You are on page 1of 4

93

มทช.(ท) 301-2545
วิธีการทดสอบมาตรฐานการเจาะสารวจดิน
----------

1. ขอบข่ าย
มาตรฐานการเจาะสารวจดินนี ้ครอบคลุมถึงการสารวจสภาพของชันดิ ้ นใต้ ผิว เพื่อหาข้ อมูลและคุณสมบัติของชัน้
ดินทางวิศวกรรม สาหรับใช้ เป็ นประโยชน์ในการพิจารณาหาความสามารถในการรับน ้าหนักของชันดิ ้ น เพื่อการ
ออกแบบชนิดของฐานรากที่เหมาะสมในการรับน ้าหนักของสิง่ ก่อสร้ าง อาคาร สะพาน ฯลฯ ที่วางบนดิน
2. นิยาม
การทดสอบต่าง ๆ ทังในสนามและในห้
้ องปฏิบตั ิการทดลองให้ เป็ นไปตามมาตรฐานการทดสอบของกรมทาง
หลวงชนบท (มทช.) ที่เกี่ยวข้ อง การเจาะดินให้ ใช้ เครื่ องมือและอุปกรณ์ เจาะดินที่เหมาะสม ถ้ าไม่มีข้อจากัดในเรื่ อง
เครื่ องมือ ให้ ใช้ เครื่ องมือกลเจาะแบบไฮดรอลิคในการเจาะ จะต้ องมีวิศวกรโยธา หรื อช่างเทคนิคผู้มีความรู้ และความ
ชานาญในการเจาะสารวจดินคอยควบคุมอย่างใกล้ ชิดตลอดเวลาในการพิจารณาเลือกจุดเจาะ การบันทึกความลึก
และลักษณะของชันดิ ้ นแต่ละชัน้ การเก็บตัวอย่างดินเพื่อนามาทดสอบในห้ องทดสอบ การทดสอบในสนามและบันทึก
ผลและเป็ นผู้ตดั สินใจในการสัง่ ให้ หยุดเจาะได้ หรื อให้ เจาะความลึกเพิ่มต่อไปอีกจากที่ได้ กาหนดไว้ ก่อนเจาะ เพื่อให้
ได้ ข้อมูลอย่างเพียงพอในการนาไปออกแบบฐานรากต่อไป

3. วิธีทา
3.1 เครื่องมือ
ในการเจาะดินโดยทัว่ ไปเครื่ องเจาะให้ ใช้ เครื่ องมือกลเจาะแบบไฮดรอลิค หากเป็ นงานเจาะตื ้นและเป็ นงาน
ที่ไม่สาคัญมากให้ ใช้ เครื่ องเจาะแบบสามขาใช้ แรงคนเจาะได้ การเจาะในชันหิ ้ นให้ ใช้ เครื่ องมือที่ออกแบบเฉพาะ
สาหรับการนัน้
3.2 แบบฟอร์ ม
ให้ บนั ทึกผลการทดสอบในแบบฟอร์ ม บฟ. มทช.(ท) 301-2545 : วิธีการทดสอบตามมาตรฐานการเจาะ
สารวจดิน
3.3 การทดลอง
3.3.1 การเจาะดิน
3.3.1.1 การเจาะในชันดิ้ นอ่อนและแข็งปานกลางให้ ใช้ สว่านหมุนเจาะ (ANGER) เท่านัน้ สาหรับในชันดิ้ นแข็ง
มากหรื อชันทรายให้
้ ใช้ การเจาะล้ าง (WASH BORING) ได้
3.3.1.2 ความลึกของการเจาะไม่เกินชันดิ ้ นแข็งมากหรื อชันทรายแน่
้ นมาก และจะหยุด หากพบชันกรวดซึ้ ง่ หนา
หรื อชันหิ
้ นพืด (BED ROCK) หากต้ องการเจาะหาความหนาของชันนี ้ ้จะต้ องใช้ หวั เจาะแบบฝั งเพชร
และเครื่ องเจาะที่ออกแบบเฉพาะสาหรับเจาะหิน
3.3.2 การเก็บตัวอย่างและทดสอบในสนาม
3.3.2.1 เก็บตัวอย่างดินทุกความลึกไม่เกิน 1.50 เมตร และเมื่อมีการเปลีย่ นชันดิ
้ นทุกชัน้
94

3.3.2.2 เก็บตัวอย่างดินคงสภาพ (UNDISTURBED SAMPLE) ด้ วยกระบอกบางที่มีเส้ นผ่านศูนย์กลาง 3 นิ ้ว


