You are on page 1of 3

61

มทช.(ท) 501.11-2545
วิธีการทดสอบหา ก้ อนดินเหนียว
(CLAY LUMP)
-------------
1. ขอบข่ าย
วิธีการทดสอบนี ้ เป็ นการหาค่าของก้ อนดินเหนียว และวัสดุร่วน (FRIABLE) ที่ปะปนในวัสดุชนิดเม็ด
(AGGREGATES)

2. วิธีทา
2.1 เครื่องมือและอุปกรณ์ ประกอบด้ วย
2.1.1 เครื่ องชัง่ ต้ องสามารถชัง่ ได้ ละเอียดถึงร้ อยละ 0.1 ของน ้าหนักของตัวอย่าง
2.1.2 ภาชนะบรรจุ เป็ นภาชนะที่ไม่เป็ นสนิม และขนาดกว้ าง
2.1.3 ตะแกรงมาตรฐาน
2.1.4 ตู้อบ ต้ องสามารถควบคุมอุณหภูมิ ที่ 1105 องศาเซลเซียส (2309 องศาฟาเรนไฮต์)
2.2 การเตรียมตัวอย่ าง
2.2.1 ตัวอย่างต้ องอบให้ แห้ งที่อณ
ุ หภูมิ 1105 องศาเซลเซียส (2309 องศาฟาเรนไฮต์) จนน ้าหนักคงที่
2.2.2 ตัวอย่างของวัสดุชนิดเม็ดละเอียดที่มีขนาดใหญ่กว่าตะแกรงขนาด 1.18 มิลลิเมตร (เบอร์ 16) ควรหนักไม่
น้ อยกว่า 25 กรัม
2.2.3 ตัวอย่างของวัสดุชนิดเม็ดหยาบ ควรมีขนาดกระจายตาม ตารางที่ 1 และมีน ้าหนักของวัสดุชนิดเม็ด ไม่
น้ อยกว่าทีก่ าหนดในตารางที่ 1

ตารางที่ 1

นา้ หนักของตัวอย่ าง
ขนาดของเม็ด (Particle) ตัวอย่ างที่นามาทดสอบ
กรัม
4.75 - 9.5 มม. (เบอร์ 4 - 3/8 นิ ้ว) 1,000
9.5 - 19.0 มม. (3/8 - 3/4 นิ ้ว) 2,000
19.0 – 37.5 มม. (3/4 - 1 1/2 นิ ้ว) 3,000
มากกว่า 37.5 มม. (1 ½ นิ ้ว) 5,000

2.2.4 ในกรณีที่ตวั อย่างมีทงวั


ั ้ สดุชนิดเม็ดละเอียดและหยาบ ให้ ร่อนผ่านตะแกรง เบอร์ 4 ถ้ าค้ างตะแกรงเบอร์ 4
เป็ นวัสดุชนิดเม็ดหยาบ และถ้ าผ่านตะแกรงเบอร์ 4 เป็ นวัสดุชนิดเม็ดละเอียด จากนันน
้ าตัวอย่างไปทาตาม
ข้ อ 2.4.1 และ 2.4.2 ต่อไป

2.3 แบบฟอร์ ม ให้ ใช้ แบบฟอร์ ม ที่ บฟ. มทช.(ท) 501.11-2545


62

2.4 การทดสอบ
2.4.1 นาตัวอย่างมาแผ่กระจายในภาชนะให้ บางเทน ้าให้ ทว่ มตัวอย่างแช่ไว้ เป็ นเวลา 24 ชม.จากนันใช้

นิ ้วหัวแม่มือและนิ ้วชี ้ค่อย ๆ บีบ หรื อกลิ ้งบนนิ ้วมือเพื่อทาให้ เม็ดของตัวอย่างหลุดออกจากกัน อย่าใช้ เล็บ
หรื อวัสดุแข็งอื่น ๆ จากนันน ้ าไปร่อน ผ่านตะแกรง ดังตารางที่ 2 โดยวิธีล้าง
ตารางที่ 2

