You are on page 1of 35

มยผ.

xxxx-xx

รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

1. ขอบขายและขอจํากัด
1.1 ขอบขาย
เอกสารฉบับนี้จะกลาวถึงการออกแบบและกอสรางเสาเข็มเจาะซึ่งกอสรางโดยการขุด, การเจาะ, หรือวิธี
อื่นใดที่ทําใหเกิดรูขึ้นในดิน ซึ่งหลังจากนั้นจะแทนที่ดวยคอนกรีตไรเหล็กเสริมหรือคอนกรีตเสริมเหล็ก
วิศวกรและผูรับเหมามักจะใชคําเรียกที่แตกตางกันไปเชน Caisson, Foundation Pier, Bored Piles, Drilled
Shafts, Sub-Piers และ Drilled Piers สลับแทนที่กันแลวแตความคุนเคย
การออกแบบโครงสรางและการกอสรางเสาเข็มเจาะเปนวัตถุประสงคหลักของเอกสารฉบับนี้ และการ
พิจารณาทางดานวิศวกรรมปฐพีเปนสิ่งจําเปนเนื่องจากความแปรปรวนของคุณสมบัติดินสงผลอยางมาก
ตอ การออกแบบและก อ สร า งเสาเข็ ม เจาะ ดั ง นั้ น จึง จํ า เป น ต อ งอธิ บ ายบางส ว นของปฐพี ก ลศาสตร ที่
เกี่ยวของในที่นี้ดวย ในการออกแบบและกอสรางเสาเข็มเจาะใหประสบผลสําเร็จจะตองมีขอมูลที่เชื่อถือ
ไดของชั้นดิน ในงานนี้จําเปนจะตองเกิดจากความรวมมือของวิศวกรปฐพี วิศวกรโครงสราง และผูรับเหมา
เสาเข็ม เนื่องจากขอจํากัดในการกอสรางมักจะเปนตัวกําหนดการออกแบบ
เอกสารฉบับนี้ใชสําหรับการออกแบบและกอสรางอาคาร แตในหัวขอเกี่ยวกับการกอสราง การตรวจสอบ
งาน และการทดสอบ สามารถนําไปใชกับสะพานและการกอสรางอื่นได
1.2 ขอจํากัด
เอกสารนี้เหมาะกับเสาเข็มเจาะที่มีขนาดเสนผานศูนยกลางตั้งแต 800 มิลลิเมตรหรือโตกวา ซึ่งกอสรางดวย
วิธีเปดโดยการควบคุมน้ําภายในหลุมเจาะไมจําเปนจะตองใชแรงดันจากอากาศ เสาเข็มที่มีขนาดเล็กกวานี้
ตองมีดินที่มีเสถียรภาพเพียงพอหรือใชปลอกเหล็กถาวร เนื่องจากไมสามารถตรวจสอบการพังของผนัง
หลุมเจาะที่มีเสนผานศูนยกลางเล็กได

หนา 1 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


2. นิยามและรายการสัญลักษณ
2.1 นิยาม
“สถาปนิก-วิศวกร (Architect-Engineer)” หมายถึง เปนผูซึ่งรับผิดชอบตอการออกแบบรูปรางและการ
ออกแบบโครงสรางทั้งหมดและมีหนาที่รับผิดชอบตอที่ไดระบุไวในรายงานนี้
“Bearing Stratum” หมายถึง ชั้นดินหรือชั้นหินที่รองรับแรงที่เสาเข็มหรือฐานรากลึกที่มีลักษณะคลายกัน
ถายลงสูชั้นดินหรือชั้นหินนั้น
“เสาเข็มรับแรงที่ปลาย (Bearing Type Pier)” หมายถึง เสาเข็มที่มีแรงตานจากชั้นดินสวนที่เปนหลักเกิด
จากชั้นดินใตเสาเข็ม
“ฐานรากคลุมหัวเสาเข็ม (Cap)” หมายถึง สวนที่อยูดานปลายบนของเสาเข็ม โดยปกติจะกอสรางแยกจาก
เสาเข็ม ทําหนาที่ปรับตําแหนงการเยื้องศูนยของเสาเข็มที่เยื้องไปจากตําแหนงที่ตองการ ทําหนาที่เปนตัว
ยึดเหล็กเดือย หรือสมอทําใหมีคาคลาดเคลื่อนอยูในชวงที่ยอมรับ หรือทําหนาที่ยึดหัวเสาเข็มสองตนหรือ
มากกวาใหเปนกลุมเสาเข็มที่รองรับเสาโครงสราง
“ปลอกเหล็ก” หมายถึง ทอเหล็กกันดิน โดยปกติจะเปนทรงกระบอก ติดตั้งโดยการตอกลงในดินเพื่อ
ปองกันคนงานหรือผูตรวจสอบงานที่ลงไปในหลุมเจาะจากการพังทลายของผนังหลุมเจาะ และ/หรือ
สําหรับกันดินและน้ําไมใหทะลักเขาหลุมเจาะ
“เสาเข็มรับแรงที่ปลายรวมกับแรงเสียดทานผิว” หมายถึง เสาเข็มที่แรงตานจากชั้นดินเกิดจากชั้นดินใต
เสาเข็มรวมกับแรงเสียดทานดานขางซึ่งเกิดที่ผิวเสาเข็ม
“ผูกอสราง” หมายถึง บุคลากร บริษัท หรือองคกรที่เจาของงานตกลงที่จะใหเขากอสราง
“ของเหลวควบคุม” หมายถึง ของเหลวที่ใชในการปองกันการพังทลายของหลุมเจาะสําหรับเสาเข็มเจาะ
ระบบเจาะเปยก ซึ่งระบุไวในตารางที่ 1.1
ตารางที่ 1.1 คุณสมบัติของเหลวในการเจาะเสาเข็มโดยทัว่ ไป (ACI 336.3R-93)
สิ่งที่ตองการวัด ชวงของผล วิธีทดสอบ
ที่ 20 องศาเซลเซียส
Density prior to concreting API 13B
a. Friction pile 85 max Section 1
b. end bearing pile 70 max