สาหรับชันดิ
้ นอ่อนและดินแข็งปานกลาง หรื อจะใช้ กระบอกบางเส้ นผ่านศูนย์กลาง 2 1/4 นิ ้ว สาหรับ
ชันดิ
้ นแข็งก็ได้ เก็บตัวอย่างโดยวิธีการกดด้ วยระบบไฮดรอลิคจากเครื่ องเจาะ
3.3.2.3 สาหรับชันดิ้ นแข็งมาก(VERY STIFF COHESIVE SOIL) ดินปนกรวดและชันทราย(COHESIONLESS

SOIL) ให้ เก็บตัวอย่างดินเปลีย่ นสภาพ (DESTURBED SAMPLE) ด้ วยกระบอกผ่า (SPLIT SPOON
SAMPLE) พร้ อมทังท ้ าการตอกทดลองมาตรฐาน (STANDARD PENETRATION TEST) ด้ วย
3.3.2.4 ตัวอย่างดินเหนียวคงสภาพที่ได้ ให้ ทดสอบแรงอัดแกนเดียว (UNCONFINED COMPRESSIVE
STRENGTH) ด้ วยพอคเก็ตพินิโตรมิเตอร์ (POCKET PENETROMETER) ทันทีเมื่อได้ ตวั อย่างดิน
ขึ ้นมาจากหลุมเจาะ
3.3.2.5 ในกรณีตวั อย่างดินเหนียวเหลวมากให้ ทาการทดสอบหาค่ากาลังเฉือนในที่ (INSITUVANE SHEAR
STRENGTH)
3.3.3 การบันทึกในสนาม
3.3.3.1 บันทึกข้ อมูลการเจาะดินลงในตารางบันทึกผลการเจาะสารวจในสนาม (FIELD BORING LOG) ซึง่
ประกอบด้ วยรายงานดังต่อไปนี ้ คือ
3.3.3.1.1 วันที่เริ่ มต้ นเจาะดินจนถึงวันที่เจาะเสร็ จ
3.3.3.1.2 หมายเลขของหลุมที่เจาะแต่ละหลุม
3.3.3.1.3 แสดงตาแหน่งของหลุมที่เจาะจากจุดทีส่ ามารถอ้ างอิงได้ ในสถานที่ก่อสร้ าง
3.3.3.1.4 วัดระดับผิวดินที่ปากหลุมเจาะเทียบกับระดับสมมติฐานที่กาหนด
3.3.3.1.5 บันทึกชนิดและขนาดของหัวสว่านที่ใช้ เจาะ
3.3.3.1.6 บันทึกความลึกเมื่อดินเปลีย่ นชันทุ ้ กครัง้
3.3.3.1.7 อธิบายลักษณะของดินแต่ละชันโดยละเอี ้ ยด
3.3.3.1.8 บันทึกระดับน ้าใต้ ดินและตาแหน่งชันดิ ้ นที่มีน ้าซึมเข้ ามา ถ้ าพบขณะที่เจาะ
3.3.3.1.9 บันทึกสภาพของหลุมที่เจาะเมื่อชักสว่านขึ ้นมา โดยบอกว่าหลุมยังคงสภาพเดิมหรื อดินข้ างหลุม
พังลงมาถ้ ามองเห็นได้
3.3.3.2 ให้ วดั ระดับน ้าในหลุมเจาะทุกเช้ าก่อนเริ่ มงานเจาะต่อไปและหลังจากเจาะเสร็ จแล้ ว 24 ชัว่ โมง
3.3.4 การทดสอบในห้ องทดสอบ
3.3.4.1 ทาการทดสอบต่อไปนี ้ เพื่อจาแนกสถานะและชนิดของดินจานวนไม่น้อยกว่าครึ่งหนึง่ ของตัวอย่างที่
เก็บได้
3.3.4.1.1 ปริ มาณความชื ้นในสภาพธรรมชาติ (NATURAL MOISTURE CONTENT)
3.3.4.1.2 ขีดจากัดของอัตเตอร์ เบิร์ก (ATTERBERG’S LIMIT)
3.3.4.1.3 หน่วยน ้าหนักเปี ยกและแห้ ง (WET & DRY UNIT WEIGHT)
3.3.4.1.4 การแยกด้ วยตะแกรงร่อน (SIEVE ANALYSIS)
3.3.4.1.5 ค่าความถ่วงจาเพาะ (SPECIFIC GRAVITY)
3.3.4.2 ทาการทดสอบคุณสมบัติในการรับน ้าหนัก
3.3.4.2.1 ทาการทดสอบแรงอัดแกนเดียว (UNCONFINED COMPRESSION TEST) จานวนไม่น้อยกว่า
สามในสีส่ ว่ นของตัวอย่างชนิดคงสภาพ (UNDISTURBED SAMPLE) ที่เก็บได้
95

