You are on page 1of 6

32

มทช.(ท) 501.5-2545
วิธีการทดสอบเพื่อหาค่ าขีดเหลว
(LIQUID LIMIT : L.L.)
------------
1. ขอบข่ าย
วิธีการทดสอบนี ้เป็ นการหาค่าขีดเหลวของดิน

2. นิยาม
ขีดเหลวของดินคือ ปริ มาณน ้าเป็ นร้ อยละที่ผสมอยูใ่ นดิน ซึง่ พอเหมาะที่ทาให้ ดินเปลีย่ นจากภาวะพลาสติก
(PLASTIC) มาเป็ นภาวะเหลว (LIQUID) โดยเปรี ยบเทียบกับน ้าหนักของเนื ้อดินนันเมื
้ ่ออบแห้ ง

3. วิธีทา
3.1 เครื่องมือและอุปกรณ์ ประกอบด้ วย
3.1.1 ถ้ วยกระเบื ้องเคลือบหรื อถ้ วยที่มีลกั ษณะคล้ ายคลึงกัน ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง 115 มม. (4 1/2 นิ ้ว)
3.1.2 ใบพายกวนดิน (SPATULA) ทาด้ วยแผ่นโลหะบางไร้ สนิม มีปล ายมนขนาดยาวประมาณ 75 มม.(3 นิ ้ว)
กว้ าง 19 มม. (3/4นิ ้ว)
3.1.3 เครื่ องมือทดสอบ แบ่งเป็ น 2 ชนิด
3.1.3.1 เครื่ องมือทดสอบที่ทางานด้ วยเครื่ องมือ ประกอบด้ วยถ้ วยทองเหลื องและที่ยกถ้ วย สร้ างอย่างถูกต้ อง
ตามแบบและขนาดตามรูปที่ 1 (ก)
3.1.3.2 เครื่ องมือทดสอบที่ทางานด้ วยเครื่ องกล เป็ นเครื่ องมือที่ทางานด้ วยมอเตอร์ ไฟฟ้ า โดยมีความสูงใน
การยกถ้ วยทองเหลือง และอัตราการตกกระทบพื ้น ตามข้ อกาหนดของการทดสอบนี ้ ขนาดของถ้ วย
ทองเหลืองและขนาดของส่วนที่สาคัญของเครื่ อง ต้ องสอดคล้ องกับที่แสดงไว้ ตามรูปที่ 1 (ก) และผล
การทดสอบด้ วยเครื่ องมือทดสอบที่ทางานด้ วยเครื่ องกลนี ้ ต้ องเหมือนกับผลการทดสอบที่ทดสอบ โดย
ใช้ เครื่ องมือทดสอบที่ทางานด้ วยมือ
3.1.4 เครื่ องมือปาดร่องดิน (GROOVING TOOL) ต้ องมีขนาดในส่วนที่สาคัญตามรูปที่ 1 (ข) ส่วนที่ใช้ วดั ระยะไม่
ถือว่าเป็ นส่วนสาคัญ
3.1.5 เครื่ องวัดระยะ (GAGE) ถ้ าติดอยูก่ บั เครื่ องมือปาดร่องดินต้ องมีขนาดในส่วนที่สาคัญตามรูปที่ 1 (ข) ถ้ า
แยกส่วนกับเครื่ องมือปาดร่องดินจะต้ องมีลกั ษณะเป็ นแท่งทาด้ วยโลหะหนา 10.000.02 มม.
(0.3940.001 นิ ้ว) และยาวประมาณ 50.8 มม. (2 นิ ้ว)
3.1.6 ตลับบรรจุดิน (CONTAINER) ต้ องมีขนาดพอเหมาะทาด้ วยโลหะมีฝาปิ ด เพื่อป้องกันการสูญเสียความขึ น้
ขณะก่อนชัง่ และระหว่างชัง่ หาน ้าหนัก
3.1.7 เครื่ องชัง่ ต้ องสามารถชัง่ ได้ ละเอียดถึง 0.01 กรัม
3.1.8 ตู้อบ ต้ องสามารถควบคุมอุณหภูมิให้ คงที่ได้ ที่ 1105 องศาเซลเซียส (2309 องศาฟาเรนไฮต์)
ตลอดเวลาที่ทาการอบดิน
