You are on page 1of 5

Pile Group เสาเข็มกลุ่มรับแรงอัด

Engineer:
ระยะห่างศูนย์กลางของเสาเข็ม, S = 1 m.
ขนาดความกว้างของเสาเข็ม, D = 0.40 m.
ระยะห่างศูนย์กลางต่อความกว้าง = 2.5 D*ตัวพิมพ์
S
η = ประสิ ทธิภาพของเสาเข็มกลุ่มรับแรงอัด D

Qult.group = กำลังรับน้ำหนักประลัยของเสาเข็มกลุ่ม
n = จำนวนเสาเข็มในกลุ่ม
"η= " "Qult.group
" /"n Qult "

กรณีเสาเข็มกลุ่มตอกในทราย
กรณี เสาเข็มกลุ่มตอกในทราย S ≥ 3B, η=1
กรณี เสาเข็มเจาะในทราย S ~3B, ให้ใช้ค่า η=0.67-0.75
กรณี เสาเข็มแบกทาน S ≥ 3B, η=1

กรณีเสาเข็มกลุ่มในดินเหนียว
ให้ใช้ค่าน้อยที่สุดระหว่าง
1). n Qult. = กำลังรับน้ำหนักประลัยของเสาเข็มกลุ่ม
2). Qult.group = ของเสาเข็มกลุ่มทั้งหมด
3). แถวของเสาเข็มที่มีระยะห่างของเสาเข็มน้อย (ตัวอย่างเช่นในกรณี ที่ 2)***(ติดไว้ก่อน)

"Qult.group "= 〖 "5.14c" 〗 _"u" ("1+0.2" "B" _"g" /"B" _"g" )


("1+0.2" "L" /"B" _"g" )("B" _"g" "L" _"g" )+∑▒ 〖 "2" ("B" _"g"
"+" "L" _"g" ) "c" _"u" "L" 〗 P.351-352 คูม่ อื วิศวกรรมฐานราก
รายการคำนวณ Lg
ดร.พัลลภ วิสท
ุ เ์ มธานุกล

Bg = มิติความกว้างทั้งหมด *ต้องคำนวณเอง* L
Lg = มิติความยาวทั้งหมด *ต้องคำนวณเอง*
Bg = 1.45 m. Cu end= 20 tsm Bg
Lg = 1.45 m. Cu fric= 6 tsm.
L = 9 m.(ลึก) n= 9
Qult group = 894.53 t. Qall single= 40 t. for single pile
SF. = 2.5 SF = 2.5
Qallow= 357.81 t. Qallow= 360.00 t. Qult = 100 t./pile

η= 0.994 Qallow group min = 357.81 t. Qallow = 39.76 t./pile


Excel Developed by WCK
Pile Group: The AASHTO(1990) ใช้ สมการของ Converse-Labarre
Engineer:

"η= " "Qult.group η = ประสิ ทธิภาพของเสาเข็มกลุ่มรับแรงอัด


" /"n Qult " Qult.group = กำลังรับน้ำหนักประลัยของเสาเข็มกลุ่ม
n = จำนวนเสาเข็มในกลุ่ม

กรณี ที่เสาเข็มเป็ นเสาเข็มที่รับแรงเสี ยดทานด้านข้าง(Friction pile) ซึ่ งเป็ นเสาเข็มตอกในชั้นดินที่


ไม่มีความเชื่อมแน่น(Cohesionless soil) ประสิ ทธิภาพของเสาเข็มกลุ่ม η อาจจะมีค่ามากกว่า หรื อ เท่ากับ 1
ในกรณี η ≥1 เนื่องจากชั้นดินที่ไม่มีความเชื่อมแน่นจะมีความหนาแน่นเพิ่มขึ้น เมื่อได้รับแรงสัน่ สะเทือน
และการแทนที่จากปริ มาตรของเสาเข็มจากการตอกเสาเข็ม
กรณี เสาเข็มกลุ่มรับแรงเสี ยดทานด้านข้าง(Friction pile) ที่ตอกในชั้นดินที่มีความเชื่อมแน่น (Cohesive soil)
ความสามารถในการรับน้ำหนักของเสากลุ่ม จะขึ้นอยูก่ บั แรงเสี ยดดิน โดยรอบกลุ่มของเสาเข็มและ
แรงต้านทานที่ปลายเข็ม ซึ่ งกรณี น้ี ค่าประสิ ทธิ ภาพของเสาเข็มจะมีค่าน้อยกว่า 1 ในกรณี η ≤1

