You are on page 1of 1

บทที่ 5

สรุปผลและข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการทดลองการหาขนาดเม็ดดิ นด้วยตะแกรงร่อน (Sieve Analysis)
ในมวลดินจำนวนหนึ่งย่อมประกอบด้วยเม็ดดินทีม่ ขี นำดต่ำงกัน ซึ่งกำรทีด่ นิ มีขนำดเม็ด
ดินแตกต่ำงกัน ทำให้สมบัตทิ ำงฟิ สกิ ส์ของดินมีควำมแตกต่ำงกันด้วย กล่ำวคือ ดินทีม่ สี ว่ นคละ
ของขนำดเม็ดดินแตกต่ำงกัน ทำให้สมบัตขิ องดินมีควำมแตกต่ำงกัน ส่งผลสืบเนื่องไปยังกำรนำ
ดินไปใช้งำน กำรทีจ่ ะรู้ว่ำดินมีส่วนคละของขนำดเม็ดดินเป็ นอย่ำงไร และดินทีท่ ำกำรทดสอบ
เป็ น ดิน ประเภทใด หนึ่ ง ในวิธที ่ที ำได้โดยง่ำยคือ กำรน ำดินที่จ ะทดสอบมำร่ อนผ่ำนตะแกรง
ขนำดต่ำงๆ โดยในกำรทดลองนี้ กลุ่มผูท้ ำกำรทดลองได้ทำกำรทดลอง ดินทีม่ ลี กั ษณะ จับตัว
เป็ นก้อน สีเทำปนน้ำตำล เนื้อดินค่อนข้ำงละเอียด และ มีฝ่ นุ เกิดขึน้ เมื่อทำให้เม็ดดินแตก
เมื่อทำตำมขัน้ ตอนกำรทดลองของกำรหำขนำดเม็ดดินด้วยตะแกรงร่อน พบว่ำปริมำณ
ดินหลังจำกทำกำรร่อนผ่ำนตะแกรงเบอร์ต่ำงๆ ขนำดของเม็ดดินมีขนำดอยูใ่ นช่วง 2 มิลลิเมตร
(ตะแกรงเบอร์ 10) จนถึง 75 ไมโครเมตร(ตะแกรงเบอร์ 200) พิจำรณำจำก เปอร์เซ็นต์คงข้ำง
และ เปอร์เซ็นต์ลอดผ่ำน โดยอ้ำงอิงขนำดของเม็ดดินจำกมำตรฐำน ASTM D422-63 และ เมื่อ
นำดินไปร่อนผ่ำนตะแกรงพร้อมกับฉีดน้ ำใส่ดนิ พบว่ำองค์ประกอบส่วนใหญ่ของดิน มีขนำดเล็ก
กว่ำ 75 ไมโครเมตร หรือทีเ่ รียกว่ำ ตะกอนดิน ได้ละลำยไปกับน้ ำและลอดผ่ำนตะแกรงเบอร์
200 อีกทัง้ จำกกำรพิจำรณำกรำฟแสดงควำมสัมพันธ์ระหว่ำง เปอร์เซ็นต์ลอดผ่ำน กับ ขนำด
ของเม็ดดิน สำมำรถสรุปได้วำ่ ดินทีท่ ดสอบมีกำรกระจำยตัวแบบ Gap Graded หรือเป็ นดินทีม่ ี
ส่วนคละของขนำดเม็ดดินต่ำงกันมำก

5.2 สรุปผลการทดลองการหาขนาดเม็ดดิ นด้วยไฮโดรมิ เตอร์ (Hydrometer Analysis)


จำกกำรทดลองกำรหำขนำดของเม็ดดินด้วยตะแกรงร่อน วิธนี ้ีสำมำรถทำกำรทดลอง
เพื่อหำขนำดของเม็ดดินทีม่ ขี นำดใหญ่กว่ำ 75 ไมโครเมตร หรือ ตะแกรงเบอร์ 200 ได้ แต่ไม่
สำมำรถวัดขนำดเม็ดดินทีม่ ขี นำดเล็กกว่ำ 75 ไมโครเมตรได้จงึ ต้องใช้กำรทดลองอีกวิธ ี นัน่ คือ
กำรหำขนำดเม็ดดินด้วยไฮโดรมิเตอร์
กำรหำขนำดเม็ดดินด้วยไฮโดรมิเตอร์ อำศัยหลักกำรตกตะกอนของเม็ดดินในน้ ำ เมื่อ
ดิน เกิด กำรแยกตัวออกในน้ ำ เม็ด ดิน จะเกิด กำรตกตะกอนด้วยควำมเร็วที่ต่ำงกัน ขึ้น อยู่กบั
รูปร่ำง ขนำด น้ำหนักและค่ำควำมหนืดของน้ ำ
เมื่อทำกำรทดลองตำมขัน้ ตอนกำรทดลองกำรหำขนำดเม็ดดินด้วยไฮโดรมิเตอร์ พบว่ำ
ขนำดของเม็ดดินทีไ่ ด้ เกิดจำกกำรนำค่ำทีอ่ ่ำนได้จำกไฮโดรมิเตอร์ไปทำกำรปรับแก้ แล้วนำ
ค่ำทีป่ รับแก้แล้ว ไปคำนวณเพื่อหำขนำดเส้นผ่ำศูนย์กลำงของเม็ดดิน ซึ่งค่ำทีไ่ ด้จะถูกนำเสนอ
ในรูปแบบของตำรำงและกรำฟแสดง ควำมสัมพันธ์ระหว่ำงเปอร์เซ็น ต์ ผ่ำนของเม็ด ดิน กับ
ขนำดของเม็ดดิน

You might also like