฟ้ ากระแสสลับ วงจรการทดสอบแสดงดังรู ป โดยป้ อนแรงดัน
ประมาณ 400V และสังเกตเข็มโวลท์มิเตอร์ ถ้าวัดแรงดันได้ต่าํ กว่า 400V แสดงว่าเป็ นแบบ
Subtractive polarity และถ้าวัดแรงดันได้สูงกว่า 400V แสดงว่าเป็ นแบบ Additive polarity

- สําหรั บหม้ อแปลงสามเฟส จะทําการตรวจสอบหาเวคเตอร์กรุ๊ ฟของหม้อ


แปลง ซึ่ งขึ้นอยูก่ บั การต่อขั้วและทิศทางของขดลวด

1.5 Dielectric test of insulation


- เป็ นการทดสอบเพื่อตรวจสอบค่าฉนวนของหม้อแปลงว่าเพียงพอต่อการใช้
งานหรื อไม่ โดยจะทําการทดสอบ 2 แบบ คือ
# ทดสอบฉนวนที่ก้ นั ระหว่างแรงสูงกับแรงตํ่า ระยะห่างระหว่างแรงสู ง
และแรงตํ่ากับตัวถังว่าพอหรื อไม่ ระยะเวลาทดสอบประมาณ 1 นาที
# ทดสอบค่าฉนวนในขดลวดแต่ละขด ฉนวนระหว่างรอบ คอยล์ และ
เฟส โดยการป้ อนแรงดันสองเท่าของพิกดั ทางด้านแรงตํ่า และเพิ่มความถี่ของไฟที่ใช้ใน
การทดสอบ (เวลานั้นขึ้นอยูก่ บั ความถี่)

111
1.6 Oil test
- เป็ นการทดสอบสภาพความเป็ นฉนวนของหม้อแปลง นํ้ามันหม้อแปลงจะ
ต้องมีค่าความทนของการเป็ นฉนวนที่สูง มีการระบายความร้อนที่ดี ปราศจากสิ่ งเจือปน
มีจุดแข็งตัวช้า มีการระเหยน้อย เป็ นต้น
สาเหตุที่น้ าํ มันเสื่ อมสภาพลง คือ มีการดูดความชื้นในอากาศ หรื อสาร
แปลกปลอมเจือปน ซึ่งส่ วนใหญ่จะเกิดจากการทําปฏิกิริยากับออกซิ เจน (Oxidation) เมื่อมี
การสัมผัสกับอากาศและมากขึ้นเรื่ อย ๆ เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น จะทําให้ผวิ นํ้ายาวานิชที่เคลือบ
ขดลวดหรื อแกนของหม้อแปลงเกิดการละลายได้

2. Type Test
- เป็ นการทดสอบคุณภาพของหม้อแปลง โดยการสุ่ มตัวอย่าง

2.1 Impulse test


- เป็ นการทดสอบความคงทนต่อ Voltage surge เนื่องจากฟ้ าผ่าหรื อการสับ
สวิทช์ ที่จะเกิดขึ้นในระบบสายส่ ง

2.2 Temperature rise test


- เป็ นการทดสอบเพื่อหาอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นสูงสุ ดของนํ้ามันหม้อแปลงและของ
ขดลวด โดยวิธีการ Short circuit

112
การใช้ หม้ อแปลงไฟฟ้ าอย่ างมีประสิทธิภาพ
3. ปรั บปรุงการใช้ หม้ อแปลงไฟฟ้ าทีม่ ีอยู่เดิมให้ เกิดประโยชน์ สูงสุ ด
3.1. การลดกําลังสู ญเสี ยขณะไม่ มโี หลดของหม้ อแปลงไฟฟ้ า
(การสูญเสี ยในแกนเหล็ก มีค่าคงที่ตลอด) โดยการปลดแรงดันไฟฟ้ าทางด้าน
ปฐมภูมิ (กรณี ที่มีหม้อแปลงมากกว่า 1 ตัว) เช่น ระบบการจ่ายไฟฟ้ าแบบสาย
ประธานสองชุด (Secondary selective) เวลาหยุดทํางานหรื อในวันหยุดสามารถ
ประหยัดพลังงานได้โดยการตัดแรงดันทางด้านปฐมภูมิและทุติยภูมิออก โดยจะต้อง
ติดตั้ง Vacuum CB หรื อ GAS CB ไว้ทางด้านแรงดันสู ง
3.2. การปรับแรงดันไฟฟ้าด้ านทุตยิ ภูมขิ องหม้ อแปลงไฟฟ้ าให้ อยู่ระดับทีเ่ หมาะสม
กรณี ที่ใช้หม้อแปลงไฟฟ้ าที่มีแท็ป (Tap) ซึ่ งจะต้องพิจารณาควบคู่ไปกับความ
ไม่สมดุลของแรงดันไฟฟ้ าในระบบด้วย (Load)
การที่ให้มีการเปลี่ยนแปลงของแรงดันไฟฟ้ าน้อยลง สามารถทําได้โดยการใช้
หม้อแปลงและสายไฟที่มีขนาดใหญ่เพียงพอ หรื อติดตั้ง C Bank ที่ปลายสาย
3.3. การปรับปรุ งค่ าเพาเวอร์ แฟกเตอร์ ในหม้ อแปลงไฟฟ้ า
การปรับปรุ งค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์จะช่วยลดการสูญเสี ยภายในหม้อแปลง ทําให้
หม้อแปลงไฟฟ้ าสามารถจ่ายโหลดได้เพิม่ ขึ้น โดยการติดตั้งตัวเก็บประจุไว้ในตําแหน่ง
ที่ใกล้กบั โหลดที่มีค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์ต่าํ

4. เลือกซื้อหม้ อแปลงไฟฟ้ าชนิดประสิทธิภาพสู งและมีขนาดเหมาะสมกับโหลด


ซึ่ งเป็ นแบบประหยัดพลังงาน ที่มีการสูญเสี ยในแกนเหล็กตํ่ากว่าแบบธรรมดา

5. การขนานหม้ อแปลงไฟฟ้ า
การขนานหม้อแปลงไฟฟ้ าเข้าด้วนกัน จะช่วยลดการสู ญเสี ยโดยรวมลงได้

113
การบํารุงรักษาหม้ อแปลง

หม้อแปลงไฟฟ้ าเป็ นอุปกรณ์ที่มีความสําคัญในการนําพลังงานไปใช้งานกับอุปกรณ์


ไฟฟ้ าของผูใ้ ช้ไฟตั้งแต่ติดตั้งจนถึงปั จจุบนั ถูกใช้งานตลอดเวลา ซึ่ งอาจจะเกิดการเสื่ อม
สภาพและชํารุ ดได้ จึงจําเป็ นต้องได้รับการบํารุ งรักษาอย่างน้อยปี ละ 1 ครั้ง เพื่อยืดอายุการ
ใช้งานและคุม้ ค่า โดยมีสิ่งบ่งบอกถึงความจําเป็ นที่จะต้องบํารุ งรักษาดังนี้

1. SILICA-GEL (สารดูดความชื้น) หากเสื่ อมคุณภาพจะเปลี่ยนจากสี น้ าํ เงินเป็ นสี ชมพูหรื อ


สี ดาํ ควรเปลี่ยนใหม่
2. ซี ลยางชํารุ ดนํ้ามันไหลซึ มออกมา
3. ถังหม้อแปลงขึ้นสนิม ผุ ชํารุ ด
4. อาร์คซิ่ งฮอนชํารุ ด/บิดงอไม่ได้ระยะ (15.5 ซม.)
5. ประเก็นกรอบ/หมดสภาพหรื อชํารุ ดนํ้ามันจะไหลซึ มออกมา
6. บุชชิ่งแรงสู ง - แรงตํ่า บิ่น/แตก ชํารุ ด หรื อมีฝนเกาะหนา
ุ่ อาจเป็ นตัวนําให้ไฟรั่วลงดินทํา
ให้ไฟดับได้
7. ถังอะไหล่น้ าํ มันหม้อแปลงมีระดับนํ้ามันตํ่าจะต้องเติมนํ้ามันเพิ่ม
8. ครี บระบายความร้อนสกปรก/รั่วซึ ม
9. ขั้วต่อสายแรงสู ง - แรงตํ่าที่บุชชิ่งหลวมหรื อเกิดอ๊อกไซด์จะทําให้เกิดอาร์คชํารุ ด
10. ค่าความเป็ นฉนวนของนํ้ามันตํ่ากว่าพิกดั จะต้องกรองหรื อเปลี่ยนทันที
11. ใช้งานมาแล้วเกิน 6 เดือนเป็ นต้นไป

114
อัตราค่ าบริการ
ลําดับที่ ระบบ (เฟส) ขนาด (KVA) ราคาต่ อเครื่อง (บาท)
1 1 ไม่เกิน 50 650.-
2 3 ไม่เกิน 100 950.-
3 3 มากกว่า 100 ถึง 250 1,200.-
4 3 มากกว่า 250 ถึง 500 1,700.-
5 3 มากกว่า 500 ถึง 1,000 2,500.-
6 3 มากกว่า 1,000 ถึง 1,500 3,100.-
7 3 มากกว่า 1,500 ถึง 2,000 4,000.-
8 3 มากกว่า 2,000 ถึง 3,000 5,200.-
9 3 มากกว่า 3,000 ถึง 5,000 7,400.-

** ราคาดังกล่าวไม่รวมค่ากรองนํ้ามัน, สารดูดความชื้นและค่าอะไหล่

ผลดีของการบํารุงรักษาหม้ อแปลง
1. สามารถรับและจ่ายไฟได้อย่างต่อเนื่อง
2. ยืดอายุการใช้งานให้ยาวนานขึ้นและคุม้ ค่า
3. เป็ นการป้ องกันไม่ให้เกิดความเสี ยหายต่อตัวหม้อแปลง
4. ป้ องกันความเสี ยหายต่อกระบวนการผลิต
5. ป้ องกันการเสี ยโอกาสในการผลิต
6. รับทราบสภาพโหลดการใช้งานจริ งของหม้อแปลง
7. ป้ องกันการเกิดอัคคีภยั และอุบตั ิเหตุ
8. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการซ่อมหรื อซื้ อใหม่

115
การปรับปรุงค่ าเพาเวอร์ แฟกเตอร์ (Power Factor Correction)
คือ อัตราส่ วนระหว่างกําลังไฟฟ้ าที่ใช้จริ ง (วัตต์) กับ กําลังไฟฟ้ าปรากฏ หรื อ
กําลังไฟฟ้ าเสมือน (VA) ซึ่ ง ค่าที่ดีที่สุด คือ มีอตั ราส่ วนที่เท่ากัน จะมีค่าเป็ นหนึ่ง แต่ในทาง
เป็ นจริ งไม่สามารถทําได้
ตัวอย่ าง 1 โรงงานแห่ งหนึ่ง ระบบแรงดัน 3 เฟส 380 V อ่ านค่ ากระแสจากมิเตอร์ ได้
1,266 A กําลังไฟฟ้ าจริงได้ 500 kW ตัวประกอบกําลังไฟฟ้ าโรงงานแห่ งนีม้ คี ่ าเท่ าใด

3  380  1266
S   833 kVA
1000
P
PF   0.6 (60%)
S

ซึ่ งค่า Power Factor เปลี่ยนแปลงไปตามการใช้ Load ซึ่ ง Load ทางไฟฟ้ ามีอยู่ 3
ลักษณะ คือ
1. Load ประเภท Resistive หรื อ ความต้าน จะมีค่า Power Factor เป็ นหนึ่ง อันได้แก่
หลอดไฟฟ้ าแบบใส้ เตารี ดไฟฟ้ า หม้อหุ งข้าว เครื่ องทํานํ้าอุน่ เป็ นต้น ถ้าหน่วยงานหรื อ
องค์กร มี Load ประเภทนี้เป็ นจํานวนมาก ก็ไม่จาํ เป็ นที่จะต้องปรับปรุ งค่า Power Factor
2. Load ประเภท Inductive หรื อ ความเหนี่ยวนํา จะมีค่า Power Factor ไม่เป็ นหนึ่ง
อันได้แก่ เครื่ องใช้ไฟฟ้ าที่ใช้ขดลวด เช่น มอเตอร์ บาลาสก์ของหลอดฟลูออเรสเซนต์
หลอดแกสดิสชาร์จ เครื่ องปรับอากาศ เป็ นต้น จะเห็นได้วา่ หน่วยงานหรื อองค์กรส่ วนใหญ่
จะหลีกเลี่ยง Load ประเภทนี้ไม่ได้ และมีเป็ นจํานวนมาก ซึ่ งจะทําให้ค่า Power Factor ไม่
เป็ นหนึ่ง และ Load ประเภทนี้จะทําให้ค่า Power Factor ล้าหลัง ( Lagging ) จําเป็ นที่
จะต้องปรับปรุ งค่า Power Factor โดยการนํา Load ประเภทให้ค่า Power Factor นําหน้า (
Leading ) มาต่อเข้าในวงจรไฟฟ้ าของระบบ เช่น การต่อชุด Capacitor Bank เข้าไปในชุด
ควบคุมไฟฟ้ า

116
3. Load ประเภท Capacitive หรื อ Load ที่มีตวั เก็บประจุ (Capacitor) เป็ น
องค์ประกอบ Load ประเภทนี้จะมีใช้นอ้ ยมาก จะมีค่า Power Factor ไม่เป็ นหนึ่ง Load
ประเภทนี้จะทําให้ค่า Power Factor นําหน้า ( Leading ) คือกระแสจะนําหน้าแรงดัน
จึงนิยมนํา Load ประเภทนี้มาปรับปรุ งค่า Power Factor ของระบบที่มีค่า Power Factor
ล้าหลัง เพือ่ ให้ค่า Power Factor มีค่าใกล้เคียงหนึ่ง

ข้ อดี ของการปรับปรุงค่ า Power Factor


1. กระแสไฟฟ้ าที่ไหลในวงจรไฟฟ้ าลดลง

ตัวอย่ าง 2 จากตัวอย่ าง 1 ถ้ าเพิม่ ตัวประกอบกําลังไฟฟ้ าเป็ น 0.95 กระแส


จะลดลงเหลือเท่ าใด
P
PF . 
S
P 500kW
S    526.3 kVA
PF . 0.95
3  380  I 2
S 
1000
526.3 kVA
I2   800 A
3  380

2. ประหยัดค่าไฟฟ้ า
3. ลดกําลังงานสู ญเสี ยในสายไฟฟ้ าลง
- 1 เฟส  2I 2 R
- 3 เฟส  3I 2 R

117
ตัวอย่ าง 3 มอเตอร์ 50 HP 3 เฟส 380 V PF 0.72 ใช้ สายขนาด 35 mm2
ยาว 180 m ระยะเวลาทีใ่ ช้ งานรวม 160 ชม/เดือน ถ้ าค่ าไฟหน่ วยละ 2.75 บาท
สามารถประหยัดค่ าไฟฟ้ าหลังจากปรับปรุง PF เป็ น 0.95 ได้ กบี่ าทต่ อปี ความ
ต้ านทานสายเท่ ากับ 0.005 โอห์ มต่ อเมตร
50  746
PF 0.72 I   78.7 A
3  380  0.72
50  746
PF 0.95 I   59.5 A
3  380  0.95

PF 0.72 Power Loss  3I 2 R  3  78.7 2  0.0005  180  1,672W


PF 0.95 Power Loss  3I 2 R  3  59.52  0.0005  180  955W

กําลังสู ญเสี ยลดลง  1,672  955  717W


717  160  12
หน่วยไฟฟ้ าที่ลดลงต่อปี   1,376.6 kW  hr
1000
ถ้าค่าไฟหน่วยละ 2.75 บาท
ปี หนึ่งจะประหยัดค่าไฟฟ้ า  1,376.6  2.75  3,785.76 Baht / Year
------------------------------------------------

4. หม้อแปลง และสายเมนไฟฟ้ า สามารถจ่าย Load เพิ่มมากขึ้น

 1 1 
kVA  kW ( Load )   
 Cos 1 Cos 2 

5. ลดแรงดันไฟฟ้ าตก
6. เพิม่ ประสิ ทธิ ภาพระบบไฟฟ้ าทั้งระบบ

118
การปรับปรุงค่ าตัวประกอบกําลังไฟฟ้ า (Power Factor)
ในการปรับปรุ งค่าตัวประกอบกําลังไฟฟ้ าสําหรับระบบที่มีค่าตํ่านั้น สามารถทําได้โดย
จะต้องหาแหล่งกําเนิดกําลังไฟฟ้ ารี แอกทีฟมาช่วยจ่ายชดเชยให้กบั ระบบ ได้แก่ ซิ งโครนัส
มอเตอร์และคาปาซิ เตอร์ ในส่ วนของคาปาซิ เตอร์เป็ นอุปกรณ์ที่จ่ายกําลังไฟฟ้ า รี แอกตีฟ
ชนิดหนึ่งที่ราคาถูก และนิยมใช้กนั มาก

จากสามเหลี่ยมกําลังไฟฟ้ า
kVAr  kW tan 
kVAr  kVA sin 
kVAr ก่อนปรับปรุ ง  kW tan 1
kVAr ปรับปรุ ง  kW tan 2
ดังนั้น kVAr ของคาปาซิเตอร์  kW (tan 1  tan 2 )

119
ตัวอย่ าง 4 จากตัวอย่ างที่ 1 โหลดขนาด 500 kW ตัวประกอบกําลังไฟฟ้ า 0.60 ล้ า
หลัง ถ้ าต้ องการปรับปรุงตัวประกอบกําลังไฟฟ้ าเป็ น 0.95 ล้ าหลัง จะต้ องเลือกขนาดคาปา
ซิเตอร์ เท่ าใด
Cos 1  0.6 ; 1  53.13
Cos 2  0.95 ; 2  18.19

kVAr ของคาปาซิเตอร์  kW (tan 1  tan 2 )


 500kW (tan 53.13  tan 18.19)
 500kW (1.333  0.3285)
 500 kVAr

หรื อ อาจจะหาจากตารางที่ 1.6

Cos 1  0.6
Cos 2  0.95
ค่าแฟกเตอร์จากตาราง  1.01

kVAr ของคาปาซิเตอร์  500 kW 1.01


 500 kVAr

120
121
การปรับปรุงคุณภาพไฟฟ้ า โดยการแก้ปัญหาฮาร์ โมนิคส์
พลังงานไฟฟ้ าที่ถูกส่ งมาในรู ปของแรงดันและกระแสที่มีความถี่ 50 Hz แต่ในความ
เป็ นจริ งนั้นระบบไฟฟ้ าจะมีแรงดันและกระแสที่มีความถี่ไม่เท่ากับ 50 Hz ปนมาด้วยเสมอ
โดยอาจจะมีความถี่ 150 Hz หรื อ 250 Hz หรื อมากกว่า โดยค่ าความถีม่ ีค่าเป็ นจํานวนเท่ า
ของ 50 Hz ก็จะเรี ยกว่ าเป็ น ฮาร์ โมนิกส์ เช่ น 150 Hz เรียกว่ าเป็ นฮาร์ โมนิกส์ ทสี่ าม คือ

122
ฮาร์ โมนิคส์ ทสี่ าม

ผลกระทบจากฮาร์ โมนิกส์
ระบบไฟฟ้ าที่มีฮาร์โมนิกส์ปริ มาณมากปะปนมา อุปกรณ์ไฟฟ้ าทุกชนิดจะได้รับ
ส่ งผลกระทบโดยตรงจนอาจทําให้ทาํ งานผิดปกติ เสื่ อมสภาพเร็ วกว่าปกติ หรื ออาจชํารุ ด
เสี ยหายได้

ฮาร์โมนิกส์เกือบทั้งหมดในระบบไฟฟ้ าจะเกิดมาจากผูใ้ ช้ไฟ ซึ่ งเกิดจากการอุปกรณ์


ไฟฟ้ าบางชนิดที่สร้างฮาร์โมนิกส์ไหลเข้าไปเป็ นมลภาวะในระบบไฟฟ้ า เช่น
1. เครื่ องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
2. UPS
3. บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์
4. AC & DC Drive
5. เครื่ องเชื่อมไฟฟ้ า
6. เตาหลอมไฟฟ้ า
7. เครื่ องแปลงไฟฟ้ ากระแสสลับเป็ นกระแสตรง

123
สัญญาณเตือนทีบ่ อกว่ าเราจะต้ องพิจารณาปัญหาเรื่ องฮาร์ โมนิกส์ คือ
1. เมือ่ มีอปุ กรณ์ ไฟฟ้ าเป็ นแหล่ งกําเนิดฮาร์ โมนิกส์ ปริมาณมากในระบบ
พิจารณาจากขนาดโดยรวมของอุปกรณ์ที่สามารถสร้างฮาร์โมนิกส์ได้ ในรู ปของ
ค่า kVA ที่มีปริ มาณตั้งแต่ 20% ของขนาดหม้อแปลงของระบบ เช่น ถ้าหม้อแปลงของ
โรงงานมีขนาด 1000 kVA และโรงงานมีอุปกรณ์ที่สามารถสร้างฮาร์โมนิกส์ได้ เช่น AC
Drive หลาย ๆ ตัว ซึ่ งมีขนาดรวมกันแล้วไม่ต่าํ กว่า 200 kVA โรงงานนี้มีโอกาสสู งที่จะมี
ปั ญหาจากฮาร์โมนิกส์ได้

2. เมือ่ มีความผิดปกติ เนื่องจากฮาร์ โมนิกส์ ในระบบ


- เบรคเกอร์ทริ ปโดยไม่ทราบสาเหตุ
- อุปรกณ์ควบคุมและอิเล็กทรอนิกส์ชาํ รุ ดเสี ยหายบ่อย
- อุปกรณ์ไฟฟ้ าต่าง ๆ ร้อนผิดปกติ เช่น สายไฟ มอเตอร์ หม้อแปลง เบรคเกอร์ฯลฯ
- มีการเก็บค่าไฟมากผิดปกติ
- ค่าใช้จ่ายในการซ่อมบํารุ งอุปกรณ์ไฟฟ้ าต่าง ๆ สู งผิดปกติ