3.1.9 ถ้ วยตวงน ้า สาหรับตวงน ้า เพื่อผสมลงในดิน
3.1.10 เครื่ องมือแบ่งตัวอย่าง (SAMPLE SPLITTER) ใช้ สาหรับผสมและแบ่งตัวอย่างดิน เพื่อนามาทดสอบ
3.1.11 ตะแกรงร่อนขนาด 4.75 มม. (เบอร์ 4) และขนาด 0.425 มม. (เบอร์ 40)
33
3.2 การเตรียมตัวอย่ าง
3.2.1 ผึง่ ตัวอย่างดินให้ แห้ ง หรื ออบให้ แห้ งโดยใช้ อณ
ุ หภูมิไม่เกิน 60 องศาเซลเซียส คลุกเคล้ ากันให้ ทวั่ แล้ วแบ่ง
ออกเป็ นสีส่ ว่ น (QUARTERING) หรื อใช้ เครื่ องมือแบ่งตัวอย่างแบ่งดินให้ ได้ ตวั อย่างซึง่ สามารถร่อนผ่าน
ตะแกรงเบอร์ 40 ได้ ประมาณ 300 กรัม
3.2.2 ถ้ าตัวอย่างดินจับกันเป็ นก้ อนให้ ใช้ ค้อนยางทุบเบา ๆ พอให้ เม็ดดินหลุดออกจากกัน โดยไม่ให้ เม็ดดินแตก
3.2.3 เอาดินที่ได้ มาร่อนผ่านตะแกรงเบอร์ 4 ส่วนที่ค้างบนตะแกรงให้ ทิ ้งไปและเอาดินส่วนที่ร่อนผ่านมาร่อนผ่าน
ตะแกรงเบอร์ 40 อีกครัง้ หนึง่ โดยใช้ เวลาร่อนไม่น้อยกว่า 5 นาที
3.2.4 ดินที่ค้างบนตะแกรงเบอร์ 40 ให้ ทิ ้งไป ส่วนดินที่ร่อนผ่านตะแกรงเบอร์ 40 คือ ดินที่จะนาไปใช้ ทดสอบต่อไป
3.3 แบบฟอร์ ม ให้ ใช้ แบบฟอร์ ม ที่ บฟ. มทช.(ท) 501.5-2545
3.4 การทดสอบ ก่อนทาการทดสอบทุกครัง้ ให้ ตรวจสอบเครื่ องมือที่ใช้ ทดสอบทังหมดว่ ้ าอยูใ่ นสภาพที่ดี มีขนาด
ถูกต้ องตรงตามข้ อกาหนด ตามรูปที่ 1 เสียก่อน และตรวจดูถ้วยทองเหลืองของเครื่ องทดสอบขีดจากัดเหลวว่ายก
ได้ สงู 1 ซม. แล้ วสามารถตกระทบพื ้นได้ อย่างอิสระหรื อไม่ ถ้ าไม่ได้ ให้ ปรับให้ ถกู ต้ อง
3.4.1 เอาดินที่เตรี ยมไว้ ประมาณ 100 กรัม ใส่ลงในถ้ วยกระเบื ้องเคลือบเติมน ้ากลัน่ ที่ปราศจากสารใดๆ เจือปน
ประมาณ 15 ถึง 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร ลงผสมและกวนให้ เนื ้อดินและน ้าผสมเป็ นเนื ้อเดียวกัน โดยใช้
ใบพายกวนดินนวดและเคล้ าไปมา เ ติมน ้าอีกครัง้ ละ 1-3 ลูกบาศก์เซนติเมตร แล้ วกวนจนดินและน ้าเป็ น
เนื ้อเดียวกัน โดยใช้ เวลาประมาณ 5-10 นาที ห้ ามใช้ ถ้วยทองเหลืองของเครื่ องทดสอบขีดเหลว เป็ นที่ผสม
ดินกับน ้า
3.4.2 เมื่อผสมน ้ากวนดินจนเหนียวพอประมาณเคาะได้ 40 ครัง้ ให้ ใช้ แผ่นกระจกปิ ดปากถ้ วยไว้ แล้ วทิ ้งไว้
ประมาณ 50-60 นาที เพื่อให้ ดินชุม่ น ้าตลอดทัว่ ถึงกัน
3.4.3 แบ่งดินส่วนหนึง่ จานวนพอควร ใส่ลงในถ้ วยทองเหลืองของเครื่ องมือทดสอบขีดเหลว บริ เวณเหนือก้ นถ้ วย