The AASHTO(1990) ได้แนะนำให้ใช้สมการของ Converse-Labarre ในการคำนวณประสิ ทธิภาพของ


เสาเข็มกลุ่มที่รับแรงเสี ยดทานด้านข้าง(Friction pile) ดังสมการด้านล่าง

"η= 1−θ" ("n−1" )"m+"


("m−1" )"n" /"90mn"

ขนาดความกว้างของเสาเข็ม, D = 0.40 m.
ระยะห่างศูนย์กลางของเสาเข็ม, S = 1.05 m.
"θ = " 〖 "tan" 〗 S
^"−1" 0.364 D

ระยะห่างศูนย์⁡〖กลางต่
"D"อ/"S" 〗 าง ==
ความกว้ 2.625 D m
จำนวนเสาเข็มในแนวราบ, m = 3.00
จำนวนเสาเข็มในแนวดิ่ง, n = 3.00

η= 0.995 n

จำนวนเสาเข็มทั้งหมด mn = 9
Qult = 100 t./pile Qall single= 40 t. for single pile
SF = 2.5
ดัดแปลงจาก (อ่านเพิม ่ เติมได ้)
P 3-35 ถึง 3-37 Foundation
Engineering ผศ.สนิ ท พิพิธสมบัติ
Qallow = η Qall single* mn = ดัดแปลงจาก (อ่านเพิม ่ เติมได ้)
358.06 t. (ทั้งกลุ่ม) P 3-35 ถึง 3-37 Foundation
Engineering ผศ.สนิ ท พิExcel
พิธสมบั ติ by WCK
Developed
Pile Group เสาเข็มกลุ่มรับแรงอัด วิธีของ Feld .J
Engineer:
การหาประสิ ทธิภาพของเสาเข็มกลุ่มโดยวิธีของ Feld.J. วิธีน้ ีจะสามารถหา ประสิ ทธิภาพของเสาเข็มกลุ่มที่ติดตั้ง
ในรู ปแบบใด ๆได้ไม่เฉพาะที่เป็ นรู ปสี่ เหลี่ยมผืนผ้า โดย ใช้หลัก การนับ จํานวนเสาเข็มต้นที่ใกล้กบั เสาที่พิจารณา
และใช้ระยะห่างระหว่างเสาเข็ม เท่ากับ 3 เท่าของขนาดเสาเข็ม ประสิ ทธิภาพของเสาเข็มกลุ่ม โดยวิธีน้ ี
จะกําหนดให้เสาเข็มมี ประสิ ทธิ -ภาพลดลง 1/16 เท่า ของเสาเข็มเดี่ยว เมื่อมีเสาเข็มต้นข้างเคียง 1 ต้น
กรณี 2 ต้น "η= "1- η= 0.9375
2*(1/16)/2

กรณี 3 ต้น "η= "1- η= 0.875


3*(2/16)/3

กรณี 4 ต้น "η= "1- η= 0.813


4*(3/16)/4

กรณี 5 ต้น "η= "1- η= 0.800


(4*(3/16)+1(4/16))/5

กรณี 6 ต้น "η= "1-(4*(3/16)+2*(5/16))/6 η= 0.771

กรณี 9 ต้น "η= "1-(4*(3/16)+4*(5/16)+1*(8/16))/9 η = 0.722

ดัดแปลงจาก(อ่านเพิม ่ เติมได ้)
P 3-35 ถึง 3-37 Foundation
Engineering ผศ.สนิ ท พิพิธสมบัติ

จำนวนต้น 1 2 3 4 5 6 9
η= 1.000 0.9375 0.875 0.813 0.800 0.771 0.722
Excel Developed by WCK

You might also like