124
 หม้ อแปลงออโต (The Autotransformer)

เป็ นหม้อแปลงที่ประกอบด้วยขดลวดปฐมภูมิและทุติยภูมิเป็ นขดลวดชุดเดียวกัน


ดังนั้น หม้อแปลงทัว่ ไป ๆ สามารถต่อเป็ นหม้อแปลงออโตได้ เพื่อเพิ่มหรื อลดระดับ
แรงดันไฟฟ้ าให้ได้ตามต้องการ แต่ไม่เหมาะที่จะใช้เป็ นหม้อแปลงในระบบจําหน่าย เนื่อง
มาจากอัตราส่ วนของแรงดันไฟฟ้ าระหว่างขดลวดไฟแรงสูงกับขดไฟแรงตํ่า สู งเกินไป

ชนิดของหม้ อแปลงออโต
1. Step-up autotransformer
2. Step-down autotransformer

112
1. Step-up autotransformer

จากรู ปวงจรจะได้
VC NC

VSE N SE
NC IC  N SE I SE
แรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั
VL  VC
VH  VC  VSE

กระแสไฟฟ้ า
IL  I C  I SE
I H  I SE

113
เมือ่ พิจารณาในส่ วนของแรงดันไฟฟ้าทีเ่ กิดขึน้

VH  VC  VSE

N SE
เมือ่ VSE  VC and VL  VC
NC
N SE
VH  VC  VC
NC
N SE N SE  N C
VH  VL  VL  VL
NC NC

VL NC

VH N SE  N C

เมือ่ พิจารณาในส่ วนของกระแสไฟฟ้ าทีเ่ กิดขึน้

I L  I C  I SE

N SE
เมือ่ I C  I SE and I H  I SE
NC
N SE
IL  I SE  I SE
NC
N SE N SE  N C
IL  IH  IH  IH
NC NC

IL N SE  N C

IH NC

114
เมือ่ พิจารณาในส่ วนของกําลังงานปรากฏทีเ่ กิดขึน้ ( Sin , Sout )
Sin  VL I L
Sout  VH I H

กําหนดให้ Sin  Sout  S IO

กําลังงานปรากฏทีเ่ กิดขึน้ ทีข่ ดลวด

SW  VC I C  VSE I SE

เมือ่ I L  I C  I SE , I H  I SE และ VL  VC

SW  VC I C
 VL ( I L  I H )
 VL I L  VL I H

NC
จาก IH  IL
N SE  N C

SW  VL I L  VL I H
 NC 
 VL I L  VL  I L 
 N SE  N C 

( N SE  N C )  N C
 VL I L
N SE  N C
N SE
 S IO
N SE  N C

S IO N  NC
 SE
SW N SE

115
116
117
2. Step-down autotransformer

จากรู ปวงจรจะได้
VC NC

VSE N SE
NC IC  N SE I SE
แรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั
VL  VC
VH  VC  VSE

กระแสไฟฟ้ า
IL  I C  I SE
I H  I SE

118
เมือ่ พิจารณาในส่ วนของแรงดันไฟฟ้าทีเ่ กิดขึน้

VH  VC  VSE

N SE
เมือ่ VSE  VC and VL  VC
NC
N SE
VH  VC  VC
NC
N SE N SE  N C
VH  VL  VL  VL
NC NC

VH N SE  N C

VL NC

เมือ่ พิจารณาในส่ วนของกระแสไฟฟ้ าทีเ่ กิดขึน้

I L  I C  I SE

N SE
เมือ่ I C  I SE and I H  I SE
NC
N SE
IL  I SE  I SE
NC
N SE N SE  N C
IL  IH  IH  IH
NC NC

IH NC

IL N SE  N C

119
เมือ่ พิจารณาในส่ วนของกําลังงานปรากฏทีเ่ กิดขึน้ ( Sin , Sout )

Sin  VH I H
Sout  VL I L

กําหนดให้ Sin  Sout  S IO

กําลังงานปรากฏทีเ่ กิดขึน้ ทีข่ ดลวด

SW  VC I C  VSE I SE

เมือ่ I L  I C  I SE , I H  I SE และ VL  VC

SW  VC I C
 VL ( I L  I H )
 VL I L  VL I H
NC
จาก IH  IL
N SE  N C

SW  VL I L  VL I H
 NC 
 VL I L  VL  I L 
 N SE  N C 
( N SE  N C )  N C
 VL I L
N SE  N C
N SE
 S IO
N SE  N C

S IO N  NC
 SE
SW N SE

120
121
 หม้ อแปลงเครื่องมือวัด (Instrument Transformers)
ในการวัดค่าปริ มาณทางไฟฟ้ าต่าง ๆ เช่น แรงดันไฟฟ้ า กระแสไฟฟ้ า ทั้งทางด้าน
แรงดันไฟฟ้ าสู งหรื อแรงดันไฟฟ้ าตํ่านั้น ค่าต่าง ๆ นี้จะมีปริ มาณสูง ซึ่ งยากสําหรับการวัดค่า
โดยตรง จึงจําเป็ นจะต้องลดระดับลงมา เพือ่ ประโยชน์สาํ หรับการวัดและการป้ องกัน ซึ่ ง
เครื่ องอุปกรณ์ที่ใช้ในการลดระดับค่าแรงดันไฟฟ้ าและกระแสไฟฟ้ าให้ต่าํ ลงนี้ เรี ยกว่า หม้ อ
แปลงเครื่องมือวัด (Instrument Transformers) แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
1. หม้อแปลงกระแส (Current Transformer, CT.)
2. หม้อแปลงแรงดัน (Voltage Transformer, VT.)

1. หม้ อแปลงกระแส (Current Transformer, CT.)


ใช้หลักการ Electromagnetic induction เช่นเดียวกับ Power transformer แต่
ลักษณะการใช้งานต่างกัน กล่าวคือ ขดลวดทางด้านปฐมภูมิจะต่ออนุกรมกับ Line โดยจะ
ไม่ข้ ึนอยูก่ บั โหลด
หน้ าที่ - แปลงกระแสไฟฟ้ าค่าสู ง ๆ ให้ลดตํ่าลง ตามมาตรฐานกําหนดไว้ที่ 1A และ
5A เพื่อเป็ นมาตรฐานในการผลิตอุปกรณ์หรื อเครื่ องมือ และเพื่อประโยชน์ คือ
1. ลดระดับกระแสไฟฟ้ าให้ต่าํ ลง เพื่อประโยชน์สาํ หรับการวัดและการป้ องกัน
2. แยกวงจรทางปฐมภูมิและทุติยภูมิออกจากกัน เพื่อทําให้เกิดความปลอดภัยต่อผู ้
ปฏิบตั ิงาน
3. ทําให้สามารถใช้พิกดั กระแสตามมาตรฐานทางด้านทุติยภูมิได้

122
หม้ อแปลงกระแส แบ่ งออกเป็ น 2 แบบคือ
1. หม้อแปลงกระแสสําหรับการวัด (Measurement Current Transformer) เช่น metering
system ต่าง ๆ
2. หม้อแปลงกระแสสําหรับการป้ องกัน (Protection Current Transformer) เช่น Relay,
Trip coil เป็ นต้น

สิ่ งสํ าคัญของหม้ อแปลงกระแส คือ


1. Primary winding
2. Magnetic core => magnetic alloys (ความละเอียดถูกต้องแม่นยํา และเที่ยงตรง)
3. Secondary winding
4. Burden => เป็ น Impedance ของอุปกรณ์ที่ต่อทางด้าน Secondary เช่น Relay,
เครื่ องมือวัดหรื ออุปกรณ์อื่น ๆ รวมทั้งสายที่ต่อ อาจมีหน่วยเป็ น VA หรื อ Ohm
เช่ น
CT ที่มี rate burden เท่ากับ P VA
rate secondary current เท่ากับ IS VA
P
 Z b : Burden 
I S2

2. หม้ อแปลงแรงดัน (Voltage Transformer, VT.)


เป็ นอุปกรณ์ที่ทาํ หน้าที่แปลงค่าแรงดันไฟฟ้ าค่าสูง ๆ ให้ลดตํ่าลง เพื่อความเหมาะสม
กับการวัด ขดลวดทางด้านปฐมภูมิต่อตรงกับแรงดันไฟฟ้ าใช้งาน ส่ วนทางด้านทุติยภูมิจะ
ต่อเข้ากับเครื่ องมือวัด

123
124
ระบบไฟฟ้ าแรงสูง

ระบบไฟฟ้ า 20 kV

125
เครื่ องกลไฟฟ้ ากระแสตรง

DC. Machines

พืน้ ฐานเกีย่ วกับเครื่ องกลไฟฟ้ ากระแสตรง


(Principles of DC machines)
เครื่ องกลไฟฟ้ ากระแสตรงเป็ นเครื่ องกลไฟฟ้ าชนิดหนึ่ง ที่สามารถเปลี่ยนพลังงานกล
เป็ นพลังงานไฟฟ้ า หรื อ เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้ าเป็ นพลังงานกล
เครื่องกลไฟฟ้ าทีเ่ ปลีย่ นพลังงานกลเป็ นพลังงานไฟฟ้ า เรียกว่ า เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า
กระแสตรง (Direct Current Generator)
ส่ วนเครื่องกลไฟฟ้ าทีเ่ ปลีย่ นพลังงานไฟฟ้าเป็ นพลังงานกล เรียกว่ า มอเตอร์ ไฟฟ้ า
กระแสตรง (Direct Current Motor)
โดยอาศัยการเหนี่ยวนําจากเส้นแรงแม่เหล็ก ดังนั้นเครื่ องกลไฟฟ้ ากระแสตรงจึง
ประกอบด้วยขดลวดอาร์เมเจอร์และขดลวดสนามแม่เหล็ก
2

1. โครงสร้ างของเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง
เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าและมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรง มีลกั ษณะโครงสร้างและหลักการ
ทํางานเหมือนกันทุกอย่าง ดังนั้นเครื่ องกลไฟฟ้ ากระแสตรงตัวหนึ่งจึงสามารถใช้งานเป็ นได้
ทั้งเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าและมอเตอร์ ไฟฟ้ า ซึ่ งโครงสร้างจะประกอบด้วย 2 ส่ วนใหญ่ ๆ คือ
ส่ วนที่อยูก่ บั ที่และส่ วนที่เคลื่อนที่ โดยมีรายละเอียดดังนี้

1.1 ส่ วนทีอ่ ยู่กบั ที่ (Stationary Part)


1.1.1 โครง หรือเปลือก (Yoke or Frame)
โครง หรื อ เปลือก ส่ วนใหญ่ทาํ มาจากเหล็กหล่อ หรื อวัสดุที่เป็ นสาร
แม่เหล็ก หน้ าทีห่ ลักของโครง หรือเปลือก คือ ยึดขั้วแม่เหล็ก ส่ วนประกอบทั้งหมด และ
เป็ นทางเดินของเส้นแรงแม่เหล็ก (Magnetic circuit) ดังแสดงในรู ปที่ 1

รู ปที่ 1 โครงหรื อเปลือก ชนิด 2 ขั้วแม่เหล็ก


3

1.1.2 ขั้วแม่ เหล็ก (Pole shoes)


โดยทัว่ ไปขั้วแม่เหล็กทํามาจากแผ่นเหล็กบาง ๆ (Laminated sheet steel) ที่
เคลือบผิวทั้งสองด้านด้วยวัสดุฉนวน โดยนํามาอัดซ้อนเข้าด้วยกัน เพื่อลดกําลังสู ญเสี ยใน
แกนเหล็ก หน้าที่หลักของขั้วแม่เหล็ก คือ ให้กาํ เนิดเส้นแรงแม่เหล็ก (Magnetic flux)
ขั้วแม่เหล็กนี้จะยืน่ ออกมาจากโครง และจะถูกยึดเข้ากับโครงด้วยสกรู ดังแสดงในรู ปที่ 2

รู ปที่ 2 ขั้วแม่เหล็กที่ยดึ ติดแน่นกับโครง

(ก)

(ข) (ค)

รู ปที่ 3 วงจรแม่เหล็ก (ก) ชนิด 2 ขั้ว (ข) ชนิด 6 ขั้ว (ค) ชนิด 4 ขั้ว
4

1.1.3 ขดลวดสนามแม่ เหล็ก (Field winding or Field coil)


ขดลวดสนามแม่เหล็กเป็ นขดลวดตัวนําที่พนั ไว้รอบขั้วแม่เหล็ก และจะต้อง
มีขนาดที่พอดี คือ ไม่แน่นหรื อหลวมจนเกินไป ขดลวดสนามแม่เหล็กทําหน้าที่สร้างเส้น
แรงแม่เหล็ก และมี 2 ชนิด คือ
1. ขดลวดขนาน (Shunt field or shunt winding) ขดลวดนีจ้ ะพันด้ วย
ลวดเส้ นเล็ก ดังนั้นจึงมีความต้ านทานสู ง โดยพันอยู่ด้านในสุ ด
2. ขดลวดอนุกรม (Series field or series winding) ขดลวดนีจ้ ะพันด้ วย
ลวดเส้ นใหญ่ ดังนั้นจึงมีความต้ านทานตํา่ โดยพันอยู่ด้านนอกสุ ด

การตรวจสอบการต่อขดลวดขนานนั้น สามารถตรวจสอบได้โดยการใช้เข็มทิศตรวจ
สอบ โดยการนําเข็มทิศสอดเข้าไปที่ดา้ นหน้าของขั้วแม่เหล็กแต่ละขั้ว ขั้วแม่เหล็กที่เกิดขึ้น
จะต้องสลับกันไป สําหรับขดลวดอนุกรมนั้นก็ตรวจสอบได้ในทํานองเดียวกัน ดังแสดงใน
รู ปที่ 4

รู ปที่ 4 การตรวจสอบการต่อขดลวดขนาน (Shunt field)


5

1.1.4 แปรงถ่ าน และแบริ่ง (Brushes and bearing)


แปรงถ่ าน ทําหน้ าที่ เป็ นทางเดินของกระแสไฟฟ้ าจากคอมมิวเตเตอร์ ไปยัง
วงจรภายนอก ในกรณี ที่ทาํ หน้ าที่ เป็ นเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า และ จากแหล่ งจ่ ายไฟไปยังคอมมิว
เตเตอร์ ในกรณี ที่ทาํ หน้ าที่เป็ นมอเตอร์ แปรงถ่านทํามาจากคาร์บอนอัดแน่น มีลกั ษณะเป็ น
แท่งสี่ เหลี่ยมผืนผ้าบรรจุอยูใ่ นซองถ่าน และถูกกดด้วยสปริ งให้สมั ผัสกับคอมมิวเตเตอร์
ตลอดเวลา โดยมีลวดทองแดงถักติดอยูด่ ว้ ยเพื่อต่อไฟออกไปใช้ และ ซองถ่านจะถูกยึดติดอยู่
กับฝาครอบ ดังแสดงในรู ปที่ 5
แบริ่ง ทําหน้ าที่ เป็ นตัวรับนํ้าหนักทั้งหมดที่ได้รับจากตัวหมุนและช่วยลด
แรงเสี ยดทานของเพลาในขณะที่ส่วนหมุนกําลังหมุนตามปกติ ซึ่ งจะยึดติดอยูก่ บั ฝาครอบทั้ง
2 ด้านของเครื่ องกลไฟฟ้ า

รู ปที่ 5 แปรงถ่าน

1.1.5 ฝาปิ ดหัวท้ าย หรือฝาครอบ (End plate)


ฝาครอบ ทํามาจากเหล็กหล่อ ซึ่ งทําหน้าที่ยดึ ซองแปรงถ่านและรองรับเพลา
ของส่ วนหมุน
6

1.2 ส่ วนทีเ่ คลือ่ นที่ (Rotor Part)


1.2.1 แกนเหล็กอาร์ เมเจอร์ (Armature core)
แกนเหล็กอาร์เมเจอร์เป็ นส่ วนที่สาํ คัญที่สาํ หรับบรรจุขดลวดตัวนํา หรื อ
ขดลวดอาร์เมเจอร์ ซึ่ งทํามาจากแผ่นเหล็กบาง ๆ ที่ฉาบด้วยฉนวนอัดซ้อนเข้าด้วยกันมีรูปร่ าง
เป็ นรู ปทรงกระบอกตัน เพื่อลดการสู ญเสี ยเนื่องจากฮีสเตอรี ซีส และกระแสไหลวนในแกน
เหล็ก และที่แกนเหล็กอาร์เมเจอร์น้ ีจะเจาะรู ไว้ดว้ ย เพื่อช่วยในการระบายความร้อนอัน
เนื่องจากการสู ญเสี ย ดังแสดงในรู ปที่ 6

รู ปที่ 6 แกนเหล็กอาร์เมเจอร์
7

1.2.2 ขดลวดอาร์ เมเจอร์ (Armature coil or Armature winding)


ขดลวดอาร์เมเจอร์เป็ นส่ วนที่สาํ คัญ ที่บรรจุลงในร่ องสล็อทของแกนเหล็ก
อาร์เมเจอร์ ซึ่ งทํามาจากลวดทองแดงอาบฉนวน ขดลวดอาร์ เมเจอร์ มกี ารพันเป็ นแบบแลป
(Lap) หรือแบบเวฟ (Wave) และปลายของขดลวดจะถูกนํามาต่อเข้ากับคอมมิวเตเตอร์ ดัง
แสดงในรู ปที่ 7

รู ปที่ 7 ขดลวดอาร์เมเจอร์

1.2.3 คอมมิวเตเตอร์ (Commutator)


เป็ นส่ วนที่รองรับปลายสายทั้งหมดของขดลวดอาร์เมเจอร์ และทําหน้าที่เปลี่ยน
ไฟฟ้ ากระแสสลับ (Alternating current) ที่เกิดขึ้นในขดลวดอาร์เมเจอร์ให้เป็ นไฟฟ้ า
กระแสตรง (Direct current) คอมมิวเตเตอร์ ทาํ มาจากแท่งทองแดงที่ประกอบด้วยซี่หลาย ๆ
ซี่ อดั เข้าด้วยกันเป็ นรู ปทรงกระบอก และในระหว่างซี่ ทองแดงแต่ละซี่จะคัน่ ไว้ดว้ ยฉนวน
หนาที่แข็งแรง ยึดติดไว้บนเพลาอันเดียวกันกับแกนเหล็กอาร์เมเจอร์ ดังแสดงในรู ปที่ 8
8

รู ปที่ 8 คอมมิวเตเตอร์

2. การพันขดลวดอาร์ เมเจอร์
2.1 ขดลวดอาร์ เมเจอร์
ขดลวดอาร์เมเจอร์จะประกอบด้วยชุดขดลวด แต่ละขดจะพันอยูใ่ นร่ องสล็อทของ
แกนเหล็กอาร์เมเจอร์ โดยปกติแล้วขดลวดจะถูกพันขึ้นรู ปมีขนาดเท่ากับความกว้างของแกน
เหล็กอาร์เมเจอร์แล้วหุม้ ทับด้วยฉนวนมาก่อน หลังจากนั้นจึงนําไปบรรจุลงในร่ องสล็อท
เพราะจะทําให้ขดลวดแต่ละขดมีความยาวและมีน้ าํ หนักสมดุลไม่เกิดการแกว่งในขณะหมุน

2.2 จํานวนซี่ของอาร์ เมเจอร์


จํานวนซี่ ของอาร์เมเจอร์ที่อยูร่ ะหว่างขดลวดจะมีความสัมพันธ์โดยตรงกับจํานวน
ขั้วแม่เหล็กของเครื่ องกลไฟฟ้ าตัวนั้น
เหตุผลก็คอื แรงเคลือ่ นไฟฟ้ าเหนี่ยวนําจะเกิดขึน้ สู งทีส่ ุ ด ก็ต่อเมือ่ ระยะห่ าง
ระหว่ างด้ านข้ างของขดลวดแต่ ละขด มีขนาดเท่ ากับระยะห่ างระหว่ างขั้วแม่ เหล็กของเครื่อง
กลไฟฟ้ าตัวนั้น
9

เช่ น กรณี ขดลวด A ในรู ปที่ 9 เมื่อสมมติวา่ ระยะห่างระหว่างขั้วแม่เหล็กมีค่า


เท่ากับ 4 โดยในกรณี น้ ีขดลวดด้านหนึ่งจะอยูก่ ่ ึงกลางขั้วเหนือ ส่ วนอีกด้านหนึ่งจะอยู่
กึ่งกลางขั้วใต้ ดังนั้นแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นในขดลวดจะมีค่าสู งสุ ด การพัน
ขดลวดแบบนี้เรี ยกว่าเป็ น การพันแบบเต็มระยะพิตช์ (Full pitch) แต่ขอ้ เสี ยของการพัน
ขดลวดแบบนี้คือ จะทําให้สิ้นเปลืองลวดตัวนํา
แต่ถา้ ระยะห่างระหว่างด้านข้างของขดลวดน้อยกว่าระยะขั้วแม่เหล็กดังขดลวด B
ในรู ปที่ 9 เรี ยกการพันแบบนี้วา่ การพันแบบพิตช์ ส้ั น (Short pitch) การพันแบบนี้จะทํา
ให้เกิดความต่างเฟสของแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นในขดลวดทั้งสองด้านของขดลวด
เดียวกัน ดังนั้นผลรวมของแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําของขดลวดจึงมีค่าน้อยกว่าการพัน
ขดลวดแบบเต็มระยะพิตช์ แต่ ส่วนใหญ่ จะนิยมพันเป็ นแบบไม่ เต็มระยะพิตช์ หรือพิตช์ ส้ั น
เพราะว่ าประหยัดขดลวดทีต่ ่ อระหว่ างด้ านทั้งสองของตัวนํา