หนา 2 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


สิ่งที่ตองการวัด ชวงของผล วิธีทดสอบ
ที่ 20 องศาเซลเซียส
Marsh funnel viscosity (sec.) prior API 13B
to concreting Section 2
26-45 Marsh funnel and quart
Sand content by volume (%) before API 13B
concreting Section 4
a. Piles with design end bearing 4 max Sand-screen set
b. Piles with no design end bearing 10 max*
pH during excavation 8-12 API 13B
Section 6
Paper test strips or
glass electrode pH meter
Sand in polymer slurry immediately 1% max
prior to concreting
Density of polymer slurry 63.5 pcf max
Viscosity of polymer slurry 50 max
* Higher sand contents have been successfully used in some locations

2.2 รายการสัญลักษณ
Ab หมายถึง พื้นทีห่ นาตัดของเสาเข็ม, L2

Ao หมายถึง พื้นทีผ่ ิวรอบเสาเข็ม, L2

c หมายถึง Soil cohesion, FL−2

d หมายถึง เสนผานศูนยกลางของเสาเข็ม, L

dp หมายถึง ความยาวที่เสาเข็มฝงลงในดิน, L
D หมายถึง แรงกระทําคงที่สุทธิ, F
Df หมายถึง แรงกระทําคงที่รวม, F
Df หมายถึง ความลึกของดินทีก่ ดทับ, F

หนา 3 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


E, Ec หมายถึง โมดูลัสอีลาสติกของคอนกรีต, FL−2
Eq หมายถึง แรงเนื่องจากแผนดินไหว, F
f c′ หมายถึง กําลังรับแรงอัดของคอนกรีต, FL−2
fo หมายถึง หนวยแรงเสียดทานผิวประลัยเฉลี่ย, FL−2

3 สิ่งที่ตองพิจารณา
3.1 ทั่วไป
หนาที่ของเสาเข็มคือการถายแรงกระทําตามแกน แรงกระทําทางขาง แรงบิดและโมเมนตดัดลงสูชั้นดิน
หรือชั้นหินที่อยูรอบและใตเสาเข็ม เพื่อที่จะทําหนาที่นี้ เสาเข็มจะเปนปฏิสัมพันธระหวางดินหรือหินรอบ
เสาเข็ มและโครงสร างที่อยูเ หนือเสาเข็ม ความสัมพั น ธ ร ะหวางเสาเข็มตอชั้น ดิ น เปน ตัว แปรที่สําคั ญ
ประการหนึ่งในการออกแบบเสาเข็ม
ปจจัยที่เกี่ยวของกับเสาเข็มนั้นไมสามารถใชทฤษฎีใดทฤษฎีหนึ่งใหคลอบคลุมไดทั้งหมด ดังนั้นจึงตองตั้ง
สมมุติฐานบางประการขึ้นมา อยางไรก็ตามในการออกแบบนั้นจะตองคํานึงถึงการกอสรางประกอบดวย
3.2 ปจจัยที่ตองพิจารณา
3.2.1 สภาพชั้นดิน
ชั้นดิน สภาพน้ําใตดินและความลึก ความหนาและธรรมชาติของชั้นหิน ทรายหรือวัสดุอื่นใดที่เปน
ชั้นดินที่เสาเข็มวางอยูนั้นจะมีผลกระทบตอวิธีการกอสรางและการออกแบบฐานราก ตัวอยางไดแก
การที่หนวยแรงตานที่ปลายเข็มจะใชระบุขนาดของเสาเข็มเจาะ คาการซึมผาน น้ําใตดินและ
คุณสมบัติของดินใชในการตัดสินใจเลือกใชวิธีปองกันการพังทลายของหลุมเจาะ หรือเลือกวิธีที่ใช
ในการเทคอนกรีต และอาจมีผลตอการพิจารณาการเกิดการทรุดตัวของดินในขณะขุดเจาะเสาเข็ม
กํ า ลั ง รั บ แรงเฉื อ นของดิ น และพฤติ ก รรมการเปลี่ ย นรู ป ของดิ น รอบเสาเข็ ม ใช ร ะบุ ว า แรงต า น
เนื่องจากแรงเสียดทานผิวจะเปนปจจัยที่ตองคํานึงถึงในการออกแบบหรือไม แรงตานทานที่ผิวอาจ
ตานทานแรงที่กระทําหรืออาจเปนแรงฉุดลงที่กระทําตอเสาเข็มก็ได
3.2.2 สภาพโครงการ
ปจจัยที่มีผลตอการเลือกวิธีการกอสรางและการออกแบบ ไดแก ขนาดพื้นที่กอสราง ทางเขา
โครงการ การจํากัดความสูงของการขนยายและกอสราง โครงสรางและสาธารณูปโภคเดิมที่ตองมี
การปองกันการทรุดตัว ดินทรุด เสียง และความสะอาด