4. รายงานผล
การรายงานผลการเจาะสารวจดินให้ รายงานลงใน บฟ. มทช.(ท) 301-2545 และการทดสอบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้ องให้
รายงานแบบฟอร์ ม สาหรับการทดสอบนัน้ ๆ
4.1 วิธีการเจาะสารวจและการทดลองทุกชนิดอย่างย่อ ๆ
4.2 แผนผังบริ เวณและตาแหน่งหลุมที่เจาะ
4.3 ตารางบันทึกผลการเจาะ (BORING LOG) จะแสดงรูปตัดของชันดิ ้ น (SOIL PROFILE),การตอกทดลองมาตรฐาน
(STANDARD PENETRATION TEST), การทดสอบแรงอัดแกนเดียว (UNCONFINED COMPRESSIVE
STRENGTH) และระดับน ้า (WATER TABLE) ซึง่ จะเทียบกับดัชนีคณ ุ สมบัติ (INDEX PROPERTIES) โดยแสดง
เป็ นกราฟ
4.4 ดัชนีคณ ุ สมบัติ (INDEX PROPERTIES) จะประกอบด้ วยขีดจากัดของอัตเตอร์เบิร์ก (ATTERBERG’S LIMITS),
ปริ มาณความชื ้นในสภาพธรรมชาติ (NATURAL WATER CONTENT) และหน่วยน ้าหนัก (UNIT WEIGHT)
แสดงเป็ นตาราง
4.5 แนะนาความสามารถในการรับน ้าหนักของดินชันต่ ้ าง ๆ เสนอแนะการพิจารณาออกแบบฐานรากที่เหมาะสมและ
ค่าความสามารถในการรับน ้าหนักอย่างปลอดภัยของเสาเข็มและฐานรากนัน้ ๆ ให้ ข้อคิดเห็นหรื อข้ อควรระวัง
เกี่ยวกับงานดินและฐานรากในสถานที่ก่อสร้ าง ซึง่ อาจจะเกิดขึ ้นได้
4.6 หากมีความจาเป็ นที่จะต้ องทราบคุณสมบัติอื่น นอกจากที่กล่าวมาแล้ ว เพื่อให้ ประกอบการพิจารณาให้ ละเอียด
แน่นอนมากขึ ้นตามความประสงค์ของเจ้ าของงาน หรื อตามความต้ องการของวิศวกรผู้ออกแบบ เพื่อใช้ ในการหา
ความสามารถของดินในการรับน ้าหนักของฐานรากที่สาคัญ อาจจะต้ องทาการสาคัญ อาจจะต้ องทาการทดสอบ
ต่อไปนี ้ตามสัง่ คือ
4.6.1 การทดสอบเพื่อหาค่าแรงเฉือนตรง (DIRECT SHEAR TEST)
4.6.2 การทดสอบเพื่อหาค่าแรงอัดสามแกน (TRIAXIAL TEST)
4.6.3 การทดสอบเพื่อหาค่าการอัดตัวคายน ้า (CONSOLIDATION TEST)
4.6.4 การทดสอบไฮโดรมิเตอร์ (HYDROMETER TEST)

5. หนังสืออ้ างอิง
5.1 BOWLES, J.E. (1988) “FOUNDATION ANALYSIS AND DESIGN” 4 th EDITION.

************
96

บฟ. มทช.(ท) 301-2545 ทะเบียนทดสอบ.......................


โครงการ ..........................…..............
สถานที่ก่อสร้ าง ..............…................ ผู้ทดสอบ
ความลึก...........................….............. (หน่วยงานที่ทาการทดสอบ)
หมายเลขการทดสอบ............…........... วิธีการทดสอบตามมาตรฐาน ผู้ตรวจสอบ
แผ่นที่..................................… การเจาะสารวจดิน
ผู้รับรอง
ระดับน ้าใต้ ดิน หมายเลขหลุมเจาะ
วันที่ เวลา ระดับหลุม ระดับน ้า ระดับผิวดิน
ตารางบันทึกผลการเจาะ
วันเริ่ มงาน
(BORING LOG)
วันเสร็ จงาน

   ครึ่งของค่าแรงอัด ความ
ขีดจากัดเหลว แกนเดียว หนา
การตอก  การทดสอบแรงเฉือน
ประเภทของตัวอย่าง

แน่น
้ น

ความลึก, เมตร
รูปตัดของชันดิ

ทดสอบ ขีดจากัดยืดหยุน่ Peak Remoled รวม


ลักษณะของดิน แบบ  ปริ มาณความ ครึ่งหนึง่ ของค่าพ็อกเก็ต
มาตรฐาน เพ็นนิโตรมิเตอร์
ชื ้นในสภาพ d , t
ธรรมชาติ  
ครัง้ /ฟุต % กก./ตร.ซม. ก/ลบ.ซม.

You might also like