รู ปที่ 9 การพันขดลวดแบบเต็มระยะพิตช์ (ขดลวด A) และพิตช์ส้ นั (ขดลวด B)

2.3 ลิม่
ลิ่ม ทํามาจากวัสดุประเภทฉนวนไฟฟ้ า ซึ่ งจะถูกยัดลงไปในร่ องสล็อทเหนือ
ขดลวดอาร์เมเจอร์ เพื่ออัดไม่ให้ขดลวดกระเด็นหลุดออกมา เนื่องจากแรงเหวีย่ งหนีศูนย์
กลางในขณะที่แกนเหล็กอาร์เมเจอร์หมุน
10

2.4 การต่ อและการพันขดลวดอาร์ เมเจอร์


วิธีการต่อขดลวดเข้ากับคอมมิวเตเตอร์จะบอกถึงชนิดการพันขดลวด ลักษณะ
คุณสมบัติของแรงเคลื่อนและกระแสไฟฟ้ า สําหรับในทางปฏิบตั ิ การต่อหรื อการพันขดลวด
จะแบ่งออกเป็ น 2 วิธีใหญ่ ๆ คือ การพันแบบแลป และการพันแบบเวฟ

2.4.1 การพันขดลวดอาร์ เมเจอร์ แบบแลป (Lap winding)


แบ่งออกเป็ น 3 ชนิด คือ การพันขดลวดแบบแลปชนิดซิมเพล็กซ์ (Simplex
lap winding) การพันขดลวดแบบแลปชนิดดูเพล็กซ์ (Duplex lap winding) และการพัน
ขดลวดแบบแลปชนิดทริ พเพล็กซ์ (Triplex lap winding)

2.4.1.1 การพันขดลวดแบบแลปชนิดซิมเพล็กซ์ (Simplex lap winding)

รู ปที่ 10 การพันขดลวดแบบแลปชนิดซิ มเพล็กซ์

การพันขดลวดแบบแลปชนิดซิมเพล็กซ์น้ ีจะมีจาํ นวนทางผ่านขดลวดในอาร์เมเจอร์


หรื อวงจรขนานในอาร์ เมเจอร์ (a) เท่ากับจํานวนขั้วแม่เหล็ก ( P)
11

รู ปที่ 11 กระแสไฟฟ้ าที่ไหลในแต่ละส่ วนของการพันขดลวดแบบแลปชนิดซิ มเพล็กซ์

2.4.1.2 การพันขดลวดแบบแลปชนิดดูเพล็กซ์ (Duplex lap winding)


การพันขดลวดแบบแลปชนิดดูเพล็กซ์น้ ีจะมีจาํ นวนทางผ่านขดลวด
ในอาร์เมเจอร์ (a) เท่ากับ 2 เท่าของจํานวนขั้วแม่เหล็ก ( P)

รู ปที่ 12 การพันขดลวดแบบแลปชนิดดูเพล็กซ์
12

2.4.1.3 การพันขดลวดแบบแลปชนิดทริพเพล็กซ์ (Triplex lap winding)


การพันขดลวดแบบแลปชนิดทริ พเพล็กซ์น้ ีจะมีจาํ นวนทางผ่าน
ขดลวดในอาร์เมเจอร์ (a) เท่ากับ 3 เท่าของจํานวนขั้วแม่เหล็ก ( P)

รู ปที่ 13 การพันขดลวดแบบแลปชนิดทริ พเพล็กซ์

2.4.2 การพันขดลวดอาร์ เมเจอร์ แบบเวฟ (Wave winding)


แบ่งออกเป็ น 3 ชนิด คือ การพันขดลวดแบบเวฟชนิดซิมเพล็กซ์ (Simplex
wave winding) การพันขดลวดแบบเวฟชนิดดูเพล็กซ์ (Duplex wave winding) และการพัน
ขดลวดแบบเวฟชนิดทริ พเพล็กซ์ (Triplex wave winding)

2.4.2.1 การพันขดลวดแบบเวฟชนิดซิมเพล็กซ์ (Simplex wave winding)

รู ปที่ 14 การพันขดลวดแบบเวฟชนิดซิ มเพล็กซ์


13

การพันขดลวดแบบเวฟชนิดซิ มเพล็กซ์น้ ีจะมีจาํ นวนทางผ่านขดลวดในอาร์เมเจอร์


(a ) เท่ากับ 2

รู ปที่ 1.17 กระแสไฟฟ้ าที่ไหลในแต่ละส่ วนของการพันขดลวดแบบเวฟชนิดซิ มเพล็กซ์

2.4.2.2 การพันขดลวดแบบเวฟชนิดดูเพล็กซ์ (Duplex wave winding)


การพันขดลวดแบบเวฟชนิดดูเพล็กซ์น้ ีจะมีจาํ นวนทางผ่านขดลวด
ในอาร์เมเจอร์ (a) เท่ากับ 4

2.4.2.3 การพันขดลวดแบบเวฟชนิดทริพเพล็กซ์ (Triplex wave winding)


การพันขดลวดแบบเวฟชนิดทริ พเพล็กซ์น้ ีจะมีจาํ นวนทางผ่าน
ขดลวดในอาร์เมเจอร์ (a) เท่ากับ 6
14

ความแตกต่ างระหว่ างการพันขดลวดอาร์ เมเจอร์ แบบแลปและแบบเวฟ


การพันขดลวดอาร์ เมเจอร์ แบบเวฟ จะให้ แรงเคลือ่ นไฟฟ้ าเหนี่ยวนําทีม่ ากกว่ าการพัน
แบบแลป เมือ่ มีจํานวนตัวนําและจํานวนขั้วแม่ เหล็กเท่ า ๆ กัน แต่ถา้ ต้องการให้ได้
แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่เท่า ๆ กันแล้ว การพันแบบแลปจะต้องพันจํานวนตัวนําที่มาก
กว่าการพันแบบเวฟ ซึ่ งจะทําให้สิ้นเปลืองลวดตัวนํามากกว่าด้วย ดังนั้นในการพันขดลวด
อาร์เมเจอร์ แบบเวฟ จึงเหมาะสําหรับเครื่ องกลไฟฟ้ าที่ตอ้ งการแรงดันไฟฟ้ าสูง ๆ
แต่ ถ้าต้ องการกระแสสู ง ก็ต้องพันขดลวดอาร์ เมเจอร์ แบบแลป เพราะการพันแบบ
แลปนั้น มีจาํ นวนทางผ่านของกระแสที่ขนานกันมากกว่าแบบเวฟ จึงเหมาะสําหรับเครื่ อง
กําเนิดไฟฟ้ าที่ตอ้ งการแรงดันไฟฟ้ าตํ่า

ดังนั้น จึงสามารถหาจํานวนทางผ่ านของขดลวดในอาร์ เมเจอร์ ได้ ดงั ต่ อไปนี้


การพันขดลวดอาร์ เมเจอร์ แบบแลป
a  mP

เมือ่ a  จํานวนทางผ่านขดลวดในอาร์เมเจอร์
m  จํานวนชุดขดลวดของการพัน
เท่ากับ 1 เมื่อพันขดลวดชนิดซิ มเพล็กซ์
เท่ากับ 2 เมื่อพันขดลวดชนิดดูเพล็กซ์
เท่ากับ 3 เมื่อพันขดลวดชนิดทริ พเพล็กซ์
P  จํานวนขั้วแม่เหล็ก

การพันขดลวดอาร์ เมเจอร์ แบบเวฟ


a  2m
15

3. แรงเคลือ่ นไฟฟ้าเหนี่ยวนําในเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง
แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นที่ขดลวดตัวนําแต่ละขดมีค่าเท่ากับ

eind  vBl Volts

เมือ่ v = ความเร็ ว, m / s
B = ความหนาแน่นเส้นแรงแม่เหล็ก, Wb / m 2
l = ความยาวของตัวนํา, m

ดังนั้น จึงสามารถหาค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นที่อาร์เมเจอร์ได้ คือ

ZvBl
Ea  Volts
a

เมือ่ ค่าความเร็ วของตัวนําในโรเตอร์มีค่าเท่ากับ v  r

ดังนั้น จะได้
Zr Bl
Ea  Volts
a

เมือ่ Z = จํานวนตัวนําทั้งหมดในอาร์เมเจอร์
r = รัศมีของแกน
 = ความเร็ วเชิงมุม, rad / s
a = จํานวนวงจรขนานในอาร์เมเจอร์
Simplex Lap  aP Simplex Wave  a2
เมือ่ Duplex Lap  a  2P Duplex Wave  a4
Triplex Lap  a  3P Triplex Wave  a6
16

B(2 rl )
จากสมการเส้ นแรงแม่ เหล็กต่ อขั้ว (Flux per pole)   BAp 
P

ดังนั้น จะได้ สมการแรงเคลือ่ นไฟฟ้ าเหนี่ยวนําทีเ่ กิดขึน้ ทีอ่ าร์ เมเจอร์ ในเครื่องกลไฟฟ้ า
กระแสตรง คือ
Zr Bl
Ea 
a
 ZP  2 rlB 
    Volts
 2 a  P 
ZP
 
2 a

เมือ่ P = จํานวนขั้วแม่เหล็ก
 = จํานวนเส้นแรงแม่เหล็กต่อขั้วแม่เหล็ก, เวเบอร์

และจากสมการแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่ได้ จะเห็นว่า Z, P, a นั้น เป็ นค่าคงที่ใน


เครื่ องกลแต่ละตัว ดังนั้นจึงสามารถเขียนใหม่ได้ดงั นี้

Ea  K   Volts

 ZP 
เมือ่ K = ค่าคงที่ในเครื่ องกลไฟฟ้ า K  
 2 a 
17

และจากสมการ Ea 
ZP
 สามารถเขียนสมการแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําได้ คือ
2 a

 ZPn
Ea  Volts
60 a

 2 n 
เมือ่  = ความเร็ วเชิงมุม, rad / s   
 60 
n = ความเร็ วรอบของโรเตอร์, รอบ/นาที ( rpm. )

เมื่อ Z, P, a เป็ นค่าคงที่ในเครื่ องกลแต่ละตัว ดังนั้นจึงสามารถเขียนใหม่ได้ดงั นี้

Ea  K   n Volts

  ZP 
เมือ่ K = ค่าคงที่ในเครื่ องกลไฟฟ้ า K  
 60a 

ดังนั้น แรงเคลือ่ นไฟฟ้ าเหนี่ยวนําทีเ่ กิดขึน้ ในเครื่องกลไฟฟ้ ากระแสตรงนั้น จึงขึน้ อยู่


กับตัวแปรดังต่ อไปนี้
1. ค่ าคงทีข่ องเครื่องกลไฟฟ้ า, K
2. เส้ นแรงแม่ เหล็กทีเ่ กิดขึน้ ในเครื่องกลไฟฟ้ า, 
3. ความเร็วรอบ, 
18

Example 8-3 page 517 A duplex lap-wound armature is used in a six-pole dc


machine with six brush sets, each spanning two commutator segments. There are 72 coil
on the armature, each containing 12 turns. The flux per pole in the machine is 0.039 Wb,
and the machine spins at 400 r/min.
(a) How many current paths are there in this machine?
(b) What is its induced voltage, Ea
Solution
(a) The number of current paths in this machine is

a  mP  2(6)  12 current paths

ZP
(b) The induced voltage in the machine is Ea  K ' n and K ' 
60a
The number of conductor in this machine is
Z  2CN C
 2(72)(12)  1728 conductors

Therefore, the constant K ' is


ZP (1728)(6)
K'    14.4
60a (60)(12)

and the induced voltage Ea is


Ea  K ' n
 (14.4)(0.039)(400)
 224.6 V Ans
19

4. แรงบิดในเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง (Induced torque of dc machines)


แรงบิดที่เกิดขึ้นที่ขดลวดตัวนําแต่ละขดมีค่าเท่ากับ
BI a lr Ia
 cond  F  r  BI cond l  r  ; I cond 
a a

F B

ดังนั้น จึงสามารถหาค่าแรงบิดที่เกิดขึ้นที่อาร์เมเจอร์ได้ คือ

ZrlBI a
 ind 
a

เมือ่ Z = จํานวนตัวนําทั้งหมดในอาร์เมเจอร์
r = รัสมีของแกน
l = ความยาวของตัวนํา, m
B = ความหนาแน่นเส้นแรงแม่เหล็ก, Wb / m2
Ia = กระแสอาร์เมเจอร์
a = จํานวนวงจรขนานในอาร์เมเจอร์
20

B(2 rl )
จากสมการเส้ นแรงแม่ เหล็กต่ อขั้ว (Flux per pole)   BAp 
P

ดังนั้น จะได้ สมการแรงบิดทีเ่ กิดขึน้ ทีอ่ าร์ เมเจอร์ ในเครื่องกลไฟฟ้ ากระแสตรง คือ

ZrlBI a
 ind 
a
 ZP   2 rlB 
    Ia
 2 a   P 
ZP
  Ia
2 a

และจากสมการแรงบิดที่ได้ จะพบว่า Z, P, a นั้น เป็ นค่าคงที่ในเครื่ องกลแต่ละตัว


เช่นกัน ดังนั้นจึงสามารถเขียนใหม่ได้ดงั นี้

 ind  K I a Volts

 ZP 
เมือ่ K = ค่าคงที่ในเครื่ องกลไฟฟ้ า K  
 2 a 

ดังนั้น แรงบิดทีเ่ กิดขึน้ ในเครื่องกลไฟฟ้ ากระแสตรง จึงขึน้ อยู่กบั ตัวแปรดังต่ อไปนี้


1. ค่ าคงทีข่ องเครื่องกลไฟฟ้ า, K
2. เส้ นแรงแม่ เหล็กทีเ่ กิดขึน้ ในเครื่องกลไฟฟ้ า, 
3. กระแสอาร์ เมเจอร์ , I a
21

ความสั มพันธ์ ระหว่ างแรงบิดกับกําลังไฟฟ้าทีเ่ กิดขึน้ ในเครื่องกลไฟฟ้ ากระแสตรง

จากสมการแรงบิดที่เกิดขึ้น  cond  F  r N m

จากสมการงานทีท่ าํ ได้ ใน 1 รอบ = แรง x ระยะทาง


 F  2 r Joule
และ
F 2 r  n
กําลังไฟฟ้ าทีเ่ กิดขึน้ , Power  Joule / sec
60

เมือ่ n = ความเร็ วรอบของโรเตอร์, รอบ/นาที ( rpm. )


 2 n 
 = ความเร็ วเชิงมุม, rad / s    
 60 

ดังนั้น จะได้
Fr  2 n
Power 
60
 Fr  
   Joule / sec or Watt
แต่  ind  K  I a

จะได้
Power   
 K I a    Ea  K 
 Ea I a

ดังนั้น กําลังทางกลทีเ่ กิดขึน้ ในอาร์ เมเจอร์ จึงมีค่าเท่ ากับกําลังทางไฟฟ้ า ( Ea I a )


22

ดังนั้น จึงสามารถหาค่ าแรงบิดทีเ่ กิดขึน้ จากกําลังทางไฟฟ้ าได้ คือ

กําลังทางกล = กําลังทางไฟฟ้ า
    Ea I a
2 n
  Ea I a
60
60 Ea I a
 
2 n
9.55Ea I a
 N m
n
23
24

5. การสู ญเสี ยและประสิ ทธิภาพในเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง


(Losses and efficiency in dc machines)
5.1 การสู ญเสี ยในเครื่องกลไฟฟ้ ากระแสตรง ประกอบด้วย
1. การสู ญเสียในลวดทองแดง (Copper losses)
1.1 การสู ญเสี ยในขดลวดอาร์ เมเจอร์ ( I a2 Ra )
การสู ญเสี ยชนิดนี้มีค่าประมาณ 30-40% ของการสู ญเสี ยขณะมีโหลดเต็มพิกดั
1.2 การสู ญเสี ยในขดลวดสนามแม่ เหล็ก
1.2.1 กรณี เครื่ องกลไฟฟ้ าแบบอนุกรม ( I se2 Rse )
1.2.2 กรณี เครื่ องกลไฟฟ้ าแบบขนาน ( I sh2 Rsh )
การสู ญเสี ยชนิดนี้มีค่าประมาณ 20-30% ของการสู ญเสี ยขณะมีโหลดเต็มพิกดั

2. การสู ญเสียในแกนเหล็ก (Iron losses or core losses)


การสู ญเสี ยในแกนเหล็ก มีค่าประมาณ 20-30% ของการสู ญเสี ยขณะมีโหลดเต็ม
พิกดั ซึ่ งประกอบด้วย
2.1 การสู ญเสี ยเนื่องจากฮีสเตอรีซีส (Hysteresis losses)
การสู ญเสี ยเนื่องจากฮีสเตอรี ซีส เกิดขึ้นเนื่องจากการกลับไปกลับมาของเส้น
แรงแม่เหล็กที่เกิดขึ้นที่แกนเหล็กอาร์เมเจอร์ในทุก ๆ ครั้งที่อาร์เมเจอร์หมุนตัดกับขั้วเหนือ
และขั้วใต้
ซึ่ งค่าความถี่ของการกลับทิศทางของเส้นแรงแม่เหล็กสามารถหาได้จาก
Pn
f 
120

ถ้าให้ P เป็ นจํานวนขั้วแม่เหล็ก


n เป็ นความเร็ วรอบของแกนอาร์เมเจอร์
25

การสู ญเสี ยนี้จะขึ้นอยูก่ บั ชนิดของแกนเหล็ก ปริ มาตร ความหนาแน่นเส้นแรง


แม่เหล็ก และความถี่ของการกลับทิศทางของเส้นแรงแม่เหล็ก สําหรับความหนาแน่นของ
เส้นแรงแม่เหล็กปกติมีค่าประมาณ 1.5 Wb / m ดังนั้น จึงสามารถหาค่าการสูญเสี ยเนื่องจาก
2

ฮีสเตอรี ซีส (กําหนดให้โดย Steinmetz) ได้จากสมการ

Wh   Bmax
1.6
fV Watt

เมื่อ f คือ ความถี่ของการกลับทิศทางของเส้นแรงแม่เหล็ก


V คือ ปริ มาตรของแกนเหล็ก
 คือ สัมประสิ ทธิ์ ของฮีสเตอรี ซีส (ควรเลือกค่าตํ่า ๆ)
- เครื่ องกลไฟฟ้ าที่ใช้เหล็กอย่างดี   502 J / m2

- เหล็กซิลิกอน   191 J / m 2

2.2 การสู ญเสี ยเนื่องจากกระแสไหลวน (Eddy current losses)


การสู ญเสี ยเนื่องจากกระแสไหลวนเกิดขึ้นเนื่องจากการหมุนของแกนเหล็ก
อาร์เมเจอร์ที่ไป ตัดกับเส้นแรงแม่เหล็ก จึงทําให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําขึ้นในตัว
แกนเหล็กอาร์เมเจอร์ ถึงแม้วา่ แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นนี้จะมีค่าน้อย แต่มนั จะทํา
ให้เกิดกระแสจํานวนมากไหลในแกนเหล็กอาร์เมเจอร์ ซึ่ งเรี ยกว่า กระแสไหลวน จึงทําให้
เกิดการสู ญเสี ยขึ้น และการสูญเสี ยนี้จะยิง่ มากถ้าใช้แกนเหล็กที่เป็ นแท่งเหล็กตัน สําหรับใน
การลดการสู ญเสี ยนี้สามารถทําได้ โดยการใช้แผ่นเหล็กบาง ๆ ที่อาบฉนวนอัดซ้อนกันเป็ น
รู ปทรงกระบอก
26

สําหรับ การสูญเสี ยเนื่องจากกระแสไหลวนนั้น สามารถหาได้จากความ


สัมพันธ์ ดังนี้
We  KBmax
2
f 2t 2V Watt

เมื่อ K คือ สัมประสิ ทธิ์ การสู ญเสี ยเนื่องจากกระแสไหลวน


f คือ ความถี่ของการกลับทิศทางของเส้นแรงแม่เหล็ก
t คือ ความหนาของแผ่นเหล็กแต่ละแผ่น
V คือ ปริ มาตรของแกนเหล็ก

3. การสู ญเสี ยทางกล (Mechanical losses)


การสู ญเสี ยทางกล มีค่าประมาณ 10-20% ของการสู ญเสี ยขณะมีโหลดเต็มพิกดั ซึ่ ง
ประกอบด้วย
3.1 การสูญเสี ยเนื่องจากแรงเสี ยดทานที่แบริ่ งและคอมมิวเตเตอร์
3.2 การสู ญเสี ยเนื่องจากแรงเสี ยดทานของอากาศ หรื อแรงลม

4. การสู ญเสี ยทีแ่ ปรงถ่ าน (Brush losses)  PBD  VBD I a


เป็ นการสูญเสี ยที่เกิดขึ้นที่บริ เวณหน้าสัมผัสของแปรงถ่าน มีค่าประมาณ 2 โวลท์

5.2 ประสิ ทธิภาพของเครื่องกลไฟฟ้ ากระแสตรง (Efficiency,  )


ประสิ ทธิ ภาพของเครื่ องกลไฟฟ้ ากระแสตรง คือ อัตราส่ วนของกําลังไฟฟ้ าที่เครื่ อง
กําเนิดไฟฟ้ าจ่ายออกหรื อกําลังเอาต์พตุ ต่อกําลังไฟฟ้ าที่เครื่ องกลไฟฟ้ าได้รับหรื อกําลัง
อินพุต นัน่ คือ
Efficiency,  
Power output
Power input
 100%