ทองเหลืองที่อยูบ่ นฐาน ใช้ พายกวนดินปาดแต่งให้ ได้ ระดับ และไม่ให้ มีฟองอากาศในเนื ้อดิน และให้ เนื ้อดิน
ที่ก้นถ้ วยทองเหลืองหนาประมาณ 1 ซม. พยายามปาดแต่งให้ น้อยที่สดุ ดินส่วนที่เหลือตักออกใส่ถ้วย
กระเบื ้องเคลือบอย่างเดิม
3.4.4 จับถ้ วยทองเหลืองให้ แน่น แล้ วใช้ เครื่ องมือปาดร่องดิน ปาดดินให้ เป็ นร่ องตามแนวเส้ นผ่านศูนย์กลางของ
ถ้ วยทองเหลือง โดยลากตัดไปมาจนร่องที่ได้ สะอาดและเหลีย่ มมุมคม ขนาดของร่องต้ องถูกต้ องตามรูปที่ 2
เพื่อไม่ให้ ร่องดินฉีกขาด หรื อดินในถ้ วยทองเหลืองเลือ่ นไถล ให้ คอ่ ย ๆ ลากเครื่ องมือปาดร่องดินไปมาโดย
เพิ่มความลึกลงในเนื ้อดินทีละน้ อยแต่ต้องไม่ปาดไปมาเกิน 6 ครัง้ โดยครัง้ สุดท้ ายเครื่ องมือปาดร่องดินจะ
ขูดผิวของก้ นถ้ วยทองเหลืองพอดี
3.4.5 หมุนเคาะถ้ วยทองเหลืองด้ วยอัตราเร็ ว 2 ครัง้ ต่อวินาที จนดินสองข้ างของร่องเลือ่ นมาชนกันที่ก้นถ้ วย
ทองเหลืองยาวประมาณ 12.7 มม. (0.5 นิ ้ว) บันทึกจานวนครัง้ ที่เคาะไว้ การทดสอบในข้ อ 3.4.3 ถึง 3.4.5
นี ้ต้ องใช้ เวลาไม่เกิน 3 นาที
3.4.6 ให้ เก็บตัวอย่างดินตรงที่เลือ่ นมาชนกันตลอดแนวความกว้ างของดินที่ตงฉากกั ั้ บร่องดิน ใส่ลงตลับบรรจุดิน
นาไปชัง่ ทันที บันทึกน ้าหนักไว้ อบดินในตลับจนแห้ งด้ วยอุณหภูมิ 1105 องศาเซลเซียส (2309 องศา
ฟาเรนไฮต์) แล้ วนาไปชัง่ บันทึกน ้าหนักที่ชงั่ ไว้ น ้าหนักที่หายไปคือน ้าหนักของน ้าที่ระเหยออกไป การชัง่
น ้าหนักดินในข้ อนี ้ต้ องอ่านได้ ละเอียดถึง 0.01 กรัม
34
3.4.7 เอาดินที่เหลือในถ้ วยทองเหลืองใส่กลับลงในถ้ วยกระเบื ้องเคลือบ แล้ วเติมน ้าผสมลงไปกวนจนเป็ นเนื ้อ
เดียวกัน ส่วนถ้ วยทองเหลืองและเครื่ องมือปาดร่องดิน ให้ ล้างและเช็ดให้ แห้ ง
3.4.8 ทาการทดสอบตามข้ อ 3.4.3 ถึงข้ อ 3.4.7 ทังสิ ้ ้น 4 ครัง้ ด้ วยการเพิ่มน ้าลงในดิน เพื่อให้ เหลวมากขึ ้นในการ
ทดสอบครัง้ ถัดไป โดยให้ การหมุนเคาะถ้ วยทองเหลืองในการทดสอบแต่ละครัง้ ในอัตรา 35-40, 25-35,
20-30, 15-25 ครัง้ คือ ให้ เคาะต่างกันประมาณ 5-7 ครัง้ ถ้ าหมุนเคาะน้ อยกว่า 15 ครัง้ หรื อมากกว่า 40
ครัง้ ถือว่าการทดสอบนันใช้ ้ ไม่ได้
3.4.9 ในกรณีที่ผสมดินเหลวไป ให้ เกลีย่ ดินออกเป็ นชันบาง ้ ๆ แล้ วผึง่ ลมไว้ ชวั่ ครู่จนดินแห้ งตามต้ องการ อย่าทิ ้งไว้
ให้ แห้ งจนแข็ง ห้ ามใช้ วิธีเอาดินแห้ งผสมเพิ่มลงไปในดินเหลว