หนา 4 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


ในการพิจารณาออกแบบและกอสรางอาจตองคํานึงถึงการทรุดตัวของดินเนื่องจากการไหลของดิน
เม็ดละเอียดมากับน้ําในการลดระดับน้ําเพื่อกอสรางดวย จะตองมีการประเมินผลกระทบของการ
ทรุดตัวตอโครงสรางขางเคียงและโครงสรางใหมดวย
3.2.3 การตรวจสอบและการควบคุมคุณภาพ
ในการประเมินขอมูลโดยอางอิงจากผลการสํารวจในสนามโดยการเจาะสํารวจหรือการทดสอบในที่
(In-Situ Testing) จะตองไดรับการรับรองผลโดยวิศวกรปฐพี
ในการออกแบบและกอสรางเสาเข็มเจาะเปนงานที่มีหลายขั้นตอน โดยการควบคุมคุณภาพและการ
ประกันคุณภาพเปนสิ่งจําเปนในการทําใหการกอสรางเสาเข็มไดตามตองการ ถาไมมีการควบคุม
คุณภาพและการประกันคุณภาพโอกาสที่จะกอสรางเสาเข็มใหเปนไปตามที่ตองการเปนไปได
คอนขางยาก ในขณะกอสรางเสาเข็มจะตองมีวิศวกรปฐพีประจําหนวยงาน วิศวกรปฐพีและวิศวกร
โครงสร า งจะต อ งระบุ ข อ กํ า หนดร ว มกั น ซึ่ ง จะต อ งระบุ อ ย า งชั ด เจนสํ า หรั บ การทดสอบใน
หองปฏิบัติการและการตรวจสอบงาน
3.2.4 ขอจํากัดดานการกอสราง
เครื่องจักรและอุปกรณ ความชํานาญของผูกอสราง วัสดุที่มีในทองถิ่น และขอกําหนดเกี่ยวกับ
อาคารในแตละทองถิ่น มีผลตอการออกแบบและกอสรางเสาเข็ม ดังนั้นโดยสวนใหญขอจํากัดดาน
การกอสรางมักจะเปนตัวควบคุมการออกแบบ
3.2.5 ขอพิจารณาออกแบบ
ผูออกแบบจะตองคํานวณแรงกระทําทั้งในแนวดิ่ง แรงกระทําทางขาง และโมเมนตดัดที่กระทําตอ
เสาเข็ม ซึ่งความยาวและคุณสมบัติหนาตัดของเสาเข็ม การกระจายของแรงที่ปลายเสาเข็ม แรงตาน
แรงกระทําดานขาง และแรงเสียดทานผิวนั้น คํานวณโดยใชแรงที่กระทําและลักษณะชั้นดิน
3.2.6 เสาเข็มรับแรงกระทําดานขาง
ในการวิเคราะหเสาเข็มที่มีแรงกระทําดานขางนั้นจําเปนตองทราบคาสติฟเนสของเสาเข็ม การ
ตอบสนองตอแรงกระทําของดิน และปฏิสัมพันธของดินและเสาเข็ม การตอบสนองของดินตอแรง
กระทําเปนตัวแปรที่คาดเดาไดคอนขางยาก ดังนั้นการแอนตัวของเสาเข็มมักจะใชเปนขีดจํากัดใน
การระบุแรงกระทําดานขางที่ยอมใหมากกวาที่จะเปนการระบุแรงกระทําดานขางประลัย

หนา 5 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


3.3 ชนิดของเสาเข็มเจาะ
เพื่ อ ความสะดวกจึ ง จํ า แนกเสาเข็ ม เป น ประเภทตามลั ก ษณะของแรงที่ ถ า ยลงสู ดิ น หรื อ หิ น และตาม
พฤติกรรมของเสาเข็มที่ตอบสนองตอแรงกระทําดานขาง
3.3.1 เสาเข็มรับแรงในแนวดิ่ง (Axially Supported Piers)
เสาเข็มที่รับแรงในแนวดิ่งจําแนกไดเปน 3 ประเภท ไดแก
(1) เสาเข็มถายแรงสูปลาย (Bearing Type Pier)
เปนเสาเข็มที่มีลักษณะตรง (ดูรูปที่ 1) ซึ่งกอสรางลงในชั้นดินออนและมีปลายอยูในชั้นดินที่มี
กําลังแบกทาน (Bearing capacity) สูง จนทําใหกําลังตานทานของเสาเข็มสวนใหญเกิดขึ้นที่
ปลาย

COLUMN DOWELS OR ANCHOR


BOLTS SET WITH TEMPLATE
WHERE NECESSARY

CAP REINFORCEMENT

PILE REINFORCEMENT

EXTEND AS REQUIRED

SHAFT
(SKIN OF PILE)

BEARING
STRTUM

TOE
qp (END OF PILE)

รูปที่ 1 ตัวอยางเสาเข็มที่มีกําลังตานจากปลายเข็มเพียงอยางเดียว
(ขอที่ 3.3.1 (1))

(2) เสาเข็มถายแรงสูปลายและผิว (Combination Bearing and Side Resistance Type Pier)


เปนเสาเข็มที่ฝงลงในชั้นดินที่ทําใหแรงตานแรงกระทําบางสวนเกิดจากผิวดานขางของเสาเข็มที่
สัมผัสกับดิน และแรงตานบางสวนถายลงสูปลายเสาเข็ม (ดูรูปที่ 2)

หนา 6 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


F F

fo

รูปที่ 2 เสาเข็มที่มีกําลังตานทานสวนใหญจากผิวเสาเข็ม
(ขอที่ 3.3.1 (2) และ (3))

(3) เสาเข็มถายแรงสูผิว (Side Resistance Type Pier)


เปนเสาเข็มที่ฝงลงในชั้นดินที่ทําใหแรงตานแรงกระทําสวนใหญเกิดจากผิวดานขางของเสาเข็ม
ที่สัมผัสกับดิน (รูปที่ 2) เนื่องจากกําลังแบกทานที่ปลายเสาเข็มนั้นต่ํามากหรือไมนาเชื่อถือ
ตัวอยางเชน เสาเข็มที่ไมมีการทําความสะอาดกนหลุมกอนการเทคอนกรีต
3.3.2 เสาเข็มรับแรงกระทําดานขาง (Laterally Loaded Piers)
เมื่อคํานึงถึงการตอบสนองตอแรงกระทําตอเสาเข็มจะจําแนกเสาเข็มไดเปน 2 ประเภท
(1) เสาเข็มแข็งเกร็ง (Rigid Pier)
เปนเสาเข็มที่สั้นและมีสติฟเนสสูงเมื่อเทียบกับดินรอบเสาเข็ม การเคลื่อนตัวหลักของเสาเข็มจะ
เปนการหมุนรอบจุดบนเสาเข็ม และ/หรือ การเลื่อนทางขางของเสาเข็ม การตานการหมุนของ
เสาเข็มสติฟเนสสูงถูกควบคุมโดยรูปแบบความสัมพันธระหวางแรงกับการเคลื่อนตัวของดิน
โดยรอบและดินใตเสาเข็ม และยังถูกควบคุมโดยการยึดรั้ง (ถามี) จากโครงสรางเหนือเสาเข็ม
(2) เสาเข็มยืดหยุน (Flexible Pier)
เสาเข็มที่มีความยาวมากพอและมี Flexural Rigidity ( EI ) ที่ทําใหการแอนตัวของเสาเข็มสวน
ใหญเกิดจากแรงดัด

