You are on page 1of 7

รายการคำนวณสมการทำนายระยะจมของเขื่อนกันคลื่นแบบลอยน้ำ

จากโมเดลเขื ่ อนกั นคลื ่ นแบบลอยน้ ำ นำมาวาดลงกระดาษ A3 จากนั ้ นลงพิ กั ดแล? วนำไปลงใน


โปรแกรม AutoCAD เพื่อหาพื้นที่หน?าตัด

รูปที่ 1 แสดงการหาพิกัดของเขื่อนกันคลื่น

รูปที่ 2 การแสดงผลจากโปรแกรม AutoCAD


จากโปรแกรม AutoCAD พื้นที่หน?าตัดของเขื่อนกันคลื่นแบบลอยน้ำมีคQาเทQากับ 396.89 ตร.ซม
(ยังไมQหักลบพื้นที่รูเจาะ) ดังนั้นเมื่อทราบพื้นที่หน?าตัดแล?วจึงสามารถนำไปแปลงเป[นรูปเทียบเทQาอยQางงQายได?
ดังตQอไปนี้

รูปที่ 3 รูปวัตถุจริง รูปที่ 4 รูปวัตถุเทียบเทQา

แปลงวัตถุจริงเป/นรูปเทียบเท6าอย6างง6าย
1. แปลงสQวนที่ 1
จากโปรแกรม AutoCAD พื้นที่สQวนที่ 1 มีคQาเทQากับ 154.89 ตร.ซม. (หักลบรูเจาะ 2 รู) จากนั้น
ทำการแปลงเป[นเป[นรูปสี่เหลี่ยมคางหมู ดังนี้
A = 0.5 × (b1 +b2 ) × h (1)
แทนคQา 154.89 = 0.5 × (b1 +b2 ) × 9.8
(b1 + b2 ) = 31.61 cm
ให? b1 = 6 cm จะได? b2 = 25.61 cm
2. แปลงสQวนที่ 2
จากโปรแกรม AutoCAD พื้นที่สQวนที่ 2 มีคQาเทQากับ 238.87 ตร.ซม (หักลบรูเจาะ 2 รู) จากนั้นทำ
การแปลงเป[นเป[นรูปสามเหลี่ยม ดังนี้
A = 0.5 × b × h (2)
แทนคQา 238.87 = 0.5 × b × 25
b = 19.11 cm
ตรวจสอบความถูกต=องของรูปเทียบเท6าอย6างง6าย

ระยะจม (cm) Area No. Ae Ar Cum. Ae Cum. Ar % Error


4.3 1 44.3 40.715 44.3 40.715 8.81
9.8 2 110.59 114.165 154.89 154.88 0.01
14.8 3 86 104.155 240.89 259.035 7.00
19.8 4 66.89 50.6 307.78 309.635 0.6
24.8 5 47.78 28.78 355.56 338.415 5.07
29.8 6 28.67 23.8 384.23 362.215 6.08
34.8 7 9.56 31.545 393.79 393.76 0.01
Average % Error 4.69

หาสมการระยะจมของเขื่อนกันคลื่น

จาก 𝐹! = 𝑊 (3)
𝜌" 𝑉# 𝑔 = 𝑀𝑔 (4)
$
𝑉# = %!
(5)
เมื่อ 𝑉! = ปริมาตรของสQวนที่จม (cm3)
𝑀 = มวลของวัตถุ (g)
𝜌" = ความหนาแนQนของน้ำ (g/cm3)
สมการของสQวนที่ 1

หาค%า y
(
𝜃 = tan&' )
*.,
= tan&'
-../'&/
𝜃 = 26.55 °

)
จาก tan (26.55) = (&/
)
𝑦−6= 012 (-/...)
𝑦 = 2𝑥 + 6
หาปริมาตรที่ระยะ x
จาก 𝑉# = 0.5 × (𝑏' + 𝑏- ) × 𝐿 × 𝑡
= 0.5 (6 + 𝑦) (𝑥 )(8)
-)6/
= >3 + @ (𝑥 )(8)
-
= (6 + 𝑥)(8𝑥)
𝑉# = 8𝑥 - + 48𝑥 (6)
𝑉# = 8(𝑥 + 3)- − 72 (Alternative forms จากโปรแกรม
WolframAlpha)
หาสมการทำนายระยะจมของเขื่อนกันคลื่น
จากสมการ (5)
$
𝑉# =
%!
$
แทนคQา 8(𝑥 + 3)- − 72 = '
$67-
(𝑥 + 3)- = ,
$67-
𝑥 = −3 ± D
,

) $67-
8
= E−3 ± D
,
F ∕𝐿 (7)
เงื่อนไขการใช?สมการที่ (7)
จากสมการที่ (5) 𝑀 = 𝑉# 𝜌"
= 0.5(6 + 25.61)(9.8)(8)(1)
= 1239 𝑔.
ดังนั้นสมการที่ (7) สามารถใช?ได?เมื่อ 𝑀 ≤ 1239 𝑔.
สมการของสQวนที่ 2

หาค%า y
(
𝜃 = tan&' )
-.
= tan&' '*.''
𝜃 = 52.61 °
-.&)6*.,
จาก tan (52.61) =
(
𝑦 = 26.597 − 0.764𝑥
หาปริมาตรที่ระยะ x
𝐴 = 0.5(𝑏' + 𝑏- )(ℎ) + พื้นทีข่ องสQวนที่ 1
𝐴 = 0.5 (19.11 + 26.597 − 0.764𝑥 )(𝑥 − 9.8) + 154.889
= (22.854 − 0.382𝑥)(𝑥 − 9.8) + 154.889
= 22.854𝑥 − 0.382𝑥 - − 223.964 + 3.744𝑥 + 154.889
𝐴 = 26.598𝑥 − 0.382𝑥 - − 69.075
𝑉# = 𝐴(𝑡) = 𝐴(8)
𝑉# = 212.784𝑥 − 3.056𝑥 - − 552.6 (8)
𝑉# = 3151.35 − 3.056(𝑥 − 34.814)- (Alternative forms จาก
โปรแกรม WolframAlpha)

หาสมการทำนายระยะจมของเขื่อนกันคลื่น
จากสมการ (5)
#
𝑉! =
$!
แทนคQา
𝑀
3151.35 − 3.056(𝑥 − 34.814)- =
1
𝑀 − 3151.35
−(𝑥 − 34.814)- =
3.056
3151.35 − 𝑀
𝑥 − 34.814 = ±M
3.056

3151.35 − 𝑀
𝑥 = ±M + 34.814
3.056

3151.35 − 𝑀
𝑥 = 34.814 ± M
3.056
3151.35 − 𝑀
E34.814 ± D F
𝑥 3.056
=
𝐿 𝐿
สรุป
สมการทำนายระยะจมของเขื่อนกันคลื่นมีสองสมการ ซึ่งเลือกใช?ตามเงื่อนไขดังนี้
) $67-
8
= E−3 ± D
,
F ∕𝐿 เมื่อ 𝑀 ≤ 1239 𝑔.

) 9'.'.9.&$
= E34.814 ± D F /𝐿 เมื่อ 𝑀 > 1239 𝑔.
8 9.:./

โดยที่ x = ระยะจมของเขื่อนกันคลื่นในน้ำ (cm.)


L = ความสูงของเขื่อนกันคลื่น (cm.)
M = มวลของเขื่อนกันคลื่น (g.)

You might also like