4. การคานวณ
คานวณปริ มาณน ้าที่ผสมอยูใ่ นดินเป็ นร้ อยละของน ้าหนักต่อน ้าหนักดินอบแห้ ง ดังนี ้

4.1 คานวณหาค่าความแน่นชื ้น (WET DENSITY)

น ้าหนักของน ้า
ความชื ้นเป็ นร้ อยละ = X 100 =
น ้าหนักของดินอบแห้ ง

5. การรายงาน
5.1 เขียนโฟลว์เคิฟ (FLOW CURVE) แสดงความสัมพันธ์ระหว่างความชื ้นในเนื ้อดินและจานวนครัง้ ของการหมุนเคาะ
ในการทดสอบลงบนกระดาษกราฟ กึ่งลอการิ ทมึ (SEMI-LOGARITHMIC GRAPH) โดยให้ แกนตังแสดงค่ ้ า
ความชื ้นในเนื ้อดินเป็ นร้ อยละ และจานวนครัง้ ที่เคาะอยูบ่ นแกนนอน ซึง่ เป็ นมาต ราลอการิ ทมึ (LOGARITHMIC)
โฟลว์เคิฟ ควรเป็ นเส้ นตรง ที่ลากผ่านหรื อใกล้ จดุ ที่ได้ บนกระดาษกราฟ มากจุดที่สดุ
5.2 ค่าขีดเหลว คือ ความชื ้นเป็ นร้ อยละ (PERCENTAGE OF MOISTURE) ตรงจุดที่โฟลว์เคิฟ มีจานวนครัง้ ที่หมุน
เคาะเท่ากับ 25 ครัง้