หนา 7 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


3.4 พิจารณาดานธรณีเทคนิค
ผูออกแบบจําเปนตองมีความรูเพียงพอในสภาพชั้นดินใตโครงการ
3.4.1 จํานวนหลุมเจาะ
จะตองมีจํานวนหลุมเจาะมากเพียงพอที่จะสามารถสรางรูปตัดของชั้นดินไดอยางคอนขางถูกตอง
และระบุระดับน้ําใตดินได ในกรณีที่ตองวางเสาเข็มลงในชั้นหิน จะตองระบุระดับผิวบนของชั้นหิน
และคุณลักษณะใหใกลเคียงกับสภาพจริง
3.4.2 ความลึกของหลุมเจาะในชั้นดิน
การเจาะสํารวจจะตองลึกพอที่จะตรวจสอบการทรุดตัวของชั้นดินที่อยูใตเสาเข็ม และในกรณีที่
เปนไปไดในทางปฏิบัติควรจะตองมีหลุมเจาะอยางนอยหนึ่งหลุมลึกถึงชั้นหิน
3.4.3 ระดับน้ําใตดนิ
ถาพบระดับน้ําใตดินอยูในโซนที่จะกอสรางเสาเข็มเจาะ จะตองมีการตรวจสอบเพื่อใชในการระบุ
วาการเจาะเสาเข็มนั้นจะตองใช Slurry หรือไม ซึ่งจะตองรวมถึงระดับน้ําใตดิน การเปลี่ยนแปลง
ระดับน้ําใตดิน (ถามี) และขอมูลการซึมผานของดิน
3.4.4 ระดับชั้นหินทีป่ ลายเสาเข็ม
ในกรณีที่เสาเข็มจะตองฝงลงในชั้นหินจะตองเจาะเก็บตัวอยางแทงหินหรือหยั่งลงในชั้นหินเปน
ความลึกไมนอยกวาสองเทาของหนาตัดเสาเข็ม แตจะตองไมนอยกวา 3 เมตร ความลึกนี้เพื่อที่จะ
ระบุกําลังของหินและสภาพของชั้นหิน (ถามีรอยแตก) และเพื่อใหแนใจวาเสาเข็มจะไมวางอยูบน
หินกอนที่ลอยอยูในชั้นดินออน ในกรณีที่เสาเข็มตองรับน้ําหนักบรรทุกสูงและคุณภาพของชั้นหิน
อาจมีกําลังตานทานไมเพียงพอ อาจจําเปนตองเจาะตัวอยางแทงหินขึ้นมา
3.4.5 กําลังของดิน
ในชั้นดินเหนียวจะตองเก็บตัวอยางดินคงสภาพ (Undisturbed Soil Sample) จํานวนมากพอที่จะใช
ในการหาหนวยน้ําหนักและพารามิเตอรกําลังของดิน
สําหรับในชั้นดินทราย ในทางปฏิบัติโดยทั่วไปจะประมาณความแนนของดินและระบุแรงดันดินที่
ยอมใหโดยใชขอมูลการทดสอบ Standard Penetration Test, Cone Penetration Test หรือ Pressure
Meter Test

หนา 8 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


3.4.6 การทดสอบกําลังรับน้ําหนักของเสาเข็ม
การทดสอบเสาเข็มจะจําเปนในกรณีโครงการมีขนาดใหญหรือในกรณีของความไมแนนอนที่อาจ
เกิดขึ้นในชั้นดินหรือความไมคุนเคยกับวิธีการกอสรางเสาเข็ม โดยในการทดสอบอาจใชเสาเข็มเปน
สมอในการทดสอบก็ได
ในกรณีที่ไมมีปญหาเนื่องจากระดับน้ําใตดิน อาจจะทําการเจาะเสาเข็มขนาดเทากับเสาเข็มใชงาน
แลวทดสอบ Plate Load Test ที่ปลายเสาเข็มเพื่อหากําลังรับแรงแบกทานของดิน ในขณะเจาะ
เสาเข็มสามารถตรวจสอบชั้นดินดวยตาเปลาและเก็บตัวอยางดินขึ้นมาดูได
อาจจะทําการทดสอบกับเสาเข็มที่มีเสนผานศูนย กลางเล็กกวาเสาเข็มใชงาน โดยจะตองติดตั้ ง
เครื่องมือวัด (Instrumentation) และนําผลการทดสอบและการวัดจากเครื่องมือไปใชระบุกําลังรับ
น้ําหนักของเสาเข็มที่มีขนาดใหญกวา
3.4.7 การตอบสนองของเสาเข็มตอแรงกระทําดานขาง
ปจจุบัน วิธีที่สมบูรณในการประเมินการตอบสนองตอแรงกระทําดานขางของเสาเข็มจะอยูใ น
รูปแบบของคานบนฐานรากอีลาสติก (Beam on Elastic Foundation) โดยอาศัยการคํานวณเชิง
ตัวเลขดวยคอมพิวเตอร (Reese, 1977a; 1977b; 1984; 1988) ตัวแปรหลักไดแกการตอบสนองตอ
แรงกระทําของชั้นดิน (Subgrade Response) และสติฟเนสของเสาเข็ม ( EI ) แรงตานทานของ
ชั้นดิน (Subgrade Reaction) อาจจําลองเปนสปริงที่มีความสัมพันธเปนแบบเชิงเสนตรง หรือเปน
วัสดุ Elastic-Plastic โดยใชขอมูล p− y