ขนาดของตะแกรง สาหรับส่ วนแยก


ขนาดของเม็ดตัวอย่ างที่นามาทดสอบ
เป็ นเม็ดดินเหนียว และเม็ดวัสดุร่วน
1.18 มม. (เบอร์ 16) 0.85 มม. (เบอร์ 20)
4.75 - 9.5 มม. (เบอร์ 4 - 3/8 นิ ้ว) 2.36 มม. (เบอร์ 8)
9.5 - 19.0 มม. (3/8 - 3/4 นิ ้ว) 4.75 มม. (เบอร์ 4)
19.0 - 37.5 มม. (3/4 – 1 1/2 นิ ้ว) 4.75 มม. (เบอร์ 4)
มากกว่า 37.5 มม. (1 1/2 นิ ้ว) 4.75 มม. (เบอร์ 4)

2.4.2 นาตัวอย่างทีค่ ้ างบนตะแกรงแต่ละตะแกรงไปอบให้ แห้ งที่อณ ุ หภูมิ 1105 องศาเซลเซียส (2309 องศา
ฟาเรนไฮต์) แล้ วนาไปชัง่ น ้าหนักให้ ละเอียดร้ อยละ 0.1 ของน ้าหนักตัวอย่าง (ก่อนนาไปอบควรนาวัสดุชนิด
เม็ดออกจากตะแกรงให้ หมดเสียก่อน โดยการล้ าง แล้ วจึงไปอบให้ แห้ ง)

3. การคานวณ
3.1 ในการหาค่าร้ อยละ ของก้ อนดินเหนียวและ วัสดุร่วนที่อยูใ่ นวัสดุเม็ดละเอียด หรื อในวัสดุชนิดเม็ดหยาบ หาได้
ดังต่อไปนี ้
โดยใช้ สตู รของ ก้ อนดินเหนียว และวัสดุร่วน ในวัสดุเม็ดละเอียด คือ
P = (W – R) / W x 100
P = ค่าร้ อยละของก้ อนดินเหนียว และวัสดุร่วน ของวัสดุชนิดเม็ด
R = น ้าหนักของ วัสดุชนิดเม็ด ที่เหลือค้ าง จากข้ อ 2.4.2
W = น ้าหนักของ วัสดุชนิดเม็ด ที่ค้างบนตะแกรง เบอร์ 16 จากข้ อ 2.2.2 และ 2.2.3

3.2 ในกรณีของวัสดุชนิดเม็ดหยาบ หลังจากการทดสอบหาขนาดเม็ดของวัสดุแล้ ว ถ้ าตัวอย่างในตะแกรงมีน ้าหนัก


น้ อยกว่าร้ อยละ 5 เมื่อเปรี ยบเทียบกับน ้าหนักในข้ อ 2.4.1 ไม่จาเป็ นต้ องนามาทดสอบ ให้ เอาค่าร้ อยละของส่วนที่
เป็ นเม็ดดินเหนียวและวัสดุร่วนของตัวอย่างที่มีขนาดใหญ่กว่า หรื อเล็กกว่ามาใช้ แทนได้

4. หนังสืออ้ างอิง
4.1 AMERICAN SOCIETY OF TESTING MATERIAL, ASTM. STANDARD C 142-78

************
63

โครงการ……………………………………….. บฟ. มทช.(ท) 501.11-2545 ทะเบียนทดสอบ………………


.…………………………………………………
สถานที่ก่อสร้ าง……………………………… ผู้ทดสอบ
…………………………………………………. (หน่วยงานที่ทาการทดสอบ)
ผู้รับจ้ างหรือผู้นาส่ ง………………………… การทดสอบหาก้ อนดินเหนียว ผู้ตรวจสอบ
ชนิดตัวอย่ าง……………… ทดสอบครัง้ ที่…
ทดสอบวันที่…………………… แผ่ นที่……
อนุมัติ

ชนิดของตัวอย่าง……………………………………………..
ขนาดของตัวอย่าง………………………………………………มม. ถึง…………….………………………………….มม.
น ้าหนักแห้ ง (W) = …………………………………………….กรัม
ขนาดของตะแกรง สาหรับร่อนดินเหนียวและวัสดุร่วน = …………………………………………………………….…มม.
น ้าหนักที่ค้างบนตะแกรง (R) = ………………………….กรัม
ร้ อยละของก้ อนดินเหนียวและวัสดุร่วน (P) =  (W-R)/W  x 100

P (ร้ อยละ) = …………………………………

You might also like