6. ข้ อควรระวัง
6.1 ในดินบางชนิดที่มีคา่ “ดัชนีความเป็ นพลาสติก (PLASTICITY INDEX : P.I.)” ต่า การเลือ่ นตัวของดินมาชนกันใน
ถ้ วยทองเหลือง ขณะทดสอบอาจมีลกั ษณะชนกันเฉย ๆ ไม่เชื่อมเป็ นเนื อ้ เดียวกัน สามารถใช้ ใบพายกวนดินเขี่ยให้
แยกออกจากกันได้ ต้ องเพิ่มน ้าลงผสมในเนื ้อดิน แล้ วทาการทดสอบใหม่
6.2 การเตรี ยมตัวอย่างดินก่อนการร่อนผ่านตะแกรง เบอร์ 40 ต้ องบดให้ เม็ดดินหลุดออกจากกันให้ หมดโดยไม่ทาให้
เม็ดดินแตก และไม่อบตัวอย่างดินเกินอุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส
6.3 เมื่อสิ ้นสุดการเคาะดินแต่ละการทดสอบ ให้ รีบเก็บตัวอย่างดินแล้ วชัง่ เพื่อหาความชื ้นทันที เพราะน ้าในดินจะ
ระเหยทาให้ ผลการทดสอบคลาดเคลือ่ นได้
6.4 ห้ ามผสมดินในถ้ วยทองเหลืองของเครื่ องมืดทดสอบขีดเหลว ให้ ผสมในถ้ วยกระเบื ้องเคลือบเท่านัน้
6.5 ในขณะทาการทดสอบให้ วางเครื่ องทดสอบบนพื ้นที่มนั่ คงแข็งแรง และจับยึดเครื่ องมือทดสอบไม่ให้ เคลือ่ นที่ขณะ
หมุนเคาะถ้ วยทองเหลือง
6.6 น ้าที่ใช้ ผสมดินทดสอบ ต้ องบริ สทุ ธิ์ สะอาดปราศจากสารใด ๆ ที่สามารถทาให้ ผลการทดสอบคลาดเคลือ่ น
35
7 หนังสืออ้ างอิง
7.1 เอกสารการทดสอบที่ ทล-ท. 102/2515 กองวิเคราะห์และวิจยั กรมทางหลวง
7.2 STANDARD METHOD OF TEST FOR DETERMINING THE LIQUID LIMIT OF SOILS ; AASHTO
DESIGNATION : T 89-76

************
36

รู ปที่ 1 (ก) เครื่องมือทดสอบเพื่อหาค่ าขีดเหลว

รู ปที่ 1 (ข) เครื่องมือปาดร่ องดิน


โครงการ………………………………………………… ทะเบียนทดสอบ………………….
บฟ.มทช.(ท) 501.5-2545
………………………………………………………….
ผู้ทดสอบ
สถานที่ก่อสร้ าง……………………………………….. (หน่วยงานที่ทาการทดสอบ)
ผู้รับจ้ าง………………………………………………… การทดสอบหาค่ าแอตเตอร์ เบิร์กและค่ าขีดหดตัว
ผู้ตรวจสอบ
ชนิดตัวอย่ าง…………………. ทดสอบครัง้ ที่……… ลักษณะดิน…..……………….…………. หลุมที่…………………
วันที่ทดสอบ……………………. แผ่ นที่……………. ความลึก………..……เมตร ค่ าความถ่ วงจาเพาะ, Gs……..
อนุมัติ

การทดสอบ ค่าขีดเหลว ค่าขีดพลาสติค ค่าขีดหดตัว


( Liquid Limit ) ( Plastic Limit ) (Shrinkage Limit)
ครัง้ ที่ 1 2 3 1 2 3 1 2 3

ความชืน้ ในดิน ,W (ร้ อยละ)


ตลับบรรจุดนิ หมายเลข

37
จานวนของการหมุนเคาะ (ครัง้ )
น ้าหนักดินชื ้น + ตลับ (กรัม)
น ้าหนักอบแห้ ง + ตลับ (กรัม)
น ้าหนักน ้า (กรัม)
น ้าหนักตลับบรรจุดนิ (กรัม)
น ้าหนักดินอบแห้ ง, WS (กรัม)
ความชื ้นในดิน, W ร้ อยละ
ปริ มาตรของดินชื ้น, V ( ซม.3)
ปริ มาตรดินอบแห้ ง, VO ( ซม.3) 10 15 20 25 30 40 50 60 70 80 90100
การหดตัวเชิงปริ มาณ จานวนของการหมุนเคาะ, N (ครัง้ )
(Shrinkage Vol) V - VO ( ซม.3) Group Symbols L.L. = % P.L. = % P.I. = % S.L. = %
ค่าขีดหดตัว, SL ( ซม.3)

You might also like