เนื่องจากไมมีวิธีใดในการจําลองการตอบสนองตอแรงกระทําของชั้นดินเปนที่ยอมรับแบบสากล
ดังนั้นวิศวกรปฐพีอาจจะตองใชแบบจําลองที่เหมาะสมกับประสบการณในแตละทองถิ่นเปนหลัก

หนา 9 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


4 การออกแบบ
4.1 แรงกระทํา
การออกแบบเสาเข็มประกอบดวย 2 ขั้นตอนคือ
ก. ระบุขนาดหนาตัดของเสาเข็มหรือขนาดโดยรวมของเสาเข็ม
ข. ออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็กของเสาเข็ม
ในขั้นตอน (ก) ซึ่งรวมถึงปฏิสัมพันธระหวางดินกับเสาเข็ม แรงที่กระทําตอเสาเข็มจะตองเปนน้ําหนัก
บรรทุกใชงาน (Service Load) และหนวยแรงในเสาเข็มตองเปนหนวยแรงที่ยอมให น้ําหนักบรรทุกใชงาน
ที่กระทําตอเสาเข็มไมรวมตัวคูณน้ําหนักบรรทุก (Load Factor)
ในขั้นตอน (ข) จะใชวิธีกําลังในการออกแบบเสาเข็ม โดยปกติจะใชวิธีกําลัง (Strength Method) ในการ
ออกแบบ ซึ่งผูออกแบบอาจเลือกใชวิธีหนวยแรงใชงานก็ได โดยปกติจะใชน้ําหนักบรรทุกใชงานในการ
คํานวณโมเมนตดัดลัพธ แรงเฉือน และแรงตามแนวแกน แลวจะนํามาคูณกับเฟคเตอรแรงกระทํา (Load
Factor) ที่เหมาะสมกับแตละกรณีของแรงกระทําเพื่อใชออกแบบกําลังของตัวเสาเข็ม ในกรณีที่ใชเสนโคง
ที่ไมเปนแบบเชิงเสนตรง และ/หรือแรงกระทําตามแกนที่ไมคงที่ (เนื่องจากเสนโคงที่ไมเปนแบบเชิง
เสนตรงสําหรับแรงเสียดทานผิว) จะตองคูณแรงกระทําดวยเฟคเตอรแรงกระทํา แรงดันดินที่ตองการเพื่อ
ทําใหสมดุลกับแรงกระทําเพิ่มคาแลว (Factored Load) เปนสิ่งสมมุติขึ้นและใชสําหรับการคํานวณโมเมนต
ดัด แรงเฉือน และแรงกระทําตามแกน ที่ใชในการออกแบบกําลังของเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็กเทานั้น
ในกรณีที่โมเมนตดัดเกิดขึ้นจากแรงกระทําเยื้องศูนย จะตองสรางแรงดันดินสมมุติขึ้นมาเพื่อเปนแรง
ตานทานตอแรงกระทําเพิ่มคาแลว ซึ่งคาที่ไดนี้อาจแตกตางจากแรงดันดินที่ไดจากกรณีของน้ําหนักบรรทุก
ใชงาน
4.1.1 แรงกระทําตามแกน
แรงกระทําตามแกนอาจประกอบไปดวยแรงเหลานี้ ไดแก
D คือ น้ําหนักบรรทุกคงที่จากโครงสราง และน้ําหนักของเสาเข็ม หักออกดวยน้ําหนักของ
ดินที่ถูกแทนที่ดวยเสาเข็ม (น้ําหนักสุทธิของเสาเข็ม)
Dg คือ น้ําหนักบรรทุกคงที่จากโครงสรางและน้ําหนักของเสาเข็ม (น้ําหนักรวมของเสาเข็ม)
L คือ น้ําหนักบรรทุกจรจากโครงสราง รวมถึงแรงกระทําแบบกระแทก (ถามี)
W , Eq คือ แรงกระทําตามแกนในเสาเข็มที่เกิดจากแรงลมหรือแรงจากแผนดินไหวตามลําดับ

หนา 10 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


S p1 คือ แรงตานทานดานขางของเสาเข็มเชิงบวกกระทําในทิศทางชี้ขึ้น โดยเกิดจากการที่
เสาเข็มเคลื่อนที่ลงเมื่อเทียบกับดินโดยรอบเสาเข็ม
Sp2 คือ แรงดานขางที่เปนแรงกระทําตอเสาเข็มแบบฉุดลง
Sn คือ แรงเสียดทานผิวดานขางเชิงลบ กระทําในทิศทางฉุดลงเกิดจากการทรุดตัวของดิน
รอบเสาเข็มเทียบกับเสาเข็ม โดยปกติเปนคาที่จุดประลัย
Pq คือ แรงแบกทานที่ปลายเสาเข็ม
Pup คือ แรงยกตัวเนื่องจากแรงลอยตัวที่กระทําตอโครงสรางที่จมอยูใตน้ํา
Pan คือ กําลังของสมอยึดในชั้นหินหรือในชั้นดิน
4.1.2 แรงกระทําทางขางและโมเมนตดัด
แรงกระทําทางขางเกิดจากแรงดันดินที่ไมสมดุล การเคลื่อนตัวเนื่องจากอุณหภูมิของโครงสราง
สวนบน แรงลม และ/หรือแรงจากแผนดินไหว โมเมนตดัดอาจเกิดจากแรงกระทําตามแกนเสาเข็มที่
มีการเยื้องศูนย และโดยแรงกระทําทางขาง และอาจเปนแรงที่สงผานจากโครงสรางสวนบนลงสู
เสาเข็มโดยตรง
4.2 แรงกระทํา
4.2.1 แรงกระทําในแนวแกน
จะตองพิจารณาแรงกระทําสูงสุดและต่ําสุด สําหรับกรณีระหวางการกอสรางและในกรณีที่กอสราง
เสร็จ
(1) แรงกระทําสูงสุด
จะตองพิจารณาถึงน้ําหนักของเสาเข็มที่เกินมาจากน้ําหนักของดินที่เจาะออกไป แรงเสียดทาน
ผิวเชิงลบ (Negative Side Resistance) ผลเนื่องจากการกระจายตัวใหมในระยะยาวของแรงเสียด
ทานผิว ตัวอยางเชน แรงเสียดทานผิวที่เปนแรงตานอาจลดลง หายไป หรือมีทิศทางตรงกันขาม
ตามระยะเวลาเนื่องจากแรงฉุดลงที่กระทําตอเสาเข็ม
ก. แรงกระทําคงที่ แรงกระทําจร แรงเสียดทานผิว และแรงถอน: เมื่อเกิดแรงเสียดทานผิวเปน
บวก (กระทําในทิศทางขึ้น)
D + L − Pup < Pq / FS1 + S p 1 / FS 2 (1)
กรณีที่มีแรงเสียดทานผิวเชิงลบ
D + L − Pup < ( Pq + S p 1) / FS − S n (2)