Pout
  100%
Pout  Ploss
27

5.3 The Power-Flow Diagram


28

ปฏิกริ ิยาอาร์ เมเจอร์ ในเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง


(Armature reaction in dc machines)
คือ ผลที่เกิดจากเส้นแรงแม่เหล็ก อันเนื่องมาจากกระแสไฟฟ้ าที่ไหลในขดลวดอาร์
เมเจอร์ และทําให้เกิดปฏิกิริยากับเส้นแรงแม่เหล็กหลักหรื อสนามแม่เหล็กหลัก ทําให้เส้น
แรงแม่เหล็กลัพธ์ (Resultant Flux) เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมและสนามแม่เหล็กหลักลดลง มี
ผลทําให้แนวแกนศูนย์สนามแม่เหล็ก (Magnetic neutral axis) เปลี่ยนไปด้วย จึงทําให้เกิด
การอาร์คขึ้นที่คอมมิวเตเตอร์และทําให้แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนํา Ea ลดลงไปด้วย
29
30

คอมมิวเตชั่นในเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง
(Commutation in dc machines)
คือ การที่ขดลวดอาร์เมเจอร์ขดหนึ่งได้มีการกลับทิศทางการไหลของกระแส ในขณะที่
ผ่านแนวแกนศูนย์สนามแม่เหล็ก (Magnetic neutral axis) ซึ่ งทําให้เกิดการลัดวงจรผ่านช่วง
ความกว้างของแปรงถ่านที่อยูบ่ นคอมมิวเตเตอร์น้ นั ๆ
31

การแก้ผลของปฏิกริ ิยาอาร์ เมเจอร์ และคอมมิวเตชั่น


1. การเลือ่ นตําแหน่ งของแปรงถ่ าน เป็ นการทําให้ตาํ แหน่งของแปรงถ่านเปลี่ยนไป
ตามแนวแกนศูนย์สนามแม่เหล็ก (Magnetic neutral axis) หรื อทิศทางการหมุน เพราะ
ตําแหน่งของแปรงถ่านจะต้องไม่มีการเหนี่ยวนําแรงเคลื่อนไฟฟ้ าขึ้นในตัวนํา (เป็ นกลาง) แต่
จะใช้ได้เฉพาะกับโหลดที่คงที่เท่านั้น

2. ขดลวดชดเชย (Compensating winding) การพันขดลวดชนิดนี้ ทําได้โดยการ


ฝังตัวนําลงไปหน้าขั้วแม่เหล็กหลัก ซึ่ งต่ออนุกรมอยูก่ บั ขดลวดอาร์เมเจอร์ และวางตัวขนาน
ไปกับขดลวดอาร์เมเจอร์ และมีทิศทางการไหลของกระแสตรงข้ามกับกระแสอาร์เมเจอร์
เพื่อให้ขดลวดดังกล่าวสร้างสนามแม่เหล็กขึ้นมาลดผลของสนามแม่ เหล็กตั้งขวาง (Cross
magnetizing) อันเนื่องมาจากขดลวดอาร์เมเจอร์ ส่ วนใหญ่จะใช้กบั เครื่ องกลไฟฟ้ าขนาด
ใหญ่ ๆ ที่มีโหลดเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
32

3. ขดลวดอินเตอร์ โพล (Interpole winding)


3.1 ทําให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําขึ้น เพื่อลดผลของ Reactance voltage
อันเนื่องมาจากการเหนี่ยวนําแรงเคลื่อนในตัวเอง (Self-induced e.m.f.) ของตัวนําให้หมดไป
และจะทําให้กระแสที่ไหลกลับเพิ่มขึ้น ในขณะที่เกิดคอมมิวเตชัน่ จึงทําให้ การเกิดประกาย
ไฟหมดไป โดยไม่ตอ้ งเลื่อนแปรงถ่าน
3.2 ลดผลของสนามแม่ เหล็กตั้งขวาง (Cross magnetizing) ที่เกิดจากขดลวด
อาร์เมเจอร์
เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง
เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง (DC. Generator) เป็ นเครื่ องกลไฟฟ้ าที่ทาํ หน้าที่
เปลี่ยนพลังงานกลให้เป็ นพลังงานไฟฟ้ า โดยอาศัยการเหนี่ยวนําจากเส้นแรงแม่เหล็ก

1. หลักการเบือ้ งต้ นของเครื่องกําเนิดไฟฟ้า (Generator Principle)


โดยการทําให้ตวั นําเคลื่อนที่ตดั ผ่านสนามแม่เหล็กที่หยุดนิ่งอยูก่ บั ที่ ที่มีความเข้มคงที่
ค่าหนึ่งด้วยอัตราความเร็ วจํานวนหนึ่ง นัน่ ก็คือ เกิดอัตราการเปลี่ยนแปลงของเส้นแรง
d
แม่เหล็กต่อหนึ่งหน่วยเวลาขึ้น ดังนั้น จึงทําให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําขึ้น eN
dt
ซึ่ งเป็ นไปตามกฎการเหนี่ยวนําไฟฟ้ าของฟาราเดย์ โดยพิจารณาจากรู ปที่ 1

รู ปที่ 1 การเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําในขดลวดตัวนํา


29

จากรู ปที่ 1 สมมติวา่ ตัวนําหมุนตามเข็มนาฬิกา และแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่


เกิดขึ้นนั้น จะเป็ นสัดส่ วนกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของเส้นแรงแม่เหล็กต่อหนึ่งหน่วยเวลา
( e  N d ) เมื่อขดลวดตัวนําหมุนครบ 1 รอบ ขดลวดตัวนําจะอยูใ่ นลักษณะตั้งฉากกับเส้น
dt
แรงแม่เหล็กหรื อตัวนําวิง่ ขนานกับเส้นแรงแม่เหล็ก จึงไม่เกิดการตัดกันระหว่างตัวนํากับ
เส้นแรงแม่เหล็กทั้ง ๆ ที่ตาํ แหน่งนี้เป็ นตําแหน่งที่มีเส้นแรงแม่เหล็กมาคล้องตัวนํามากที่สุด
แต่อตั ราการเปลี่ยนแปลงของเส้นแรงแม่เหล็กต่อหนึ่งหน่วยเวลา ( e  N d ) มีค่าตํ่าสุ ดหรื อ
dt
แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนํามีค่าเท่ากับศูนย์ ดังนั้น จึงกําหนดให้ตาํ แหน่งนี้เป็ นจุดเริ่ มต้นใน
การหมุนของขดลวดตัวนํา ( 0,360 ) ซึ่ งในลักษณะนี้จะเกิดขึ้น 2 ครั้ง คือ ตําแหน่ง 0 องศา
และ 180 องศา ในแต่ละรอบของการหมุน

เมื่อขดลวดตัวนําหมุนได้ 1/4 รอบ ตําแหน่งนี้ระนาบของขดลวดตัวนําจะขนานกับ


เส้นแรงแม่เหล็กจึงทําให้เกิดการตัดกันระหว่างตัวนํากับเส้นแรงแม่เหล็กมากที่สุด และ
ตําแหน่งนี้เป็ นตําแหน่งที่มีเส้นแรงแม่เหล็กมาคล้องตัวนําน้อยที่สุด แต่อตั ราการเปลี่ยนแปลง
ของเส้นแรงแม่เหล็กต่อหนึ่งหน่วยเวลา ( e  N d ) จะมีค่าสูงสุ ดหรื อเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ า
dt
เหนี่ยวนําในขดลวดมีค่าสู งสุ ดนัน่ เอง ซึ่ งในลักษณะนี้จะเกิดขึ้น 2 ครั้ง เช่นกันคือ ตําแหน่ง
90 องศา และ 270 องศา ในแต่ละรอบของการหมุน
30

2. การทํางานของเครื่องกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
จากหลักการเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําในขดลวดตัวนําในหัวข้อ 1 นั้นเป็ นการ
กําเนิดไฟฟ้ ากระแสสลับที่มีรูปคลื่นเป็ นซายน์ (Sin wave) แต่ถา้ ต้องการไฟฟ้ ากระแสตรง
สามารถทําได้โดยใช้ปลอกทองเหลือง 1 วง ผ่าซีกแบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน ปลายของขดลวด
ตัวนําทั้งสองจะถูกต่อเข้ากับภายในของวงแหวนผ่าซี กทั้งสองนั้นสลับกันไปมาตลอดเวลาที่
มีการหมุนของตัวนํา ดังแสดงในรู ปที่ 2

รู ปที่ 2 การเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ ากระแสตรง


31

โดยมีคอมมิวเตเตอร์และแปรงถ่าน ทําหน้าที่เป็ นสะพานไฟต่อกระแสไฟฟ้ าออกไปยัง


วงจรภายนอก และคอมมิวเตเตอร์ ยงั ทําหน้าที่เปลี่ยนไฟฟ้ ากระแสสลับที่เกิดขึ้นในขดลวดให้
เป็ นไฟฟ้ ากระแสตรง เพื่อต่อออกไปยังวงจรภายนอกอีกด้วย
จากรู ปที่ 2 จะเห็นว่าแปรงถ่านทางด้านซ้ายมือถูกต่อเข้ากับขดลวดด้านที่กาํ ลังหมุน
ลงด้านล่างตลอดเวลา ซึ่ งทําให้แปรงถ่านอันนี้มีศกั ย์เป็ นบวกเสมอ สามารถพิสูจน์ได้โดยใช้
กฎมือขวา ในทํานองเดียวกัน แปรงถ่านด้านขวามือถูกต่อเข้ากับขดลวดด้านที่กาํ ลังหมุนขึ้น
ด้านบนตลอดเวลา จึงทําให้มีศกั ย์เป็ นลบเสมอเช่นกัน ดังนั้นจึงกล่าวได้วา่ ทั้งคอมมิวเตเตอร์
และแปรงถ่านทําหน้าที่เปลี่ยนไฟฟ้ ากระแสสลับมาเป็ นไฟฟ้ ากระแสตรง
และถ้าใช้คาปาซิ เตอร์ เป็ นตัวกรองแรงเคลื่อนไฟฟ้ า (Filter) โดยต่อคร่ อมเข้ากับ
แปรงถ่านจะทําให้ได้แรงเคลื่อนไฟฟ้ าที่มีขนาดใกล้เคียงกับระดับแรงเคลื่อนไฟฟ้ าสู งสุ ด และ
มีลกั ษณะเรี ยบขึ้น แต่ถา้ ใช้ขดลวด (Choke) เป็ นตัวกรอง จะได้แรงเคลื่อนไฟฟ้ าประมาณ
ค่าเฉลี่ยของแรงเคลื่อนนี้ข้ ึนลง ในกรณี ที่ไม่ใช้ตวั กรองจะถือว่าแรงเคลื่อนไฟฟ้ ามีค่าเท่ากับ
ค่าเฉลี่ย (Average value) และจะเห็นได้วา่ เมื่อใช้ตวั กรองแรงเคลื่อนไฟฟ้ าที่ออกจากเครื่ อง
กําเนิดที่มีขดลวดเดี่ยวจะเป็ นไฟฟ้ ากระแสตรงที่ข้ ึนลง ซึ่ งจะเพิ่มขึ้นถึงค่าสู งสุ ดและลดตํ่าลง
ถึงศูนย์สองครั้งในหนึ่งรอบของการหมุน การเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ าขึ้นลงนี้เรี ยกว่า แรงเคลื่อน
กระเพื่อม (Ripple) แรงดันกระเพื่อมขึ้นลงนี้ไม่เหมาะสมกับการใช้งานในหลายกรณี ดว้ ยกัน
การเปลี่ยนแปลงระดับแรงเคลื่อนไฟฟ้ าหรื อการกระเพื่อมสามารถที่จะลดให้นอ้ ยลงได้ โดย
ใช้ขดลวดสองชุดวางในตําแหน่งตั้งฉากซึ่ งกันและกัน ปลายของขดลวดแต่ละชุดต่อเข้ากับ
แต่ละซี่ ของคอมมิวเตเตอร์ที่แยกจากกัน ซึ่ งจะทําให้มีคอมมิวเตเตอร์ท้ งั หมด 4 ซี่ สําหรับ
แปรงถ่านยังคงมี 2 อัน และวางในตําแหน่งเดิม ซึ่ งเมื่อขดลวดและคอมมิวเตเตอร์หมุนแปรง
ถ่านจะสัมผัสกับคอมมิวเตเตอร์แต่ละซี่ ซ่ ึ งต่ออยูก่ บั แต่ละชุดของขดลวดสลับกันไป ดังแสดง
ในรู ปที่ 3
32

รู ปที่ 3 การเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ ากระแสตรง เมื่อใช้ขดลวด 2 ชุด

ขดลวดแต่ละชุด แปรงถ่าน และคอมมิวเตเตอร์จะทําหน้าที่เช่นเดียวกันกับในเครื่ อง


กําเนิดไฟฟ้ าชนิดขดลวดเดี่ยว นัน่ คือแปรงถ่านอันหนึ่งจะต่อเข้ากับปลายอีกด้านหนึ่งของ
ขดลวดซึ่ งมีศกั ย์เป็ นลบตลอดเวลาเช่นกัน ลักษณะเช่นนี้เป็ นการเปลี่ยนแรงเคลื่อนไฟฟ้ า
เหนี่ยวนํากระแสสลับให้เป็ นไฟฟ้ ากระแสตรงที่ข้ ึนลง
จากรู ปที่ 3 แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นในขดลวดแต่ละชุดมีขนาดเท่ากัน แต่
ต่างเฟสกัน 90 องศา เมื่อขดลวดหมุนถึงตําแหน่งที่แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนํามีค่าเท่ากับ
0.707 ของค่าสูงสุ ด แปรงถ่านจะเปลี่ยนซี่ คอมมิวเตเตอร์ จากซี่ ซ่ ึ งต่อกับขดลวดที่แรงเคลื่อน
ไฟฟ้ ากําลังลดลงไปยังซี่ ซ่ ึ งต่อกับขดลวดที่ค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้ ากําลังเพิ่มขึ้น ขดลวดชุดหนึ่ง
จะหมุนตามหลังขดลวดอีกชุดหนึ่ง 90 องศา ตลอดเวลา ดังนั้นเมื่อแรงเคลื่อนไฟฟ้ าใน
ขดลวดชุดหนึ่งกําลังลดลง แรงเคลื่อนไฟฟ้ าในขดลวดอีกชุดหนึ่งจะกําลังเพิ่มขึ้นเสมอ
33

ตําแหน่งของแปรงถ่านซึ่ งสัมผัสกับคอมมิวเตเตอร์ที่กาํ ลังหมุนจะสัมผัสกับซี่ของคอมมิวเต


เตอร์ซ่ ึ งกําลังเกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ าสู งสุ ดตลอดเวลาเช่นกัน ในขณะที่แรงเคลื่อนไฟฟ้ าใน
ขดลวดอีกชุดหนึ่งกําลังลดตํ่าลงกว่าขดลวดอีกชุดหนึ่ง แปรงถ่านจะเปลี่ยนตําแหน่งจากซี่
คอมมิวเตเตอร์ที่ต่อกับขดลวดชุดที่แรงเคลื่อนไฟฟ้ ากําลังลดลงไปยังอีกซี่ ของคอมมิวเตเตอร์
ที่ต่อกับขดลวดชุดที่แรงเคลื่อนไฟฟ้ ากําลังเพิม่ ขึ้น ลักษณะการเปลี่ยนแปลงนี้จะเกิดขึ้น 4
ครั้งในหนึ่งรอบของการหมุน ด้วยเหตุน้ ีจะทําให้แรงเคลื่อนไฟฟ้ าที่เกิดขึ้นระหว่างแปรง
ถ่านไม่ลดตํ่าลงกว่า 0.707 ของแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําสู งสุ ดที่เกิดขึ้นในขดลวดแต่ละชุด
การใช้ขดลวดสองชุดแยกจากกันทําให้สามารถลดระดับการเปลี่ยนแปลงของแรงเคลื่อน
ไฟฟ้ ากระแสตรง แต่จะไม่มีผลกับค่าสูงสุ ดของการเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้น ดังนั้นค่าเฉลี่ยของ
แรงเคลื่อนไฟฟ้ าที่ได้จะสู งขึ้นตามไปด้วย ดังแสดงในรู ปที่ 4

รู ปที่ 4 แรงเคลื่อนไฟฟ้ ากระแสตรงเฉลี่ย เมื่อใช้ขดลวด 2 ชุด

ดังนั้น ถ้าเราพันขดลวดตัวนําเหมือนกับขดลวดอาร์เมเจอร์ แล้วให้ขดลวดตัวนํา


เคลื่อนที่ตดั กับเส้นแรงแม่เหล็ก ดังแสดงในรู ปที่ 5 จะทําให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนํา
ขึ้นในตัวนํานั้น แรงเคลื่อนไฟฟ้ าที่เกิดขึ้นนี้สามารถที่จะวัดได้โดยการต่อโวลต์มิเตอร์เข้าไป
34

ที่ข้ วั ทั้งสองของตัวนํานั้น แต่ถา้ ตัวนํานั้นมีหลาย ๆ อันมาต่ออนุกรมกันค่าของแรงเคลื่อน


ไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้น จะเท่ากับผลบวกของแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนํา ที่เกิดขึ้นในแต่ละ
ตัวนํา ค่าของแรงเคลื่อนไฟฟ้ านี้จะขึ้นอยูก่ บั ความเข้มของสนามแม่เหล็กและตัวนําที่เคลื่อน
ที่ตดั กับสนามแม่เหล็ก ถ้าความเข้มของสนามแม่เหล็กมากแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่เกิด
ขึ้นก็มากเช่นเดียวกัน และถ้าความเร็ วในการเคลื่อนที่ของขดลวดตัวนํามาก แรงเคลื่อน
ไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นก็จะมากด้วย

รู ปที่ 5 ขดลวดตัวนําในอาร์เมเจอร์หมุนตัดสนามแม่เหล็ก

ดังนั้น จึงสรุ ปได้วา่ แรงเคลือ่ นไฟฟ้ าทีเ่ กิดขึน้ ในตัวนําหนึ่ง ๆ นั้นเป็ นแรงเคลื่อน
ไฟฟ้ ากระแสสลับเสมอ ส่ วนด้ านออกนั้นจะเป็ นไฟฟ้ ากระแสสลับหรื อไฟฟ้ ากระแสตรงก็
ขึน้ อยู่กบั ตัวทีน่ ําไฟออกมาจากตัวนําเหล่ านั้น ถ้ าต้ องการไฟฟ้ ากระแสสลับก็ให้ ใช้ สลิปริง
แต่ ถ้าต้ องการไฟฟ้ ากระแสตรงก็ให้ ใช้ คอมมิวเตเตอร์ (ซี่ ทองแดงหลาย ๆ ซี่ ที่นาํ มาต่อกัน
เป็ นรู ปวงแหวนทองเหลืองทรงกระบอก โดยที่แต่ละซี่ ของคอมมิวเตเตอร์จะมีฉนวนเป็ นตัว
กั้น) และแปรงถ่านมาต่อเข้ากับตัวนําที่ตดั กับสนามแม่เหล็กเหล่านั้น
35

3. ทิศทางของแรงเคลือ่ นไฟฟ้าเหนี่ยวนํา
การหาทิศทางของแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่เกิดจากการเหนี่ยวนํานั้น สามารถหา
ได้โดยใช้กฎมือขวาของเฟลมมิง่ (Fleming’s right hand rule) ซึ่ งกล่าวไว้วา่ “นิ้วชี้แสดง
ทิศทางของเส้นแรงแม่เหล็ก นิ้วหัวแม่มือแสดงทิศทางของการเคลื่อนที่ของขดลวดตัวนําและ
นิ้วกลางแสดงทิศทางของแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นในขดลวดตัวนํา” ดังรู ปที่ 6

รู ปที่ 6 การใช้กฎมือขวาของเฟลมมิ่ง
36

4. แรงเคลือ่ นไฟฟ้าเหนี่ยวนําในเครื่องกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
สมการแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่ได้ คือ

Eg  K   Volts

 ZP 
เมือ่ K = ค่าคงที่ในเครื่ องกลไฟฟ้ า K  
 2 a 
และจากสมการ Eg 
ZP
 สามารถเขียนสมการแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําได้ คือ
2 a

 ZPn
Eg  Volts
60 a

 2 n 
เมือ่  = ความเร็ วเชิงมุม, rad / s   
 60 
n = ความเร็ วรอบของโรเตอร์, รอบ/นาที ( rpm. )

ดังนั้น แรงเคลือ่ นไฟฟ้ าเหนี่ยวนําทีเ่ กิดขึน้ ในเครื่องกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง จึงขึน้ อยู่


กับตัวแปรดังต่ อไปนีเ้ ช่ นเดียวกัน
1. ค่ าคงทีข่ องเครื่องกลไฟฟ้ า, K
2. เส้ นแรงแม่ เหล็กทีเ่ กิดขึน้ ในเครื่องกําเนิดไฟฟ้ า, 
3. ความเร็วรอบ, 
37

5. ชนิดและคุณลักษณะของเครื่องกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
5.1 ชนิดของเครื่องกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (Types of generator)
เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงนั้น สามารถแบ่งตามลักษณะของการกระตุน้ ขดลวด
สนามแม่เหล็ก (Field coil) ได้เป็ น 2 ประเภท
1. เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบกระตุ้นแยก (Separately excited generator)
2. เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบกระตุ้นตัวเอง (Self excited generator)

DC Generators

Separately excited Self excited

Series Shunt Compound

Cumulative Short shunt compound

Differential Long shunt compound


38

5.1.1 เครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบกระตุ้นแยก (Separately excited generator)