หนา 11 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


ข. แรงกระทําคงที่ แรงกระทําจร แรงเสียดทานผิว และแรงถอน และแรงลมหรือแรงเนื่องจาก
แผนดินไหว: เมื่อเกิดแรงเสียดทานผิวเปนบวก (กระทําในทิศทางขึ้น)
0.75( D + L + W − Pup ) < ( Pq / FS1 + S p 1 / FS ) (3)
กรณีที่มีแรงเสียดทานผิวเชิงลบ
0.75( D + L + W − Pup ) < ( Pq + S p 1) / FS − S n ) (4)
(2) แรงกระทําต่ําสุด (Minimum Loading)
ใหใชแรงยกตัวสูงที่สุด Pup โดยพิจารณากรณีในสมการตอไปนี้: ถา
0.9 D g − 1.25W − Pup > 0 (5)
แลวไมจําเปนตองตรวจสอบกรณีอื่น: มิเชนนั้นจะตองตรวจสอบสมการตอไปนี้
Pup − 0.9 D g < S n + Pan / FS 2 (6)
Pup − 0.9 Dg + 1.25W < S n + Pan / FS 2 (7)
ถาพบวาแรงเสียดทานผิวมีเพียงพอ โดยปกติไมจําเปนตองใชสมอยึด
4.2.2 แรงกระทํารวม
ตองรวมผลของแรงกระทําทางขางและโมเมนตดัดกระทํารวมกับแรงกระทําตามแกน โดยพิจารณา
ตามกรณีในหัวขอ 4.1.1
4.3 การออกแบบกําลังของเสาเข็ม
เสาเข็มเจาะที่ฝงอยูในดินที่มีกําลังของดินสูงเพียงพอที่จะมีแรงตานแรงกระทําดานขางอาจกอสรางเปน
คอนกรีตไรเหล็กเสริมหรือคอนกรีตเสริมเหล็กก็ได การออกแบบเสาเข็มคอนกรีตไรเหล็กเสริมใหใช
มาตรฐานการออกแบบ ACI 318.1 เสาเข็มที่ไมสามารถออกแบบใหเปนเสาเข็มไรเหล็กเสริมเนื่องจาก
ความไมเหมาะสมของขนาดหนาตัดที่จะกอสรางไดในทางปฏิบัติอาจออกแบบเสาเข็มคอนกรีตเสริมเหล็ก
ตามมาตรฐานการออกแบบ ACI 318 ในการออกแบบทั้งกรณีเสาเข็มไรเหล็กเสริมและเสาเข็มคอนกรีต
เสริมเหล็กอาจใชวิธีกําลังในการออกแบบ เสาเข็มคอนกรีตอาจใชวิธีหนวยแรงใชงานในการออกแบบก็ได
ถาใชวิธีกําลังในการออกแบบ แรงที่กระทําตอเสาเข็มไมวาจะเปนแรงกระทําตามแกน แรงกระทําทางขาง
หรือโมเมนตดัด ตองคูณดวยแฟคเตอรแรงกระทํา (Load Factor) ที่เหมาะสม และแรงตานของเสาเข็ม
จะตองคํานวณจากแรงกระทําที่คูณดวยแฟคเตอรแรงกระทําแลว สิ่งที่จะตองทราบในการออกแบบคือ แรง
ตานทานนี้ไมมีสวนสัมพันธกับกําลังรับแรงเฉือนประลัยของดิน แตใชเปนแคเพียงเพื่อใหเกิดสมดุลกับ
แรงกระทําที่คูณดวยแฟคเตอรแลว เสาเข็มจะตองมีความสอดคลอง (Compatibility) ของแรงตานทานจาก