การกระตุน้ ขดลวดสนามแม่เหล็กให้มีอาํ นาจแม่เหล็กในเครื่ องกําเนิดชนิดนี้ จะใช้
แหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรงจากภายนอกเป็ นตัวกระตุน้ ซึ่ งอาจเป็ นแหล่งจ่ายชนิดปรับค่าได้
หรื อปรับค่าไม่ได้กไ็ ด้ แต่เนื่องจากแหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรงชนิดปรับค่าได้น้ นั หาได้ยาก
ซึ่ งส่ วนมากจะเป็ นแหล่งจ่ายที่มีค่าคงที่ ดังนั้นถ้าเราใช้แหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรงชนิดปรับ
ค่าไม่ได้ จะต้องนําความต้านทานชนิดปรับค่าได้จากภายนอกมาต่ออนุกรมกับแหล่งจ่ายนั้น
ด้วย เพื่อจะทําให้สามารถควบคุมกระแสไฟฟ้ าที่ไหลในขดลวดสนามแม่เหล็กได้ ดังรู ปที่ 7

รู ปที่ 7 วงจรสมมูลของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบกระตุน้ แยก

สมการแรงเคลือ่ นไฟฟ้ าเหนี่ยวนําในเครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบกระตุ้นแยก

E g  VT  I a Ra Volts

เมือ่ Eg = แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนํา


VT = แรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั
Ia = กระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านขดลวดอาร์เมเจอร์ (เท่ากับ I L )
Ra = ความต้านทานขดลวดอาร์เมเจอร์
39

คุณลักษณะของเครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบกระตุ้นแยก
- คุณลักษณะสภาวะไม่ มโี หลด เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างแรงดันกับกระแสไฟฟ้ าที่
ไหลผ่านขดลวดสนามแม่เหล็ก โดยให้เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าหมุนด้วยความเร็ วที่คงค่าหนึ่งแล้ว
ทําการปรับค่ากระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านขดลวดสนามแม่เหล็ก โดยการปรับที่รีโอสแตตตั้งแต่ 0
แอมแปร์ ไปจนกระทัง่ ถึงค่าสู งสุ ด ดังแสดงในรู ปที่ 8 (ก) ดังนั้นก็จะได้คุณลักษณะสภาวะ
ไม่มีโหลดของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบกระตุน้ แยก ดังแสดงในรู ปที่ 8 (ข)

(ก)

(ข)
รู ปที่ 8 คุณลักษณะสภาวะไม่มีโหลดของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบกระตุน้ แยก
40

- คุณลักษณะสภาวะมีโหลดหรือคุณลักษณะภายนอก เป็ นการแสดงความสัมพันธ์


ระหว่างแรงดันไฟฟ้ ากับกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านขดลวดอาร์เมเจอร์ในขณะที่มีโหลด โดยให้
เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าหมุนด้วยความเร็ วที่คงที่ค่าหนึ่ง และรักษาให้กระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านขด
ลวดสนามแม่เหล็กมีค่าคงที่ ดังแสดงในรู ปที่ 9 (ก) ถ้าไม่คิดผลของปฏิกิริยาอาร์เมเจอร์รี
แอกชัน่ (มีขดลวดอินเตอร์โพล) และแรงดันไฟฟ้ าที่ตกคร่ อมที่ขดลวดอาร์เมเจอร์ ดังนั้น
แรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั ในสภาวะที่มีโหลดก็จะมีค่าเท่ากับแรงดันไฟฟ้ าในสภาวะที่ไม่มีโหลด ซึ่ ง
ในทางปฏิบตั ิน้ นั ในสภาวะมีโหลด แรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั ของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าจะมีค่าลดลง
จากสภาวะไม่มีโหลด ด้วยสาเหตุ 2 ประการ คือ
1. ลดลงเนื่องจากการเกิดอาร์เมเจอร์รีแอกชัน่ (Drop due to armature reaction)
2. ลดลงเนื่องจากความต้านทานของขดลวดอาร์เมเจอร์ (Drop due to armature
resistance)
คุณลักษณะสภาวะมีโหลด หรื อคุณลักษณะภายนอกของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแส
ตรงแบบกระตุน้ แยก แสดงได้ดงั รู ปที่ 9 (ข)

(ก)

เมือ่ ต่ อโหลดจะทําให้
VT  Eg  I a Ra  Armature Reaction ( )
41

(ข)
รู ปที่ 9 The terminal characteristic of a separately excited dc generatorr
with and without compensating winding

เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบกระตุน้ แยกนี้มีราคาค่อนข้างแพง เพราะต้องมี


แหล่งจ่ายไฟฟ้ าจากภายนอก เพื่อใช้จ่ายให้กบั ขดลวดสนามแม่เหล็กโดยเฉพาะ ดังนั้นส่ วน
ใหญ่จะนิยมใช้เฉพาะในงานที่ตอ้ งการความแน่นอน เช่น ใช้ในระบบการควบคุมความเร็ ว
ระบบวาร์วเลียวนาร์ด เป็ นต้น
42

ตัวอย่ าง เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบกระตุน้ แยก 2kW, 200V มีค่าความต้านทาน


Ra  1.5 , Rint  0.25  มีแรงดันตกคร่ อมที่แปรงถ่านข้างละ 1V จงคํานวณหาค่า
แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนํา เมื่อจ่ายโหลดเต็มพิกดั
วิธีทาํ
E g  VT  I a ( Ra  Rint )  VB
 2  103 
 200   1.5  0.25   2
 200 
 200  10 1.5  0.25    2
 200  (15  2.5)  2
 219.5V

Armature Reaction
เกิดจากกระแสไฟฟ้ าไหลในขดลวดอาร์เมเจอร์ แล้วไปสร้างสนามแม่เหล็กต้านกับ
สนามแม่เหล็กหลัก จึงทําให้ฟลัก๊ แม่เหล็กมีค่าลดลง และทําให้แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนํา
Eg ลดลง จึงส่ งผลให้แรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั VT ลดลงตามไปด้วย
ดังนั้น จะต้องหาแรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั VT เมื่อเกิดปรากฏการณ์ Armature Reaction
โดยพิจารณาจาก magnetization curve และค่า equivalent field current ดังสมการ
 AR EA n
I *f  I f  และ 
Nf E A0 n0
เมื่อ
If = Field current
 AR = แรงเคลื่อนแม่เหล็ก เนื่องจาก AR
Nf = จํานวนรอบต่อโพล ของขดลวดสนามแม่เหล็ก
43
44
45

วศ.บ.ฟฟ. ส3 / 3
46

5.1.2 เครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบกระตุ้นตัวเอง (Self excited generator)


การกระตุน้ ขดลวดสนามแม่เหล็กให้มีอาํ นาจแม่เหล็กในเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าชนิดนี้ จะ
อาศัยไฟฟ้ ากระแสตรงจากภายในตัวเครื่ องกําเนิดเอง แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้น
ครั้งแรกนั้นจะขึ้นอยูก่ บั อํานาจสนามแม่เหล็กตกค้าง (Residual magnetism or Residual flux)
ที่มีอยูท่ ี่ข้ วั แม่เหล็กด้วย เมื่ออาร์เมเจอร์ของเครื่ องกําเนิดถูกขับให้หมุนด้วยตัวต้นกําลังขดลวด
อาร์เมเจอร์ จะไปตัดกับสนามแม่เหล็กตกค้างที่ข้ วั แม่เหล็ก ซึ่ งจะเป็ นผลทําให้เกิดแรงเคลื่อน
ไฟฟ้ าเหนี่ยวนําและกระแสไฟฟ้ าเหนี่ยวนําขึ้นเล็กน้อยตามไปด้วย ดังนั้นกระแสบางส่ วนนี้
จะไหลผ่านขดลวดสนามแม่เหล็กทําให้เกิดสนามแม่เหล็กขึ้นบางส่ วน ซึ่ งสนามแม่เหล็กที่
เกิดขึ้นนี้จะไปเสริ มกับสนามแม่เหล็กตกค้างที่ข้ วั แม่เหล็ก ทําให้แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนํามี
ค่าเพิ่มขึ้นด้วย
เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบกระตุน้ ตัวเองนี้ สามารถแบ่งตามลักษณะของการ
ต่อขดลวดสนามแม่เหล็กกับอาร์เมเจอร์ได้อีก 3 ชนิด คือ

1. เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบอนุกรม (Series generator)


2. เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนาน (Shunt generator)
3. เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบผสม (Compound generator)

วศ.บ.ฟฟ ส2 / 13 มค 52
วศ.บ.ฟฟ 2 / 14 มค 52
47

5.1.2.1 เครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบอนุกรม (Series generator)


เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าชนิดนี้ ขดลวดสนามแม่เหล็กจะถูกต่ออนุกรมอยูก่ บั วงจร
อาร์เมเจอร์ ดังรู ปที่ 10 และเป็ นเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าที่ให้กระแสสูง ขดลวดสนามแม่เหล็กนั้น
จะพันด้วยขดลวดเส้นใหญ่ จึงมีค่าความต้านทานตํ่าซึ่ งเรี ยกว่า ขดลวดซี รีส์ฟิลด์ เครื่ อง
กําเนิดชนิดนี้ไม่ค่อยนิยมใช้ จะใช้ในกรณี พิเศษเท่านั้น เช่น ทําเป็ นตัวบูสเตอร์ (Boosters)
หรื อตัวเพิ่มแรงดัน เป็ นต้น

รู ปที่ 10 วงจรสมมูลของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบอนุกรม

สมการแรงเคลือ่ นไฟฟ้ าเหนี่ยวนําในเครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบอนุกรม

Eg  VT  I a ( Ra  Rs ) Volts

เมือ่ Eg = แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนํา


Vt = แรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั
Ia = กระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านขดลวดอาร์เมเจอร์
Ra = ความต้านทานขดลวดอาร์เมเจอร์
Rs = ความต้านทานขดลวดสนามแม่เหล็กต่ออนุกรม หรื อขดลวดซี รีส์ฟิลด์
48

คุณลักษณะของเครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบอนุกรม
- คุณลักษณะสภาวะไม่ มโี หลด สามารถทําได้โดยการต่อแหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรง
เข้าขดลวดซี รีส์ฟิลด์ ดังรู ปที่ 11 (ก) โดยให้เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าหมุนด้วยความเร็ วที่คงที่ค่า
หนึ่ง แล้วทําการเปลี่ยนแปลงค่ากระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านขดลวดซี รีส์ฟิลด์ โดยการปรับที่รี
โอสแตต โดยเริ่ มต้นที่ 0 แอมแปร์ แล้ววัดแรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั ดังนั้นก็จะได้คุณลักษณะ
สภาวะไม่มีโหลดของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบอนุกรม ดังแสดงในรู ปที่ 11 (ข)

(ก)

(ข)
รู ปที่ 11 คุณลักษณะสภาวะไม่มีโหลดของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบอนุกรม
49

- คุณลักษณะสภาวะมีโหลดหรือคุณลักษณะภายนอก เป็ นการแสดงความสัมพันธ์


ระหว่างแรงดันไฟฟ้ ากับกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านขดลวดอาร์เมเจอร์ในขณะที่มีโหลด โดยให้
เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าหมุนด้วยความเร็ วที่คงที่ค่าหนึ่ง ซึ่ งในขณะที่ยงั ไม่ได้ต่อโหลดนั้นจะไม่มี
แรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั ของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าเกิดขึ้น เพราะไม่มีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านขดลวด
ซีรีส์ฟิลด์ แต่เมื่อต่อโหลดเข้ากับขั้วของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าแล้วทําการเพิ่มโหลดขึ้นทีละขั้น
แรงดันไฟฟ้ าก็จะเพิม่ ขึ้นตามโหลดจนถึงจุดอิ่มตัว แต่ในทางปฏิบตั ิน้ นั ในสภาวะที่มีโหลด
แรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั ของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าจะมีค่าลดลงจากสภาวะไม่มีโหลด ด้วยสาเหตุ 2
ประการเช่นเดียวกัน คือ
1. ลดลงเนื่องจากการเกิดอาร์เมเจอร์ รีแอกชัน่ (Drop due to armature reaction)
2. ลดลงเนื่องจากความต้านทานของขดลวดอาร์เมเจอร์และขดลวดซี รีส์ฟิลด์
(Drop due to armature and series resistance)
คุณลักษณะสภาวะมีโหลด หรื อคุณลักษณะภายนอกของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแส
ตรงแบบอนุกรม แสดงได้ดงั รู ปที่ 12 (ข)

(ก)
50

(ข)
รู ปที่ 12 คุณลักษณะสภาวะมีโหลดของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบอนุกรม

สําหรับเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบอนุกรมนี้ ส่ วนใหญ่จะใช้เป็ นซี รีส์บูสเตอร์


ในสายส่ งไฟฟ้ ากระแสตรง เพราะว่าในสายส่ งไฟฟ้ าที่ส่งเป็ นระยะทางไกล ๆ จะมีแรงดัน
ไฟฟ้ าตกคร่ อมในสายมาก เนื่องจากความต้านทานของสายส่ งเอง โดยการใช้ซีรีส์บูสเตอร์
ต่อขนานกับขดลวดซี รีส์ฟิลด์ เพื่อช่วยชดเชยแรงดันไฟฟ้ าที่ตกคร่ อมในสายส่ ง เป็ นต้น
51

5.1.2.2 เครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนาน (Shunt generator)


เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าชนิดนี้ ขดลวดสนามแม่เหล็กจะถูกต่อขนานอยูก่ บั วงจร
อาร์เมเจอร์ ดังแสดงในรู ปที่ 13 และเป็ นเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าที่ให้แรงดันไฟฟ้ าที่จ่ายออกมา
สู ง ขดลวดสนามแม่เหล็กนั้นจะพันด้วยขดลวดเส้นเล็ก จึงมีค่าความต้านทานสู ง ซึ่ งเรี ยกว่า
ขดลวดชันต์ ฟิลด์ เครื่ องกําเนิดชนิดนี้จะมีจาํ นวนเส้นแรงแม่เหล็กที่เกิดขึ้นที่ขดลวดสนาม
แม่เหล็กคงที่ เนื่องจากขดลวดสนามแม่เหล็กนั้นต่อขนานอยูก่ บั วงจรอาร์เมเจอร์โดยตรงนัน่
เอง และจะขึ้นอยูก่ บั โหลดน้อยมาก

รู ปที่ 13 วงจรสมมูลของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนาน

สมการแรงเคลือ่ นไฟฟ้ าเหนี่ยวนําในเครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนาน


แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นที่อาร์เมเจอร์ของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง
แบบขนาน สามารถหาได้จาก

Eg  VT  I a Ra Volts
52

คุณลักษณะของเครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนาน
- คุณลักษณะสภาวะไม่ มโี หลด สามารถทําได้เช่นเดียวกันกับเครื่ องกําเนิด ไฟฟ้ า
กระแสตรงแบบอนุกรม
- คุณลักษณะสภาวะมีโหลด หรือคุณลักษณะภายนอก โดยพิจารณาจากรู ปวงจร
ที่ 14 (ก) เมื่อให้เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าหมุนด้วยความเร็ วที่คงที่ค่าหนึ่ง จะพบว่าแรงดัน ไฟฟ้ าที่
ขั้วของเครื่ องกําเนิดจะลดลงเรื่ อย ๆ เมื่อกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านโหลดมีค่าเพิม่ ขึ้น ดังแสดงใน
รู ปที่ 14 (ข) การลดลงของแรงดันไฟฟ้ านั้นเกิดขึ้นเนื่องจากสาเหตุ 3 ประการ คือ

1. เนื่องจากการเกิดอาร์เมเจอร์รีแอกชัน่ (Drop due to armature reaction)


2. เนื่องจากความต้านทานของขดลวดอาร์เมเจอร์ (Drop due to armature
resistance)
3. เนื่องจากกระแสที่ไหลในขดลวดสนามแม่เหล็กลดลงอันเป็ นผลจากข้อ 1 และ 2

(ก)
53

Vt
volt

240

220
I a R a drop
200 Armature reaction drop

180 drop due to weaken flux


160 เนื่ องจาก ข้อ 1,2

140
IL
0 1 2 3 4 5 6 A
กระแสโหลด
(ข)

รู ปที่ 14 คุณลักษณะสภาวะมีโหลดของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนาน

เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนานนี้ ส่วนใหญ่จะนิยมใช้ทาํ หน้าที่เป็ นตัวกระตุน้


ให้กบั ขดลวดสนามแม่เหล็กของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสสลับ ซิงโครนัสมอเตอร์ เป็ นต้น
54

5.1.2.3 เครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบผสม (Compound generator)


เป็ นเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าที่รวมเอาคุณสมบัติของเครื่ องกําเนิดแบบอนุกรม และ
เครื่ องกําเนิดแบบขนานเข้าด้วยกัน ดังนั้นขดลวดสนามแม่เหล็กจึงประกอบไปด้วยขดลวด
ชันต์ฟิลด์และขดลวดซี รีส์ฟิลด์ เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบผสมยังสามารถแบ่งตาม
ลักษณะการต่อขดลวดสนามแม่เหล็กกับอาร์เมเจอร์ได้เป็ น 2 แบบ คือ เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า
กระแสตรงแบบซ๊ อตชันต์ คอมปาวด์ (Short shunt compound) และเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า
กระแสตรงแบบลองชันต์ คอมปาวด์ (Long shunt compound)

5.1.2.3.1 เครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบซ๊ อตชันต์ คอมปาวด์


(Short shunt compound) สามารถแบ่งออกได้อีก 2 ชนิด คือ
(ก) เครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบซ๊ อตชันต์ ควิ มูเลทีฟคอมปาวด์ (Short
shunt cumulative compound generator) คือ เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าแบบซ๊อตชันต์คอมปาวด์ที่
ต่อขดลวดชันต์ฟิลด์เข้ากับขดลวดซี รีส์ฟิลด์แล้ว ทําให้กระแสที่ไหลผ่านขดลวดซี รีส์ฟิลด์มี
ทิศทางไปในทางเดียวกันกับกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านขดลวดชันต์ฟิลด์ ดังนั้นจึงทําให้เส้น
แรงแม่เหล็กที่เกิดขึ้นที่ขดลวดชันต์ฟิลด์และขดลวดซี รีส์ฟิลด์มีทิศทางเสริ มกัน จึงทําให้
แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นมีค่ามาก เมื่อมีโหลดเพิ่มขึ้น ดังแสดงในรู ปที่ 15

รู ปที่ 15 วงจรสมมูลของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบซ๊อตชันต์คิวมูเลทีฟคอมปาวด์


55

(ข) เครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบซ๊ อตชันต์ ดฟิ เฟอเรนเชียลคอมปาวด์


(Short shunt differential compound generator) คือ เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าแบบซ๊อตชันต์
คอมปาวด์ที่ต่อขดลวดชันต์ฟิลด์เข้ากับขดลวดซี รีส์ฟิลด์แล้ว ทําให้กระแสที่ไหลผ่านขดลวด
ซี รีส์ฟิลด์มีทิศทางตรงกันข้ามกับกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านขดลวดชันต์ฟิลด์ ดังนั้นจึงทําให้
เส้นแรงแม่เหล็กที่เกิดขึ้นที่ขดลวดชันต์ฟิลด์ และขดลวดซีรีส์ฟิลด์มีทิศทางหักล้างกัน ส่ งผล
ให้เส้นแรงแม่เหล็กลดลงอย่างมาก จึงทําให้แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นมีค่าลดลง
เมื่อมีโหลดเพิม่ ขึ้น จึงไม่ค่อยนิยมใช้ ดังแสดงในรู ปที่ 16

รู ปที่ 16 วงจรสมมูลของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบซ๊อตชันต์ดิฟเฟอเรนเชียลคอมปาวด์

สมการแรงเคลือ่ นไฟฟ้ าเหนี่ยวนําในเครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบซ๊ อตชันต์ คอมปาวด์


แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นที่อาร์เมเจอร์ของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง
แบบซ๊อตชันต์คอมปาวด์ สามารถหาได้จาก

Eg  VT  I a Ra  I s Rs Volts
56

5.1.2.3.2 เครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบลองชันต์ คอมปาวด์


(Long shunt compound) สามารถแบ่งออกได้อีก 2 ชนิด

(ก) เครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบลองชันต์ ควิ มูเลทีฟคอมปาวด์ (Long


shunt cumulative compound generator) คือ เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าแบบลองชันต์คอมปาวด์ที่
ต่อขดลวดชันต์ฟิลด์เข้ากับขดลวดซี รีส์ฟิลด์แล้ว ทําให้กระแสที่ไหลผ่านขดลวดซี รีส์ฟิลด์มี
ทิศทางไปในทางเดียวกันกับกระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านขดลวดชันต์ฟิลด์ ดังนั้นจึงทําให้เส้น
แรงแม่เหล็กที่เกิดขึ้นที่ขดลวดชันต์ฟิลด์และขดลวดซี รีส์ฟิลด์มีทิศทางเสริ มกัน จึงทําให้
แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นมีค่าเพิ่มมากขึ้น เมื่อมีโหลดเพิม่ ขึ้น ดังแสดงในรู ปที่ 17

รู ปที่ 17 วงจรสมมูลของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบลองชันต์คิวมูเลทีฟคอมปาวด์


57

(ข) เครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบลองชันต์ ดฟิ เฟอเรนเชียลคอมปาวด์


(Long shunt differential compound generator) คือ เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าแบบลองชันต์ที่ต่อ
ขดลวดชันต์ฟิลด์เข้ากับขดลวดซี รีส์ฟิลด์แล้ว ทําให้กระแสที่ไหลผ่านขดลวดซี รีส์ฟิลด์มี
ทิศทางตรงกันข้ามกับทิศทางของกระแส ไฟฟ้ าที่ไหลผ่านขดลวดชันต์ฟิลด์ ดังนั้นจึงทําให้
เส้นแรงแม่เหล็กที่เกิดขึ้นที่ขดลวดชันต์ฟิลด์และขดลวด ซี รีส์ฟิลด์มีทิศทางหักล้างกัน ส่ งผล
ให้เส้นแรงแม่เหล็กลดลง จึงทําให้แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นมีค่าลดลงอย่างมาก
เมื่อมีโหลดเพิม่ ขึ้น ดังแสดงในรู ปที่ 18