หนา 12 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


ดินเมื่อประเมินดวยวิธีแรงกระทําใชงาน (Working Load) ขอแนะนํา: ในการออกแบบดวยวิธีกําลังจะตอง
ใชแฟคเตอรแรงกระทําในการวิเคราะหที่จะใชออกแบบความสามารถในการรับแรงกระทําของหนาตัด แต
ในการวิเคราะหการทรุดตัวและการเคลื่อนตัวทางขางจะตองใชแรงกระทําใชงานที่ไมมีการคูณแฟคเตอร
ของแรงกระทําเพียงอยางเดียวเทานั้น
การออกแบบดวยวิธีกําลัง ขนาดหนาตัดของคอนกรีตและขนาดหนาตัดของเหล็กเสริมที่ตองการอาจ
คํานวณไดจากการคูณแฟคเตอรแรงกระทํากับแรงเฉือนและโมเมนตดัดที่คํานวณจากแรงกระทําใชงาน
ถาใชวิธีอื่นในการออกแบบ เชน วิธีหนวยแรงใชงาน แรงที่กระทําตอเสาเข็มจะตองเปนแรงกระทําใชงาน
โดยไมมีการคูณแฟคเตอรแรงกระทํา และแรงดันดินในการคํานวณแรงตานทานจากดินจะตองเปนแรงดัน
ดินที่ยอมใหที่มีสัดสวนปลอดภัยที่เหมาะสม
4.3.1 Load Factor for Strength Design
จะตองใชแฟคเตอรแรงกระทําเทากับ 1.4 ตอน้ําหนักบรรทุกคงที่ D , แรงถอน Pup และแรงอื่นใดที่
เกิดจากแรงดันของของเหลวกระทําตอโครงสรางในกรณีที่สามารถระบุแรงดันสูงสุดได มิเชนนั้น
แลวใหใชแฟคเตอรแรงกระทําเทากับ 1.7
จะตองใชแฟคเตอรแรงกระทําเทากับ 1.7 ตอน้ําหนักบรรทุกจร L , แรงลม W , ขนาดแรงจาก
แผนดินไหว (1.1E q ) และแรงอื่นใดที่เกิดจากแรงกระทําทางดานขางตอโครงสราง
ถาผลของการทรุดตัวที่ไมเทากันของโครงสราง (Differential Settlement), ความคืบ (Creep), การ
หดตัว (Shrinkage) และผลเนื่องจากอุณหภูมิ (Temperature Effect) มีผลกระทบอยางมีนัยยะสําคัญ
จะตองรวมอยูในกรณีน้ําหนักบรรทุกคงที่ การประเมินผลกระทบดังกลาวจะตองตั้งอยูบนพื้นฐาน
ของการเกิดขึ้นจริงในขณะใชงาน
4.3.2 แฟคเตอรลดคากําลังวัสดุ (Strength Reduction Factors)
แฟคเตอรลดคากําลังวัสดุ ระบุอยูในสวนที่ 9.3 ของ ACI 318
4.3.3 การเสริมเหล็ก
การเสริมกําลังเสาเข็มจําเปนจะตองใชเพื่อตานทานแรงดึง หรือใชถายแรงกระทําจากโครงสรางสู
เสาเข็ม

หนา 13 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


4.4 กําลังของเสาเข็มรับแรงกระทําในแนวดิง่
4.4.1 กําลังของเสาเข็มที่ไดจากดินหรือหิน (Capacity from Soil or Rock)
กําลังรับแรงกดหรือกําลังรับดึงประลัยของเสาเข็มเกิดจากผลรวมของแรงตานที่ปลายเข็มและแรง
เสียดทานที่ขางเสาเข็ม กําลังรับน้ําหนักประลัยทางทฤษฎีคํานวณโดยไดจากสมการ
Q = S p l + Pq (8)
โดย Q หมายถึง กําลังรับน้ําหนักบรรทุกประลัยที่เปนแรงอัด
S pl หมายถึง แรงเสียดทานผิวประลัยซึ่งอาจคิดเปนผลรวมของแรงเสียดทานบนผิว
เสาเข็มที่ความลึกที่พิจารณา
Pq หมายถึง แรงตานประลัยที่ปลายเสาเข็ม
ผูออกแบบจําเปนจะตองพิจารณาความสอดคลองของความเครียด (Strain Compatibility) และการ
เคลื่อนตัวในการเลือกใชสัดสวนปลอดภัย
สัดสวนปลอดภัยมีคาตั้งแต 1.5 ถึง 5 สําหรับแรงเสียดทานผิวและแรงตานที่ปลายเข็มขึ้นอยูกับชั้น
ดิน แรงกระทําจากโครงสราง และระดับของความเชื่อมั่นตอพารามิเตอรของชั้นดิน แรงเสียดทาน
ผิวและแรงตานที่ปลายเข็ม อาจแสดงไดในอีกรูปแบบของสมการเปน
S p l = f 0 A0 (9)
และ
Pq = q p Ab (10)
โดย fo หมายถึง หนวยแรงเสียทานผิวประลัยเฉลี่ย
Ao หมายถึง พื้นที่ผิวรอบเสาเข็มที่ฝงลงในดิน
qp หมายถึง หนวยแรงตานที่ปลายเข็มประลัย
Ab หมายถึง พื้นที่หนาตัดรวมที่ปลายเสาเข็ม
วิศวกรปฐพีจะตองประมาณคา fo และ q p โดยใชคุณสมบัติของดิน และ/หรือคุณสมบัติของหิน
และวิธีการกอสราง คาของ fo และ q p นั้นอยูในชวงที่กวางมากและขึ้นอยูกับความลึก การระบุคา
fo และ q p อาจจะตองมีการประสานกับวิศวกรโครงสรางเพื่อประมาณกําลังรับน้ําหนักบรรทุกที่
ยอมให เพื่อใหมีสัดสวนปลอดภัยที่เพียงพอและมีการทรุดตัวที่ยอมรับได กําลังรับน้ําหนักบรรทุก
ประลั ย ของเสาเข็ ม จะน อ ยกว า ค า ที่ คํ า นวณได ท างทฤษฎี ถ า แรงเสี ย ดทานผิ ว คงค า ง (Residual