รู ปที่ 18 วงจรสมมูลของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบลองชันต์ดิฟเฟอเรนเชียลคอมปาวด์

สมการแรงเคลือ่ นไฟฟ้ าเหนี่ยวนําในเครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบลองชันต์ คอมปาวด์


แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นที่อาร์เมเจอร์ของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง
ลองชันต์คอมปาวด์ สามารถหาได้จาก

Eg  VT  I a ( Ra  Rs ) Volts
58

คุณลักษณะของเครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบผสม
เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบผสม เป็ นการรวมเอาคุณลักษณะของเครื่ องกําเนิด
แบบอนุกรมและแบบขนานเข้าด้วยกัน ซึ่งคุณลักษณะของเครื่องกําเนิดไฟฟ้ าแบบอนุกรม
นั้น เมื่อโหลดเพิม่ ขึน้ จะทําให้ แรงดันไฟฟ้ าทีข่ วั้ เพิม่ ขึ้นด้ วย ส่ วนในเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าแบบ
ขนานนั้น เมื่อโหลดเพิม่ ขึน้ แรงดันไฟฟ้ าทีข่ วั้ นั้นจะลดลง ดังนั้นถ้านําเอาคุณลักษณะของ
เครื่ องกลไฟฟ้ าทั้งสองมารวมไว้ในเครื่ องกําเนิดตัวเดียวกัน และ ปรับกระแสที่ไหลผ่านขดลวด
ซี รีส์ฟิลด์ให้เหมาะสม ก็จะสามารถลดปั ญหาของแรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั ลดลงของเครื่ องกําเนิด
แบบขนานได้ โดยใช้ ขดลวดซีรีส์ฟิลด์ เป็ นตัวชดเชย ซึ่งทําให้ ได้ แรงดันไฟฟ้าทีข่ ้วั เกือบคงที่
(แบบราบเรียบตลอดช่ วงทีม่ โี หลด) เมือ่ โหลดเพิม่ ขึน้ ได้ เรี ยกว่า ผสมเสมอระดับ (Flat
compound) แต่ ถ้าเพิม่ จํานวนรอบของขดลวดซีรีส์ฟิลด์ ให้ เพิม่ ขึน้ อีกก็อาจจะทําให้ แรงดัน
ไฟฟ้ าทีข่ ้วั เพิม่ ขึน้ ประมาณ 5% เรี ยกว่า ผสมมากไป (Over compound) แต่ ถ้าลดจํานวนรอบ
ของขดลวดซีรีส์ฟิลด์ ให้ น้อยลงกว่ าปกติ ก็จะทําให้ แรงดันไฟฟ้าเหนี่ยวนํา ทีเ่ กิดขึน้ มีปริมาณ
น้ อยเกินไป ซึ่งไม่ เพียงพอทีจ่ ะชดเชยแรงดันไฟฟ้าทีข่ ้วั ลดลงได้ และในขณะทีไ่ ม่ มโี หลดนั้น
จะได้ แรงดันไฟฟ้าตามปกติ แต่ เมือ่ ไหร่ กต็ ามทีโ่ หลดมีค่าเพิม่ ขึน้ จะทําให้ แรงดันไฟฟ้าทีข่ ้วั
ลดลงไปประมาณ 20% ของแรงดันปกติ เรี ยกว่า ผสมขาด (Under compound)
ส่ วนใหญ่จะนิยมต่อเป็ นแบบซ๊อตชันต์คิวมูเลทีฟคอมปาวด์หรื อลองชันต์คิวมูเลทีฟ
คอมปาวด์ ซึ่ งมักเรี ยกสั้น ๆ ว่า เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าแบบคิวมูเลทีฟคอมปาวด์ (Cumulative
compound generator) เพราะสามารถปรับแรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั ได้ดีกว่าชนิดอื่น
ส่ วนการต่อแบบซ๊อตชันต์ดิฟเฟอเรนเชียลคอมปาวด์หรื อลองชันต์ดิฟเฟอเรนเชียล
คอมปาวด์ ไม่ค่อยนิยมใช้ เพราะว่ามีการเปลี่ยนแปลงของเส้นแรงแม่เหล็กมาก จึงส่ งผลทํา
ให้แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่เกิดขึ้นมีค่าเปลี่ยนแปลงตามไปด้วย จะใช้ในลักษณะงาน
เฉพาะอย่างเท่านั้น เช่น งานเชื่อมไฟฟ้ า เพราะว่าให้กระแสสูงและไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง
ถึงแม้วา่ แรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั จะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากก็ตาม
59
60

Analysis of Cumulatively Compounded DC Generator

net   f  se   AR
N f I *f  N f I f  N se I se   AR
N se 
I *f  I f  I se  AR
Nf Nf
เมื่อ
If = Field current
 AR = แรงเคลื่อนแม่เหล็ก เนื่องจาก AR
N se = จํานวนรอบต่อโพล ของขดลวดซี รีส์ฟิลด์
Nf = จํานวนรอบต่อโพล ของขดลวดชันต์ฟิลด์

Analysis of Differentially Compounded DC Generator

net   f  se   AR
N f I *f  N f I f  N se I se   AR
N se 
I *f  I f  I se  AR
Nf Nf
เมื่อ
If = Field current
 AR = แรงเคลื่อนแม่เหล็ก เนื่องจาก AR
N se = จํานวนรอบต่อโพล ของขดลวดซี รีส์ฟิลด์
Nf = จํานวนรอบต่อโพล ของขดลวดชันต์ฟิลด์
61

การสู ญเสี ยในเครื่องกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (Losses in dc generator)


1. การสู ญเสียในลวดทองแดง (Copper losses)
1.1 การสู ญเสี ยในขดลวดอาร์ เมเจอร์ ( I a2 Ra ) 30-40% ของการสู ญเสี ยโหลดพิกดั
1.2 การสู ญเสี ยในขดลวดสนามแม่ เหล็ก ประมาณ 20-30%
1.2.1 กรณี เครื่ องกลไฟฟ้ าแบบอนุกรม ( I se2 Rse )
1.2.2 กรณี เครื่ องกลไฟฟ้ าแบบขนาน ( I sh2 Rsh )
2. การสู ญเสียในแกนเหล็ก (Iron losses or core losses) ประมาณ 20-30%
2.1 การสู ญเสี ยเนื่องจากฮีสเตอรีซีส (Hysteresis losses)
การสูญเสี ยเนื่องจากฮีสเตอรี ซีส เกิดขึ้นเนื่องจากการกลับไปกลับมาของเส้น
แรงแม่เหล็กที่เกิดขึ้นที่แกนเหล็กอาร์เมเจอร์ในทุก ๆ ครั้งที่อาร์เมเจอร์หมุนตัดกับขั้วเหนือ
และขั้วใต้
Wh   Bmax
1.6
fV Watt

2.2 การสู ญเสี ยเนื่องจากกระแสไหลวน (Eddy current losses)


เกิดขึ้นเนื่องจากแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําในตัวแกนเหล็กอาร์เมเจอร์ ซึ่ งจะ
ทําให้เกิดกระแสจํานวนมากไหลในแกนเหล็กอาร์เมเจอร์ ซึ่ งเรี ยกว่า กระแสไหลวน จึงทํา
ให้เกิดการสู ญเสี ยขึ้น
We  KBmax
2
f 2t 2V Watt

3. การสู ญเสียทางกล (Mechanical losses) ประมาณ 10-20%


3.1 การสู ญเสี ยเนื่องจากแรงเสี ยดทานที่แบริ่ งและคอมมิวเตเตอร์
3.2 การสูญเสี ยเนื่องจากแรงเสี ยดทานของอากาศ หรื อแรงลม

4. การสู ญเสียทีแ่ ปรงถ่ าน (Brush losses)  PBD  VBD I a


62

ประสิ ทธิภาพในเครื่องกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง
(Efficiency in dc generator,  )
ประสิ ทธิ ภาพของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง คือ อัตราส่ วนของกําลังไฟฟ้ าที่
เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าจ่ายออกหรื อกําลังเอาต์พตุ ต่อกําลังไฟฟ้ าที่เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าได้รับหรื อ
กําลังอินพุต นัน่ คือ

Efficiency,  
Power output
Power input
 100%

Pout
  100%
Pout  Ploss
63

จาก Power-Flow Diagram ทีไ่ ด้ สามารถหาค่ าประสิ ทธิภาพตามส่ วนต่ าง ๆ ได้ ดงั นี้

1. ประสิทธิภาพทางกล (Mechanical Efficiency)


Eg I a
m 
Pin

2. ประสิทธิภาพทางไฟฟ้ า (Electrical Efficiency)


Pout
e 
Eg I a

3. ประสิทธิภาพทัง้ หมดหรื อทางการค้ า (Overall or Commercial Efficiency)


Pout
    m  e
Pin
64

ประสิทธิภาพสู งสุ ด
Pout Pout
max  
Pin Pout  Ploss
VL I L

VL I L  Pcopper  Pconstant
VL I L
 ; IL  Ia
VL I L  I L2 Ra  Pconstant
1

I R P 
1   L a  constant 
 VL VL I L 

- ภาวะทีเ่ ครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ามีประสิทธิภาพสู งสุ ด

d   I L Ra Pconstant  
1      0
dI L   L V VL I L  
R P
0  a  constant  0
VL VL I L2
I L2 Ra  Pconstant

ดังนั้นภาวะทีเ่ ครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงมีค่าประสิทธิภาพสู งสุ ด เมื่อ

I L2 Ra  Pconstant (ต่ อแบบขนาน)

Variable Losses = Constant Losses


65

ตัวอย่ าง เครื่องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบลองชันต์ ควิ มูเลทีฟคอมปาวด์ 125kW, 250V,


1800 rpm. มีค่าความต้ านทาน Ra  0.025, Rse  0.01, R f  50 มีค่าการสู ญเสี ยใน
แกนเหล็กและความเสี ยดทานเท่ ากับ 5000W จงคํานวณหาค่ า (ทีพ่ กิ ดั )
ก) แรงเคลือ่ นไฟฟ้ าเหนี่ยวนําทีเ่ กิดขึน้
ข) กําลังม้ าของตัวต้ นกําลัง
ค) ประสิ ทธิภาพทางไฟฟ้ า, ทางกล และทางการค้ า
ง) ถ้ าเครื่องกําเนิดนีม้ ปี ระสิ ทธิภาพสู งสุ ด จงหาค่ ากระแสอาร์ เมเจอร์

วิธีทาํ

ก) แรงเคลือ่ นไฟฟ้ าเหนี่ยวนําทีเ่ กิดขึน้


125  103
IL   500 A
250
250V
If   5A
50
Ia  I L  I f  500  5  505 A
E g  Vt  I a  Ra  Rse 
 250  505  0.025  0.01
 267.675V
66

ข) กําลังม้ าของตัวต้ นกําลัง


Pcopper  Pa  Pse  Pf
 I a2 Ra  I a2 Rse  I 2f R f
  505 2
 0.025    5052  0.01   52  50 
 10,175.875W

Pcore friction  5, 000W


PLosses  Pcopper  Pcore friction
 10,175.875  5, 000
 15,175.875W
Pin  Pout  PLosses
 125, 000  15,175.875
 140,175.875W

140,175.875
ดังนั้น กําลังม้ าของตัวต้ นกําลัง (H.P.) มีค่าเท่ ากับ  187.903 H .P.
746

ค) ประสิ ทธิภาพทางกล, ทางไฟฟ้ า และทางการค้ า


a. ประสิทธิภาพทางกล (Mechanical Efficiency)
Eg I a 267.675  505
m    0.96433  96.433%
Pin 140,175.875

หรือ
Pin  Pcore friction 140,175.875  5, 000
m    0.96433  96.433%
Pin 140,175.875
67

b. ประสิทธิภาพทางไฟฟ้ า (Electrical Efficiency)


Pout 125, 000
e    0.92472  92.472%
Eg I a 267.675  505

หรือ
Pout 125, 000
e    0.92472  92.472%
Pout  Pcopper 125, 000  10,175.875

c. ประสิทธิภาพทัง้ หมดหรือทางการค้า (Overall or Commercial Efficiency)


  m e  0.96433  0.92472  0.89173  89.173%

หรือ
Pout 125, 000
    0.89173  89.173%
Pin 140,175.875

ง) ถ้ าเครื่องกําเนิดนีม้ ปี ระสิ ทธิภาพสู งสุ ด จงหาค่ ากระแสอาร์ เมเจอร์

Variable Losses = Constant Losses


ต่ อแบบผสม  I L2 ( Ra  Rse )  Pconstant
Pconstant
IL 
Ra  Rse
5000  (250  5)

0.025  0.01
 422.577 A
Ia  IL  422.577 A
68

6. การรักษาและควบคุมแรงดันไฟฟ้า
6.1 การรักษาระดับแรงดันไฟฟ้า (Voltage regulation)
เป็ นการรักษาระดับแรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั ของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง ในสภาวะไม่
มีโหลด (No-load) จนกระทัง่ ถึงสภาวะมีโหลดเต็มที่ (Full-load) เมื่อเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าหมุน
ด้วยความเร็ วรอบคงที่ ถ้าการเปลี่ยนแปลงของแรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั ระหว่างไม่มีโหลดจนกระทัง่
มีโหลดเต็มที่มีนอ้ ย แสดงว่าเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ามีเรคกูเลชัน่ ที่ดี แต่ถา้ การเปลี่ยนแปลงของ
แรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั ระหว่างไม่มีโหลดจนกระทัง่ มีโหลดเต็มที่มีค่ามาก แสดงว่าเครื่ องกําเนิด
ไฟฟ้ าตัวนี้มีเรคกูเลชัน่ ไม่ดี โวลต์เตจเรคกูเลชัน่ ของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง สามารถ
คํานวณได้จากสมการ คือ

VNL  VFL
%Reg  100%
VFL
69

6.2 การควบคุมแรงดันไฟฟ้าทีข่ ้วั (Control of Terminal Voltage)


แรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั ของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงสามารถควบคุมได้ โดยการพิจารณา
จากสมการแรงดันของเคอร์ชอฟฟ์ ตัวอย่างเช่น ในเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบ
กระตุน้ แยก สมการแรงดัน คือ VT  Eg  I a Ra ซึ่ งจากสมการดังกล่าวถ้า Eg เพิม่ ค่า
แรงดันที่ข้ วั VT ก็จะเพิม่ แต่ถา้ Eg ลด ค่าแรงดันที่ข้ วั VT ก็จะลดลงด้วย ซึ่ งค่า
แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนํา Eg นั้นสามารถพิจารณาได้จาก Eg  K ดังนั้นจึงสามารถ
ควบคุมแรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั ของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงได้ดว้ ยกันสองวิธี ดังต่อไปนี้

1. การควบคุมกระแสไฟฟ้ าทีไ่ หลผ่ านขดลวดสนามแม่ เหล็ก(Field


current, I f , I s )
ซึ่ งเป็ นวิธีที่ง่ายที่สามารถควบคุมได้ โดยการเปลี่ยนแปลงค่าความต้านทานในวงจร
สนามแม่เหล็ก โดยการนําเอาความต้านทานชนิดปรับค่าได้ (Rheostat) จากภายนอกมาต่อ
อนุกรมเข้ากับขดลวดสนามแม่เหล็ก เพื่อใช้ในการควบคุมกระแสที่ไหลผ่านขดลวดสนาม
แม่เหล็ก เนื่องจากเส้นแรงแม่เหล็ก  นั้นแปรผันตามค่ากระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านขดลวด
สนามแม่เหล็ก I f ดังนั้น ถ้าเส้นแรงแม่เหล็กมีค่าเพิ่ม Eg  K   แรงเคลื่อนไฟฟ้ า
เหนี่ยวนําก็จะเพิ่มขึ้นด้วย เนื่องจากแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนํา Eg แปรผันโดยตรงกับเส้น
แรงแม่เหล็ก ซึ่ งจะส่ งผลทําให้แรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั ของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าเพิ่มขึ้นตามไปด้วย
ตามสมการ VT  Eg   I a Ra

2. การควบคุมความเร็ว  ซึ่ งสามารถควบคุมได้โดยการเปลี่ยนแปลงความเร็ วของตัว


ต้นกําลัง เนื่องจากค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนํา Eg แปรผันโดยตรงกับค่าความเร็ ว ตาม
สมการ Eg  K  ซึ่งถ้าความเร็ วเพิ่ม  แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนํา Eg ก็จะเพิ่ม
70

ด้วย ซึ่ งจะส่ งผลทําให้แรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั ของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงเพิม่ ขึ้นตามไป


ด้วยเช่นกัน

7. สาเหตุทเี่ ครื่องกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรงไม่ เกิดแรงเคลือ่ นไฟฟ้า


เหนี่ยวนําขึน้ (Failure to building up Voltage)
ในที่น้ ีหมายถึง การที่เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าไม่เกิดแรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั ได้ตามขนาดที่ตอ้ ง
การ ซึ่ งอาจเกิดจากสาเหตุดงั ต่อไปนี้
1. การสู ญเสี ยอํานาจแม่ เหล็กตกค้ าง อาจเนื่องมาจากเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าถูกทิ้งไว้
หรื อไม่ได้ใช้งานเป็ นเวลานาน ซึ่ งสามารถแก้ไขได้โดยการนําแหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรง
จากภายนอกมาต่อเข้ากับขดลวดสนามแม่เหล็กเป็ นเวลาประมาณ 2-3 วินาที เพื่อเป็ นการ
กระตุน้ ให้เกิดอํานาจแม่เหล็กขึ้น
2. วงจรของขดลวดสนามแม่ เหล็กมีค่าความต้ านทานมากเกินไป อาจเกิดจากการ
นําเอาความต้านทานภายนอกที่เรี ยกว่า รี โอสแตต มาต่อเข้ากับขดลวดสนามแม่เหล็กมาก
เกินไป เพราะจะเป็ นการจํากัดไม่ให้กระแสไหลผ่านขดลวดสนามแม่เหล็กเพิม่ สู งขึ้นได้หรื อ
อาจเกิดจากการต่อขั้วไม่แน่น รวมทั้งหน้าสัมผัสของแปรงถ่านสกปรกหรื อแปรงถ่านชํารุ ด
แก้ไขได้โดยการปรับความต้านทานของรี โอสแตตให้มีค่าความต้านทานตํ่าสุ ด
3. การต่ อขดลวดสนามแม่ เหล็กผิด จะทําให้ทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้ าที่
ไหลผ่านขดลวดสนามแม่เหล็กผิดทิศทาง เส้นแรงแม่เหล็กที่เกิดขึ้นจะมีทิศทางตรงกันข้าม
กับเส้นแรงแม่เหล็กตกค้าง จึงส่ งผลทําให้เส้นแรงแม่เหล็กที่ข้ วั แม่เหล็กลดลงหรื อหมดไป
4. การหมุนผิดทิศทาง การหมุนกลับทิศทางก็คล้ายกลับการต่อขั้วขดลวดสนาม
แม่เหล็กผิด
71

5. เกิดการลัดวงจรของขดลวดอาร์ เมเจอร์ หรือขดลวดสนามแม่ เหล็ก การลัดวงจร


ของอาร์เมเจอร์หรื อขดลวดสนามแม่เหล็กนจะส่ งผลทําให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําตํ่า
และอาจทําให้เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าไหม้เสี ยหายได้

8. สาเหตุของแรงดันไฟฟ้าทีข่ ้วั ไม่ ถึงค่ าสู งสุ ด


1. แปรงถ่านวางผิดปกติ
2. เกิดการลัดวงจรที่อาร์เมเจอร์ หรื อขดลวดสนามแม่เหล็ก
3. ขดลวดสนามแม่เหล็กมีค่าความต้านทานมากเกินไป
4. ความเร็ วของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าตํ่า

9. การขนานเครื่องกําเนิดไฟฟ้ากระแสตรง (Parallel operation of DC


Generator)
การเดินเครื่ องขนานเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงในที่น้ ีหมายถึง การนําเครื่ องกําเนิด
ไฟฟ้ ากระแสตรงมากกว่าสองเครื่ องต่อขนานกัน แล้วร่ วมกันจ่ายโหลดผ่านสายส่ งหรื อสาย
จ่ายชุดเดียวกันด้วยขนาดแรงดันที่เท่ากัน เพื่อให้แน่ใจว่าสถานีส่งกําลังไฟฟ้ า (Power
station) หรื อโรงต้นกําลังไฟฟ้ า (Power plant)
1. สามารถที่จะบริ การพลังงานไฟฟ้ าให้แก่ผใู ้ ช้ไฟฟ้ าได้ตลอดเวลาตามที่ผใู ้ ช้พลังงาน
ไฟฟ้ าต้องการ สถานีส่งกําลังไฟฟ้ าจึงนิยมส่ งกําลังไฟฟ้ าด้วยเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าขนาดย่อม
หรื อขนาดเล็กหลายเครื่ องมากกว่า ที่จะใช้เครื่ องขนาดใหญ่เพียงเครื่ องเดียว ทั้งนี้เนื่องจาก
ความต้องการใช้กระแสไฟฟ้ าในการจ่ายโหลดที่แท้จริ งของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าในแต่ละช่วง
เวลาของวันมีความแตกต่างกัน
72

2. การใช้เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าจ่ายโหลดเพียงลําพังเครื่ องเดียว ทําให้ในขณะที่มีความ


ต้องการใช้พลังงานไฟฟ้ าน้อย เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าจะทํางานได้ไม่เต็มประสิ ทธิ ภาพ แต่
ในช่วงเวลาที่มีความต้องใช้พลังงานไฟฟ้ ามีมาก เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าจะทํางานหนักมาก อายุ
การใช้งานของเครื่ องจะสั้นลง หากใช้เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าสองเครื่ องขนานกัน ทําการเดิน
หนึ่งเครื่ องในช่วงที่ตอ้ งการใช้พลังงานไฟฟ้ าน้อยและเดินพร้อมกันในขณะที่มีความต้องการ
ใช้สูง จะทําให้เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ามีโอกาสได้หยุดพัก อายุการใช้งานก็จะยาวนานขึ้น
3. และหากมีเครื่ องใดเครื่ องหนึ่งขัดข้อง เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าเครื่ องที่เหลือยังสามารถ
ผลิตไฟฟ้ าได้อย่างต่อเนื่อง

ในการขนานเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงนั้น จะต้องคํานึงถึงสิ่ งสําคัญต่อไปนี้ คือ


1. แรงดันไฟฟ้ าจะต้องเท่ากัน
2. ต้องต่อขั้วเหมือนกันเข้าด้วยกัน

9.1 การขนานเครื่องกําเนิดไฟฟ้ าแบบอนุกรม (Series generator in parallel)


การขนานเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบอนุกรมสามารถทําได้ โดยจะต้องต่อ
แท่งตัวนําความต้านทานตํ่า (Equalizing bar) เข้าไป ดังแสดงในรู ปที่ 19 ซึ่ งจะทําให้เครื่ อง
กําเนิดไฟฟ้ าทั้งสองนั้นจ่ายกระแสไฟฟ้ าให้กบั โหลดประมาณเท่า ๆ กัน ส่ วนความแตกต่าง
เล็กน้อยของกระแสทั้งสองจะไหลผ่านขดลวดอาร์เมเจอร์และแท่งตัวนําความต้านทานตํ่า
73

รู ปที่ 19 การขนานเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบอนุกรม

9.2 การขนานเครื่องกําเนิดไฟฟ้ าแบบขนาน (Shunt generator in parallel)


การขนานเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนานสามารถทําได้ดงั รู ปที่ 20 ถ้า
เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงเครื่ องที่ 1 กําลังจ่ายโหลดอยู่ แต่กาํ ลังไฟฟ้ าของเครื่ องกําเนิด
ไฟฟ้ าน้อยกว่ากําลังไฟฟ้ าของโหลด จึงจําเป็ นต้องเดินเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าเครื่ องที่ 2 เพื่อช่วย
ในการจ่ายกระแสไฟฟ้ าให้กบั โหลด โดยการเริ่ มเดินตัวต้นกําลังขับเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าเครื่ อง
ที่ 2 หลังจากนั้นต้องทําการกระตุน้ เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าเครื่ องที่ 2 โดยการปรับที่รีโอสแตต
จนได้แรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั เท่ากับแรงดันไฟฟ้ าที่สายส่ ง V แล้วจึงสับสวิตช์ S2 ของเครื่ อง
กําเนิดไฟฟ้ าเครื่ องที่ 2 เข้ากับสายส่ ง V แต่ยงั ไม่ได้ช่วยจ่ายโหลด ในขณะนี้เครื่ องกําเนิด
เครื่ องที่ 2 จะอยูใ่ นสภาวะลอยตัว (Floating) ถ้าต้องการให้เครื่ องกําเนิดตัวที่ 2 ช่วยจ่าย
โหลดจะต้องปรับแรงดันไฟฟ้ าของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าเครื่ องที่ 2 ให้สูงกว่าเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า
เครื่ องที่ 1 เล็กน้อย โดยสังเกตที่แอมมิเตอร์ I 2 ของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าเครื่ องที่ 2 ซึ่ งจะ
ค่อย ๆ เพิ่มขึ้น ในขณะเดียวกันแอมมิเตอร์ I1 ของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าเครื่ องที่ 1 ก็จะค่อย ๆ
ลดลง เมื่อเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าเครื่ องที่ 2 ช่วย จ่ายโหลดตามขนาดกระแสที่ตอ้ งการแล้วให้
74

หยุดปรับแรงดันไฟฟ้ าของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าเครื่ องที่ 2 และสังเกตว่าแอมมิเตอร์ท้ งั สองจะ


ไม่มีเปลี่ยนแปลง แสดงว่าเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าเครื่ องที่ 2 ได้ช่วยจ่ายโหลดแล้ว
ถ้าต้องการปลดเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าออกจากระบบสามารถทําได้โดยการค่อย ๆ ลด
แรงดันไฟฟ้ าของเครื่ องที่ตอ้ งการจะปลดออก จนกระทัง่ กระแสไฟฟ้ าที่จ่ายออกจากเครื่ อง
กําเนิดไฟฟ้ าเครื่ องนั้นลดลงเป็ นศูนย์ แล้วทําการยกสวิตช์ปลดเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าออกจาก
ระบบ แล้วหยุดตัวต้นกําลังขับเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าตัวนั้น

รู ปที่ 20 การขนานเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนาน


75

9.3 การขนานเครื่องกําเนิดไฟฟ้ าแบบผสม (Compound generator in parallel)


การขนานเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบผสมสามารถทําได้ โดยการต่อแท่ง
ตัวนําความต้านทานตํ่า (Equalizing bar) เข้าไป ดังแสดงในรู ปที่ 21 เพื่อป้ องกันการทํางาน
ของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าในสภาวะที่ไม่เสถียร (Unstable) ซึ่ งอาจเกิดจากความเร็ วของตัวต้น
กําลังขับของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าเครื่ องใดเครื่ องหนึ่งเปลี่ยนแปลงชัว่ ขณะ จนทําให้เครื่ อง
กําเนิดไฟฟ้ าเครื่ องใดเครื่ องหนึ่งจ่ายโหลดมากเกินกําลัง ดังนั้นจึงต้องต่อแท่งตัวนําความ
ต้านทานตํ่า (Equalizing bar) เข้าไป เพื่อทําให้ขดลวดซี รีส์ฟิลด์ของเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าทั้ง
สองนั้นต่อขนานกัน เช่นเดียวกันกับการขนานเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนาน
และแท่งตัวนําความต้านทานตํ่าจะเปิ ดวงจรเมื่อเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ าจ่ายโหลดเพียงเครื่ องเดียว
ส่ วนใหญ่การขนานเครื่ องแบบนี้ไม่เป็ นที่นิยมใช้
76

รู ปที่ 21 การขนานเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบผสม


มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรง
มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรง (DC. Motor) เป็ นเครื่ องกลไฟฟ้ าที่ทาํ หน้าที่เปลี่ยนพลังงาน
ไฟฟ้ าให้เป็ นพลังงานกล โดยอาศัยหลักการเหนี่ยวนําจากเส้นแรงแม่เหล็กและมีโครงสร้างที่
เหมือนกับเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง (DC. Generator)

1. หลักการทํางานของมอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสตรง (Motor Principle)


เมื่อมีกระแสไฟฟ้ าไหลในตัวนํา ซึ่ งอยูใ่ นสนามแม่เหล็กย่อมทําให้เกิดแรงขึ้นบนตัวนํา
ในทิศทางตาม กฎมือซ้ายของเฟลมมิ่ง (Fleming’s Left Hand Rule) ซึ่ งกล่าวไว้วา่ “นิ้วชี้
แสดงทิศทางของเส้นแรงแม่เหล็ก นิ้วกลางแสดงทิศทางของกระแสไฟฟ้ า และนิ้วหัวแม่มือ
แสดงทิศทางของแรงที่เกิดขึ้น” ดังรู ปที่ 1

i Motion

i
F B

(ก) (ข)

รู ปที่ 1 การเกิดแรงบนตัวนําและกฎมือซ้ายของเฟลมมิ่ง
2

และขนาดของแรงที่เกิดขึ้นนี้สามารถหาได้จาก

F  Bil

เมื่อ F : แรงที่เกิดขึ้นบนตัวนํา (นิวตัน)


B : ความหนาแน่นสนามแม่เหล็ก (เวเบอร์/เมตร2)
i : กระแสที่ไหลในตัวนํา (แอมแปร์)
l : ความยาวของตัวนํา (เมตร)

หลักการของมอเตอร์ กระแสตรงก็เช่นกัน คือ เมื่อป้ อนกระแสไฟฟ้ าให้กบั ขดลวด


สนามแม่เหล็ก (Field winding) เพื่อสร้างสนามแม่เหล็กและทําให้มีกระแสไฟฟ้ าไหลกระแส
จะไปสร้างเส้นแรงแม่เหล็ก และถ้าป้ อนกระแสไฟฟ้ าให้กบั ขดลวดอาร์เมเจอร์ดว้ ยก็จะทํา
ให้เกิดแรง F และแรงบิด (Torque)  cond  F  r ขึ้นในขดลวด จึงทําให้ขดลวดอาร์เมเจอร์
เกิดการหมุน ซึ่ งทิศทางการหมุนจะเป็ นไปตามกฎมือซ้ายของเฟลมมิ่ง ดังแสดงในรู ปที่ 2

Force on armature
conductor

ia ia

Rotation

รู ปที่ 2 หลักการของมอเตอร์
3

2. แรงเคลือ่ นไฟฟ้าเหนี่ยวนําต้ านกลับ (Back e.m.f.)


นอกจากนี้ยงั พบว่า เมื่อป้ อนกระแสไฟฟ้ า ( ia ) ให้กบั ขดลวดอาร์เมเจอร์จะทําให้
ขดลวดอาร์เมเจอร์เกิดการหมุน และทําให้ขดลวดอาร์เมเจอร์ วงิ่ ตัดผ่านเส้นแรงแม่เหล็กที่
เกิดจากสนามแม่เหล็กหลัก จึงทําให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ าขึ้นในขดลวดอาร์เมเจอร์ ซึ่ งหาได้
จากกฎมือขวาของเฟลมมิ่ง และพบว่าแรงเคลื่อนไฟฟ้ าที่เกิดขึ้นนี้จะมีทิศทางตรงกันข้ามกับ
แรงเคลื่อนไฟฟ้ าที่ป้อนให้กบั มอเตอร์ จึงเรี ยกแรงเคลื่อนไฟฟ้ าที่เกิดขึ้นนี้วา่ แรงเคลื่อน
ไฟฟ้ าต้ านกลับ (Back e.m.f., Eb , eb ) ดังแสดงในรู ปที่ 3

ua
eb ia

รู ปที่ 3 ทิศทางของแรงเคลื่อนไฟฟ้ าต้านกลับ

แรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําต้านกลับที่เกิดขึ้นที่อาร์เมเจอร์สามารถหาได้จาก

ZP
Eb   Volts
2 a

และจากสมการแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําที่ได้ จะเห็นว่า Z, P, a นั้น เป็ นค่าคงที่ใน


มอเตอร์แต่ละตัว ดังนั้นจึงสามารถเขียนใหม่ได้ดงั นี้
4

Eb  K   Volts

 ZP 
เมือ่ K = ค่าคงที่ในมอเตอร์ไฟฟ้ า K  
 2 a 

จาก Eb 
ZP
 สามารถเขียนสมการแรงเคลื่อนไฟฟ้ าเหนี่ยวนําต้านกลับได้ใหม่ คือ
2 a

 ZPn
Eb  Volts
60 a

2 n 
เมือ่  = ความเร็ วเชิงมุม, rad / s    
 60 
n = ความเร็ วรอบของโรเตอร์, รอบ/นาที ( rpm. )

หรือ
Eb  K   n Volts

  ZP 
เมือ่ K = ค่าคงที่ในมอเตอร์ไฟฟ้ า K  
 60a 

ดังนั้น แรงเคลือ่ นไฟฟ้ าเหนี่ยวนําต้ านกลับทีเ่ กิดขึน้ ในมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงนั้น


จึงขึน้ อยู่กบั ตัวแปรดังต่ อไปนี้
1. ค่ าคงทีข่ องมอเตอร์ ไฟฟ้ า, K
2. เส้ นแรงแม่ เหล็กทีเ่ กิดขึน้ ในมอเตอร์ ไฟฟ้ า, 
3. ความเร็วรอบ, 
5

3. แรงบิดในมอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสตรง (Induced torque in dc machines)


แรงบิดที่เกิดขึ้นในมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรง (อาร์เมเจอร์) มีค่าเท่ากับ
ZP
 a   ind   Ia
2 a

และจากสมการแรงบิดที่ได้ จะพบว่า Z, P, a นั้น เป็ นค่าคงที่ในมอเตอร์แต่ละตัว


เช่นกัน ดังนั้นจึงสามารถเขียนใหม่ได้ดงั นี้

 a   ind  K I a

 ZP 
เมือ่ K = ค่าคงที่ในมอเตอร์ K  
 2 a 

ดังนั้น แรงบิดทีเ่ กิดขึน้ ในมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรง จึงขึน้ อยู่กบั ตัวแปรดังต่ อไปนี้
1. ค่ าคงทีข่ องเครื่องกลไฟฟ้ า, K
2. เส้ นแรงแม่ เหล็กทีเ่ กิดขึน้ ในเครื่องกลไฟฟ้ า, 
3. กระแสอาร์ เมเจอร์ , I a

และจาก กําลังทางกล = กําลังทางไฟฟ้ า


 a    Eb I a
2 n
a   Eb I a
60
60 Eb I a
a 
2 n
9.55Eb I a
 N m
n
6

แรงบิดทีป่ ลายเพลาของมอเตอร์ (Shaft torque, Tsh )

Eb  I a
แรงบิดที่เกิดขึ้นที่อาร์เมเจอร์ สามารถคํานวณได้จากสมการ  a 
2 n
60

แต่ไม่สามารถนํามาใช้ได้ เนื่องจากยังมีการสูญเสี ยที่แกนเหล็กและการสู ญเสี ยเนื่อง


จากความฝื ดในมอเตอร์อยูด่ ว้ ย (Iron and Friction losses)
ดังนั้น แรงบิดที่นาํ ไปใช้งานประโยชน์ ก็คือ แรงบิดที่ปลายเพลาของมอเตอร์ ( Tsh )
ซึ่ งหาได้จาก
B.H .P  746
Tsh 
2 n
60
Pin  PLosses

2 n
60

เมือ่ B.H.P. = แรงม้าที่ได้จากการเบรค


n = ความเร็ วรอบของโรเตอร์ , รอบ/นาที ( rpm. )

ดังนั้น จะได้ แรงบิดทีส่ ู ญเสีย (Losses torque) เท่ ากับ

TLoss  Ta  Tsh

หรือ
Pcore  Pfriction
TLosses  N m
2 n
60
7

ตัวอย่ าง เครื่องกลึงเครื่องหนึ่งถูกขับด้ วยสายพานทีค่ วามเร็ว 800 rpm. ด้ วยมอเตอร์


ไฟฟ้ ากระแสตรง 220 V ด้ วยความเร็ว 1800 rpm. เพือ่ กลึงแท่ งเหล็กทีม่ รี ัศมี 5 cm. โดยให้
ใบมีดรับแรงในแนวสั มผัสกับแท่ งเหล็ก 500 N จงคํานวณหาค่ า
a) กระแสของมอเตอร์
b) ถ้ ามอเตอร์ มปี ระสิ ทธิภาพ 90% และ Pulley เครื่องกลึงมีเส้ นผ่ าศูนย์ กลางเท่ ากับ
20 cm. จงหาขนาด Pulley ของมอเตอร์

วิธีทาํ
 cond  F  r  500  0.05  25 N  m

2 n 2  800
Pout     25   2094.395 Watt
60 60

2094.395
Pin   2327.106 Watt
0.9

2327.106
Ia   10.578 A
220

ถ้ าให้ nm และ Rm เป็ นความเร็ วรอบและเส้นผ่านศูนย์กลาง Pulley ของมอเตอร์


nLoad และ RLoad เป็ นความเร็ วรอบและเส้นผ่านศูนย์กลาง Pulley ของเครื่ องกลึง

 nm  Rm  nLoad  RLoad
1800  Rm  800  0.2
800  0.2
Rm 
1800
 8.889 cm.
8

ประสิ ทธิภาพของมอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสตรง (Efficiency,  )


ประสิ ทธิ ภาพของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรง คือ อัตราส่ วนของกําลังไฟฟ้ าที่จ่ายออก
หรื อกําลังเอาต์พตุ ต่อกําลังไฟฟ้ าที่ได้รับหรื อกําลังอินพุต นัน่ คือ

Efficiency,  
Power output
Power input
 100%

การรักษาระดับความเร็วรอบ (Speed regulation)


เป็ นการรักษาระดับความเร็ วรอบของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรง ในสภาวะไม่มีโหลด
(No-load) จนกระทัง่ ถึงสภาวะมีโหลดเต็มที่ (Full-load) ถ้าการเปลี่ยนแปลงของความเร็ ว
รอบระหว่างไม่มีโหลดจนกระทัง่ มีโหลดเต็มที่มีนอ้ ย แสดงว่ามอเตอร์ไฟฟ้ ามีเรคกูเลชัน่ ที่ดี
เช่นเดียวกับเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง คือ

nNL  nFL
% SR  100%
nFL

4. ชนิดและคุณลักษณะของมอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสตรง
มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงนั้น สามารถแบ่งตามลักษณะของการกระตุน้ ขดลวดสนาม
แม่เหล็ก (Field coil) ได้เป็ น 2 ประเภท เช่นเดียวกับเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง คือ
1. มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบกระตุ้นแยก (Separately excited motor)
2. มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบกระตุ้นตัวเอง (Self excited motor)
2.1 มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบอนุกรม (Series motor)
2.2 มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนาน (Shunt motor)
2.3 มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบผสม (Compound motor)
9

4.1 มอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสตรงแบบกระตุ้นแยก (Separately excited dc motor)


การกระตุน้ ขดลวดสนามแม่เหล็กให้มีอาํ นาจแม่เหล็กในมอเตอร์ไฟฟ้ าชนิดนี้ จะใช้
แหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรงจากภายนอกเป็ นตัวกระตุน้ เช่นเดียวกันกับกรณี ของเครื่ องกําเนิด
ไฟฟ้ ากระแสตรง ดังแสดงในรู ปที่ 4 ดังนั้นมอเตอร์ชนิดนี้จึงสามารถปรับเส้นแรงแม่เหล็ก
ได้อย่างอิสระต่อกระแสอาร์เมเจอร์ ทําให้สามารถควบคุมได้ง่าย มักใช้ในงานระบบบังคับ
การเคลื่อนที่ตอ้ งการแรงบิดสู ง

รู ปที่ 4 วงจรสมมูลของมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบกระตุน้ แยก

สมการแรงเคลือ่ นไฟฟ้ าต้ านกลับของมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบกระตุ้นแยก คือ

Eb  Vt  I a Ra Volts

เมือ่ Eb = แรงเคลื่อนไฟฟ้ าต้านกลับ


Vt = แรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั หรื อแรงดันไฟฟ้ าที่จ่ายให้กบั มอเตอร์
Ia = กระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านขดลวดอาร์เมเจอร์
Ra = ความต้านทานขดลวดอาร์เมเจอร์
10

คุณลักษณะของมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบกระตุ้นแยก


T,P,n, 

Speed Torque

Power

Efficiency

Ia
0 A

รู ปที่ 5 กราฟคุณลักษณะของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบกระตุน้ แยก

Eb  Vt  I a Ra
 ind
K  Vt  Ra
K
V 
  t  ind 2 Ra
K  K 
11

4.2 มอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสตรงแบบกระตุ้นตัวเอง (Self excited motor)


การกระตุน้ ขดลวดสนามแม่เหล็กให้มีอาํ นาจแม่เหล็กในมอเตอร์ไฟฟ้ าชนิดนี้ จะอาศัย
ไฟฟ้ ากระแสตรงจากภายในตัวมอเตอร์เองในการกระตุน้ เช่นเดียวกับกรณี ของเครื่ องกําเนิด
ไฟฟ้ ากระแสตรง มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบกระตุน้ ตัวเองนี้ สามารถแบ่งตามลักษณะ
ของการต่อขดลวดสนามแม่เหล็กกับอาร์เมเจอร์ได้อีก 3 ชนิด คือ

4.2.1 มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบอนุกรม (Series motor)


มอเตอร์ชนิดนี้ขดลวดสนามแม่เหล็กจะต่ออนุกรมอยูก่ บั วงจรอาร์เมเจอร์ ดังแสดงใน
รู ปที่ 6

รู ปที่ 6 วงจรสมมูลของมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบอนุกรม

สมการแรงเคลือ่ นไฟฟ้ าต้ านกลับของมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบอนุกรม สามารถหาได้


จาก

Eb  Vt  I a ( Ra  Rs ) Volts

เมือ่ Rs = ความต้านทานขดลวดสนามแม่เหล็กต่ออนุกรม หรื อขดลวดซี รีส์ฟิลด์


12

คุณลักษณะของมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบอนุกรม

ปกติ  ind   I a

แต่ Series   Ia

  ind  I a2

ปกติ Eb   m

Eb
 m 

เมือ่
  Ia

รู ปที่ 7 กราฟคุณลักษณะของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบอนุกรม


13

เมื่อมันได้รับแรงดันไฟฟ้ าที่คงที่ค่าหนึ่ง แรงบิดที่เกิดขึ้นจะเปลี่ยนไป และความเร็ ว


จะเปลี่ยนไปอย่างมาก ภายใต้สภาพการเปลี่ยนแปลงของโหลด กล่าวคือ เมื่อมีโหลดเพิม่ ขึ้น
มาก ๆ จะทําให้มอเตอร์ ตอ้ งใช้กระแสมาก ๆ (เส้นแรงแม่เหล็กมาก เนื่องจากเส้นแรง
แม่เหล็กเป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับกระแสอาร์เมเจอร์) แรงบิดที่เกิดขึ้นก็จะสู งตามไปด้วย เนื่อง
จากแรงบิดของมอเตอร์เป็ นสัดส่ วนโดยตรงกับกระแสอาร์เมเจอร์ แต่ความเร็ วของมอเตอร์
จะลดลง เนื่องจากความเร็ วจะแปรผกผันกับเส้นแรงแม่เหล็ก ดังนั้น การใช้งานมอเตอร์ชนิด
นี้จะต้องไม่สตาร์ทในขณะที่ไม่มีโหลด เพราะจะทําให้มีความเร็ วสูงมากเกินไป จนเป็ น
อันตรายกับมอเตอร์ได้ จึงเหมาะที่จะนําไปใช้งานได้ในภาวะเฉพาะเมื่อต้องการแรงบิดสูงที่
ความเร็ วตํ่า แรงบิดตํ่าที่ความเร็ วสู ง หรื อใช้ฉุดโหลดเริ่ มแรกที่มีโหลดหนัก ๆ ได้ดี เช่น
ระบบการขับเคลื่อนของรถลาก เครื่ องยก เครน ลิฟต์ ปั้ นจัน่ เป็ นต้น
14
15
16
17

4.2.2 มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนาน (Shunt motor)


มอเตอร์ชนิดนี้ขดลวดสนามแม่เหล็กจะต่อขนานอยูก่ บั วงจรอาร์เมเจอร์ ดังแสดงใน
รู ปที่ 8

รู ปที่ 8 วงจรสมมูลของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนาน

สมการแรงเคลือ่ นไฟฟ้ าต้ านกลับของมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนาน สามารถหาได้


จาก
Eb  Vt  I a Ra Volts

เมือ่ Eb = แรงเคลื่อนไฟฟ้ าต้านกลับ


Vt = แรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั หรื อแรงดันไฟฟ้ าที่จ่ายให้กบั มอเตอร์
Ia = กระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านขดลวดอาร์เมเจอร์
Ra = ความต้านทานขดลวดอาร์เมเจอร์
18

คุณลักษณะของมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนาน

Eb  Vt  I a Ra
 ind
K  Vt  Ra
K
V 
  t  ind 2 Ra
K  K 

รู ปที่ 9 กราฟคุณลักษณะของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนาน

เมื่อมันได้รับแรงดันไฟฟ้ าคงที่ จะทําให้เกิดเส้นแรงแม่เหล็กคงที่ ในขณะที่ไม่มี


โหลดนั้นมอเตอร์ จะกระแสเพียงเล็กน้อยเท่านั้นเพื่อให้เอาชนะความฝื ด แต่เมื่อมอเตอร์มี
โหลด กระแสในมอเตอร์จะสู งขึ้น แต่ความเร็ วจะลดลงเพียงเล็กน้อย เนื่องจากเส้นแรง
แม่เหล็กมีค่าคงที่ ซึ่ งอัตราการเปลี่ยนแปลงความเร็ วของมอเตอร์ชนิดนี้จากสภาวะไม่มีโหลด
จนถึงโหลดเต็มพิกดั จะอยูภ่ ายใน 10% ของสภาวะไม่มีโหลดเท่านั้น ดังนั้นมอเตอร์ชนิดนี้
จึงถือได้วา่ เป็ นมอเตอร์ ที่มีความเร็ วค่อนข้างที่จะคงที่ แต่แรงบิดขณะเริ่ มหมุนจะตํ่าประมาณ
1.5 เท่าของแรงบิดที่โหลดเต็มพิกดั จึงไม่เหมาะกับงานที่ตอ้ งการแรงบิดเริ่ มหมุนสู ง ๆ
หรื อไม่ใช้ในการสตาร์ ทโหลดที่หนัก ๆ ดังนั้น มอเตอร์ชนิดนี้จึงนิยมนําไปใช้งาน เช่น
เครื่ องกลึง เครื่ องเจาะ ปั๊ มแบบลูกสู บ เป็ นต้น
19
20
21
22

4.2.3 มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบผสม (Compound motor)


มอเตอร์ชนิดนี้ เป็ นมอเตอร์กระแสตรงที่รวมเอาคุณสมบัติของมอเตอร์แบบอนุกรม
และมอเตอร์แบบขนานเข้าด้วยกัน ดังนั้นขดลวดสนามแม่เหล็กจึงประกอบไปด้วยขดลวด
ชันต์ฟิลด์และขดลวดซี รีส์ฟิลด์ ดังแสดงในรู ปที่ 10

รู ปที่ 10 วงจรสมมูลของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบผสม


(ก) แบบลองชันต์คอมปาวด์
(ข) แบบซ๊อตชันต์คอมปาวด์
23

สมการแรงเคลือ่ นไฟฟ้ าต้ านกลับของมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบซ๊ อตชันต์ คอมปาวด์


สามารถหาได้จาก

Eb  Vt  I a Ra  I s Rs Volts

เมือ่ Vt = แรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั หรื อแรงดันไฟฟ้ าที่จ่ายให้กบั มอเตอร์


Ia = กระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านขดลวดอาร์เมเจอร์
Is = กระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านขดลวดซี รีส์ฟิลด์
Ra = ความต้านทานขดลวดอาร์เมเจอร์
Rs = ความต้านทานขดลวดซี รีส์ฟิลด์

สมการแรงเคลือ่ นไฟฟ้ าต้ านกลับของมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบลองชันต์ คอมปาวด์


สามารถหาได้จาก

Eb  Vt  I a ( Ra  Rs ) Volts

เมือ่ Vt = แรงดันไฟฟ้ าที่ข้ วั หรื อแรงดันไฟฟ้ าที่จ่ายให้กบั มอเตอร์


Ia = กระแสไฟฟ้ าที่ไหลผ่านขดลวดอาร์เมเจอร์
Ra = ความต้านทานขดลวดอาร์เมเจอร์
Rs = ความต้านทานขดลวดซี รีส์ฟิลด์
24

คุณลักษณะของมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบผสม

รู ปที่ 11 กราฟคุณลักษณะของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบผสม

มอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบผสมที่ มีการต่ อเป็ น แบบคิ วมูเลทีฟ (Cumulative


compound motor) การต่อแบบนี้จะทําให้เส้นแรงแม่เหล็กที่เกิดขึ้นที่ขดลวดชันต์ฟิลด์และ
ขดลวดซีรีส์ฟิลด์มีทิศทางเสริ มกัน จึงทําให้เส้นแรงแม่เหล็กรวมมีค่าเพิ่มขึ้น ดังนั้นจึงส่ งผล
ทําให้ความเร็ วลดลงอย่างรวดเร็ ว เนื่องจากความเร็ วจะแปรผกผันกับเส้นแรงแม่เหล็ก แต่จะ
ให้แรงบิดเริ่ มหมุนสู ง ในการนํามอเตอร์ชนิดนี้ไปใช้งานนั้นมักนําไป ใช้กบั การขับโหลด
หนัก ๆ เช่น เครื่ องกลึง เครื่ องเจาะ ระบบบันไดเลื่อน เป็ นต้น
25

สําหรั บมอเตอร์ ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบผสมที่ มีการต่ อเป็ น แบบดิฟเฟอเรนเชี ยล


(Differential compound motor) การต่อแบบนี้จะทําให้เส้นแรงแม่เหล็กที่เกิดขึ้นที่ขดลวด
ชันต์ฟิลด์และขดลวดซี รีส์ฟิลด์มีทิศทางตรงกันข้ามกัน จึงทําให้เส้นแรงแม่เหล็กรวมมีค่า
ลดลง เมื่อโหลดมีค่าเพิ่มขึ้นจะทําให้ความเร็ วของมอเตอร์คงที่อยูช่ วั่ ขณะหนึ่ง แต่ถา้ เพิ่ม
โหลดเข้าไปอีกก็จะส่ งผลทําให้ความเร็ วรอบของมอเตอร์เพิม่ ขึ้นอีก แต่ถา้ มอเตอร์ได้รับ
โหลดมากจนเกินไปจะทําให้สนามแม่เหล็กลดลงไปอย่างมาก นัน่ คือความเร็ วรอบของ
มอเตอร์ จะมีแนวโน้มเพิ่มสู งขึ้น ๆ อย่างไม่มีเสถียรภาพ จนอาจทําความเสี ยหายให้กบั
มอเตอร์ได้ ดังนั้น มอเตอร์ชนิดนี้จึงเหมาะนําไปใช้กบั การขับโหลดที่ตอ้ งการความเร็ วรอบ
คงที่มาก ๆ
26
27
28

วิธีการเริ่มเดินมอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสตรง (Starting methods for dc motor)


มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงนั้นมีค่าความต้านทานของขดลวดอาร์เมเจอร์ต่าํ มาก ดังนั้น
ในขณะที่มอเตอร์เริ่ มหมุนนั้น จะเกิดแรงดันไฟฟ้ าตกคร่ อมที่อาร์เมเจอร์เต็มที่ จึงทําให้
กระแสมีค่าสู งมาก ซึ่ งจะเกิดอันตรายขึ้นกับขดลวดอาร์เมเจอร์ได้ ดังนั้นจึงจําเป็ นต้ องใช้
อุปกรณ์ ช่วยหมุน เพือ่ ช่ วยลดกระแสทีไ่ หลผ่ านขดลวดอาร์ เมเจอร์ สําหรับวิธีการเริ่ มเดิน
มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงนั้น สามารถกระทําได้หลายวิธีดงั ต่อไปนี้

1. การลดแรงดันอาร์ เมเจอร์ หรือการควบคุมแรงดันไฟฟ้า


(Reduced armature voltage or Voltage control)
การเริ่ มเดินมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงด้วยวิธีการควบคุมแรงดันไฟฟ้ านี้ จะต้องใช้
แหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรง 2 แหล่งจ่าย คือ แหล่งจ่ายไฟฟ้ ากระแสตรงที่มีค่าคงที่ (Fixed
DC. Source) เพื่อจ่ายให้กบั วงจรขดลวดสนามแม่เหล็กของมอเตอร์ และแหล่งจ่ายไฟฟ้ า
กระแสตรงชนิดปรับค่าได้ (Variable DC. Source) เพื่อจ่ายให้กบั วงจรขดลวดอาร์เมเจอร์
โดยจะต้องจ่ายแรงดันไฟฟ้ าให้กบั ขดลวดสนามแม่เหล็กไว้ก่อน หลังจากนั้นค่อย ๆ จ่าย
แรงดันไฟฟ้ าให้กบั ขดลวดอาร์เมเจอร์เพิ่มขึ้นทีละนิด ๆ เพื่อเป็ นการลดกระแสขณะเริ่ มหมุน
ดังแสดงในรู ปที่ 12

รู ปที่ 12 วงจรช่วยหมุนแบบวิธีควบคุมแรงดันอาร์เมเจอร์
29

2. การเริ่มเดินโดยใช้ ตวั ต้ านทาน (Resistance starter)


การเริ่ มเดินมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงด้วยวิธีน้ ี จะต้องต่อความต้านทานภายนอก
อนุกรมเข้ากับขดลวดอาร์เมเจอร์ เพื่อใช้เป็ นตัวจํากัดกระแสในขณะเริ่ มหมุน เมื่อมอเตอร์มี
ความเร็ วเพิม่ ขึ้นแล้วความต้านทานที่ต่ออยูก่ ็จะถูกปรับให้มีค่าลดลง ดังแสดงในรู ป ความ
ต้านทานที่นาํ มาต่อนี้ เรี ยกว่า ความต้ านทานสําหรั บสตาร์ ท (Resistance starter)

3. การเริ่มเดินโดยใช้ สตาร์ ทเตอร์ แบบอัตโนมัติ (Automatic starter)


การเริ่ มเดินมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงด้วยวิธีน้ ี มีหลักการเดียวกับการใช้ตวั ต้าน-
ทานดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เพียงแต่วธิ ีน้ ีจะใช้ตวั สตาร์ทแบบอัตโนมัติดว้ ยวิธีการกดปุ่ ม
สตาร์ทเริ่ มเดิน แล้วปรับเปลี่ยนค่าความต้านทานจะเป็ นไปอย่างอัตโนมัติ โดยการใช้แมก-
เนติกคอนแทกเตอร์
30

วิธีการควบคุมความเร็วของมอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสตรง
(Speed control methods of dc motor)
มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงนับได้วา่ มีบทบาทและความสําคัญต่องานอุตสาหกรรมใน
ปั จจุบนั ในงานบางอย่างมีความจําเป็ นต้องใช้ความเร็ วรอบของมอเตอร์ที่ต่าง ๆ กัน ซึ่ งเรา
สามารถทําได้โดยการควบคุมความเร็ วของมอเตอร์ได้จากความสัมพันธ์ดงั นี้ คือ

Eb  Vt  I a Ra
แต่ Eb  K
Vt  I a Ra
 
K

จากสมการความสัมพันธ์ขา้ งต้น เราจึงสามารถควบคุมความเร็ วของมอเตอร์ โดยการ


ควบคุมเส้นแรงแม่เหล็ก  การควบคุมวงจรอาร์เมเจอร์ Vt และการควบคุมความต้านทาน
ของวงจรอาร์เมเจอร์ได้ ดังจะได้กล่าวต่อไป
31

การควบคุมความเร็วและการตอบสนองต่ อการเปลีย่ นแปลงของโหลดทางกล


การเปลีย่ นแปลงแรงดันอาร์ เมเจอร์ - (ไม่ คดิ ผลของ L)

Vt  Eb
Ia 
Ra
d
J  Tm  TL
dt

Tm  K I a

Eb  K
32

การเปลีย่ นแปลงโหลดทางกล - (ไม่ คดิ ผลของ L)

d
J  Tm  TL
dt

Eb  K

Vt  Eb
Ia 
Ra

Tm  K I a
33
34

1. การควบคุมวงจรอาร์ เมเจอร์ (Armature control)


เป็ นการควบคุมกระแสโดยผ่านแรงดันที่ป้อนให้กบั วงจรอาร์เมเจอร์ ซึ่ งจะให้
ผลตอบสนองที่รวดเร็ ว และสามารถควบคุมแรงบิดของมอเตอร์ได้โดยตรง โดยการควบคุม
กระแสอาร์เมเจอร์ ซึ่ งสามารถควบคุมผ่านทางแรงดันที่ป้อนให้กบั มอเตอร์ การควบคุมด้วย
วิธีน้ ีจะใช้เมื่อต้องการให้ความเร็ วตํ่ากว่าความเร็ วที่พิกดั

2. การควบคุมวงจรสนามแม่ เหล็ก (Field control)


เป็ นการควบคุมสนามแม่เหล็ก โดยการควบคุมกระแสที่ไหลผ่านขดลวดสนาม
แม่เหล็ก I f , I S เพื่อใช้สร้างสนามแม่เหล็ก เนื่องจากไม่สามารถปรับความเร็ วของมอเตอร์
ด้วยการปรับแรงดันที่ป้อนให้กบั มอเตอร์ได้ แต่หากลดค่ากระแสสนามลงจะทําให้ความเร็ ว
ของมอเตอร◌์เพิ่มขึ้นได้ การลดกระแสสนามจะทําให้ฟลักซ์แม่เหล็ก ( ) ลดลง แต่มีขอ้ เสี ย
คือ ผลตอบสนองช้า เนื่องจากค่าความเหนี่ยวนําของวงจรสนามมีค่ามากกว่าวงจรอาร์เมเจอร์
จึงทําให้ไม่สามารถควบคุมแรงบิดของมอเตอร์ได้โดยตรง และการทํางานอาจไม่เสถียรเนื่อง
จากผลของปฏิกิริยาอาร์เมเจอร์◌์ (Armature reaction) แต่มีขอ้ ดีคือ การควบคุมทําได้ง่ายกว่า
แบบแรก จึงเหมาะสําหรับงานที่ตอ้ งการควบคุมความเร็ วเพื่อให้ได้ความเร็ วตาม ที่ตอ้ งการ
35

3. การควบคุมวงจรอาร์ เมเจอร์ และวงจรสนามแม่ เหล็ก (Combined armature


and field flux control)
เป็ นการนําการควบคุมวิธีที่ 1 และ 2 มาใช้ในการควบคุมความเร็ วมอเตอร์
กระแสตรงร่ วมกัน โดยการควบคุมกระแสหรื อแรงดันที่ป้อนให้กบั วงจรอาร์เมเจอร์ และ
ควบคุมสนามแม่เหล็กโดยการควบคุมกระแสสนามที่ใช้สร้างสนามแม่เหล็ก โดยสามารถ
เปลี่ยนสภาวะการทํางานได้อย่างต่อเนื่องโดยอัตโนมัติ ซึ่ งทําให้สามารถควบคุมแรงบิดของ
มอเตอร์ได้โดยตรง และยังสามารถควบคุมความเร็ วของมอเตอร์ให้คงที่ตามค่าความเร็ ว
คําสัง่ ได้ ดังแสดงในรู ป

Tm

Pm

Ia


0 Base speed Maximum speed

Armature control Field control


36

4. การควบคุมความต้ านทานของวงจรอาร์ เมเจอร์ (Armature resistance


control)
เป็ นการปรับความต้านทานของวงจรอาร์เมเจอร์ โดยการต่อความต้านทาน
Rcont , Rhe อนุกรมกับวงจรอาร์ เมเจอร์ แต่วิธีน้ ี มีประสิ ทธิ ภาพตํ่า เพราะมีการสู ญเสี ยเกิดขึ้น
ที่ความต้านทาน จึงไม่นิยมใช้กนั วงจรและกราฟคุณลักษณะของการควบคุมด้วยวิธีน้ ีแสดง
ดังรู ป

 Increasing Re

Tm
37

The Ward-Leonard System


38

The Solid-State Speed Controllers


39
40
41
42

การเบรคมอเตอร์ ไฟฟ้ากระแสตรง (Braking of DC. motor)


การชะลอความเร็ วของมอเตอร์ให้หมุนช้าลง และหยุดหมุนด้วยความรวดเร็ วเกือบ
ทันทีทนั ใดนั้น เรี ยกว่า การเบรคมอเตอร์ (Braking) และที่นิยมใช้กนั อย่างแพร่ หลายนั้น
ได้แก่ ปลัก๊ กิง (Plugging), ไดนามิค (Dynamic) และรี เยนเนอเรตีฟ (Regenerative braking)
ดังมีรายละเอียดต่อไปนี้

1. ปลัก๊ กิง (Plugging) เป็ นการเบรคมอเตอร์ดว้ ยวิธีกลับขั้วแรงดันไฟฟ้ าที่จ่าย


ให้กบั ขดลวดอาร์เมเจอร์ในทางตรงกันข้าม ซึ่ งค่ากระแสมอเตอร์ขณะเบรคนั้นจะมีทิศทาง
การไหลตรงกันข้ามกับกระแสโหลด ดังนั้นแรงบิดที่เบรคมอเตอร์กจ็ ะมีทิศทางตรงกันข้าม
ในลักษณะต่อต้านกับแรงบิดหมุนขับมอเตอร์ตามปกติดว้ ย สําหรับกระแสมอเตอร์ขณะ
เบรคนี้ไม่ควรให้สูงจนเกินไป ควรจํากัดไว้ประมาณ 1.4-1.75 เท่าของกระแสเต็มพิกดั ด้วย
การต่อตัวต้านทานอนุกรมกับขดลวดอาร์เมเจอร์ ซึ่ งเรี ยกว่า Braking Resistor เช่นเดียวกับ
ความต้านทานเริ่ มหมุน Starting resistor ดังรู ป ส่ วนใหญ่ จะนิยมใช้ ในระบบบันไดเลือ่ น

รู ปที่ 18 การเบรคมอเตอร์แบบปลัก๊ กิง


43

2. ไดนามิค (Dynamic braking) เป็ นการเบรคมอเตอร์ดว้ ยการทําให้มอเตอร์


เปลี่ยนสภาพการทํางานเป็ นเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า และส่ งพลังงานไฟฟ้ าทั้งหมดจากอาร์เมเจอร์
ไปยังวงจรเบรค (Braking Resistor) เพื่อทําให้แรงเคลื่อนไฟฟ้ าต้านกลับมีค่าลดลง โดยการ
จ่ายผ่านตัวต้านทาน ดังแสดงในรู ปที่ 19

Shunt motor

Series motor

รู ปที่ 19 การเบรคมอเตอร์แบบขนานแบบไดนามิค
44

3. รีเยนเนอเรตีฟ (Regenerative braking) เป็ นการเบรคมอเตอร์ที่คล้ายกับ


Dynamic braking เพียงแต่พลังงานทั้งหมดของมอเตอร์ขณะเบรคแทนที่จะใช้ไปเพื่อการ
สู ญเสี ยเนื่องจาก Braking Resistor เพียงอย่างเดียว มอเตอร์กบั ป้ อนพลังงานที่กาํ เนิดขึ้นมา
กลับไปแหล่งจ่ายไฟฟ้ า (มอเตอร์ทาํ หน้าที่เป็ นเครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า) ด้วยการเพิม่ สนาม
แม่เหล็กในมอเตอร์ให้สูงขึ้น มอเตอร์จะสร้างแรงเคลื่อนไฟฟ้ าต้านกลับขึ้นมาและสู งกว่า
แรงดันของแหล่งจ่ายไฟฟ้ า จะทําให้กระแสและแรงบิดกลับทิศทางจากเดิมและความเร็ วของ
มอเตอร์ก็จะลดลง จนกระทัง่ แรงเคลื่อนไฟฟ้ าต้านกลับมีค่าน้อยกว่าแรงดันที่แหล่งจ่ายไฟฟ้ า
ดังนั้น ระบบนี้จึงไม่จาํ เป็ นต้องมี Braking Resistor ส่ วนใหญ่จะนิยมใช้กบั ระบบรถไฟฟ้ า
เป็ นต้น

You might also like