หนา 14 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


Resistance) นอยกวาแรงเสียดทานผิวสูงสุด (Peak Resistance) เนื่องจากในการรับแรงแรงเสียดทาน
ผิวสูงสุดจะถึงกอนที่จะเริ่มถายแรงมาที่ปลายเข็ม
4.4.2 การประมาณการทรุดตัวของเสาเข็ม (Estimate of Pier Settlement Where Unit Loading and Soil
Properties are a Design Consideration)
การประมาณการทรุดตัวของเสาเข็มในกรณีที่การออกแบบไดคํานึงถึงหนวยแรงและคุณสมบัติของ
ดินนั้น จะตองระบุคุณสมบัติการยุบตัวของดินเพื่อใชในการประมาณการทรุดตัวรวมและการทรุด
ตัวที่ไมเทากัน การทดสอบในที่ (In-Situ Test) ตัวอยางที่มักจะใชกันไดแก การทดสอบดวย Cone
Penetrometer, Pressuremeter หรือ Plate Load ที่ปลายของเสาเข็ม การทดสอบแรงกระทํากับเสาเข็ม
มาตราสวนเทาจริง และการทดสอบในหองปฏิบัติการกับตัวอยางดินคงสภาพ การทรุดตัวรวมของ
เสาเข็มเปนผลรวมของการทรุดตัวที่ปลายเสาเข็มกับการหดตัวอีลาสติกที่ไดคํานึงถึงผลเนื่องจาก
แรงเสียดทานผิวดวย
4.5 เสาเข็มรับแรงกระทําทางดานขาง
เสาเข็มเจาะจะรับแรงกระทําทางขางสูงมากตลอดความยาวเสาเข็ม ในกรณีที่เสาเข็มถูกใชเปนกําแพงกัน
ดิน ถูกใชเปนกําแพงตานการเคลื่อนที่ของลาดดิน ฐานรากของเสาสงไฟฟา หรือสมอยึด อีกทั้งในกรณีที่
แรงดันดินในชั้นใตดินไมเทากันหรือไมเพียงพอที่จะตานทานแรงกระทําทางขางจากโครงสรางสวนบน
ทําใหตองใชเสาเข็มเปนโครงสรางตานทานแรงกระทําทางขาง ในกรณีนี้เกิดขึ้นเมื่อฐานรากอยูในระดับ
ตื้นหรือเมื่อการเคลื่อนตัวดานขางกอใหเกิดแรงดันดินสูงมากเกินกวาที่จะตานทานโดยโครงสรางได ใน
การนี้เสาเข็มจะทําหนาที่รับแรงกระทําทางขางที่หัวเสาเข็มและแรงกระทําตามแกนจากการพลิกคว่ําของ
โครงสรางสวนบนและโดยปกติจะมีโมเมนตดัดกระทํารวมดวย คาการเคลื่อนตัวของหัวเสาเข็มที่ยอมให
ในการออกแบบแตละกรณีอาจอยูในระดับไมกี่มิลลิเมตรจนถึงระดับ 10 เซนติเมตรขึ้นอยูกับความตองการ
ของแตละโครงการ
เสาเข็มที่จะตองรับแรงกระทําทางขางสามารถถูกออกแบบโดยใชวิธีประมาณ แรงกระทําที่ยอมใหที่
สามารถกระทําตอหัวเสาเข็มเจาะสามารถหาไดจากตารางในคูมือการออกแบบบางเลม บัญญัติควบคุม
อาคาร หรือโดยใชวิธีอยางงายที่สมมุติวาเสาเข็มเปนแบบแข็งเกร็งอยูในดินชนิดเดียว อยางไรก็ตามคาแรง
กระทําที่ยอมใหนี้อาจไมเหมาะสมเมื่อเปรียบเทียบกับคาที่คํานวณโดยใชวิธีคํานวณดวยวิธีเชิงตัวเลข เชน
วิธี Beam on Elastic Foundation, วิธี Finite Element หรือการคํานวณโดยใชวิธีของ Broms (1964) เปนตน

หนา 15 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


4.6 เสาเข็มที่มีปลายฝงในชั้นหิน (Piers Socketed in Rock)
เสาเข็มชนิดนี้จะมีการฝงปลายไวในชั้นดินเปนความลึก 1 ถึง 6 เทาของเสนผานศูนยกลางเสาเข็มเพื่อที่จะ
กอใหเกิดกําลังตานทานของเสาเข็มเพิ่มขึ้น เสาเข็มเจาะจะประกอบไปดวยปลอกเหล็กหนาที่ติดกับหัวเจาะ
หินและวางอยูบนชั้นหิน แกนเหล็กหรือเหล็กเสริมเปนจํานวนมากจะถูกหุมดวยคอนกรีตที่เทจนเต็มสวนที่
ฝงลงในชั้นหิน ฐานรากคลุมหัวเข็มจะเปนเสาที่ตอขึ้นไปเพื่อถายน้ําหนักบรรทุกลงสูเสาเข็ม เสาเข็มจะถูก
ออกแบบใหถายแรงกระทําทั้งหมดลงสูชั้นหิน
4.7 การจัดเรียงเสาเข็ม (Pier Configuration)
4.7.1 Bells
Xxx void ไมเหมาะกับฝมือการกอสรางในประเทศไทย xxxx
4.7.2 Pile Caps
ในกรณีที่ใชฐานรากคลุมหัวเสาเข็ม ฐานรากจะตองลึกเพียงพอสําหรับเหล็กเสริมเสาเข็มและเหล็ก
เสริมของเสาโครงสรางที่จะตอเขากับฐานราก
4.7.3 ปลอกเหล็กถาวร (Permanent Steel Casing)
ในกรณีที่ใชปลอกเหล็กถาวรเพื่อโอบรัดคอนกรีตหรือเปนโครงสรางจะตองมีความหนาอยางนอย
0.0075 เทาของเสนผานศูนยกลางเสาเข็ม ยกเวนในกรณีที่ทราบวาแรงดันดินและแรงดันน้ํากอน
หรือในระหวางกอสรางมีคาสูงอาจจําเปนตองใชความหนามากกวานี้ ความเคนวิกฤติตอการโกง
เดาะ (Critical Buckling Stress) แปรผกผันกับรัศมีของปลอกเหล็กยกกําลังสาม
การเชื่อมที่ไมไดคุณภาพและความชํารุดเนื่องจากการติดตั้งหรือการขนยายก็มีผลตอความสามารถ
ของปลอกเหล็กในการตานทางแรงดันจากภายนอก ในการคํานวณโมเมนตความเฉื่อย (Moment of
Inertia) ของหนาตัดจะตองไมรวมปลอกเหล็กเขาในการคํานวณ ยกเวนในกรณีที่ใชปลอกเหล็ก
ตอเนื่องไมเปนลอนลูกฟูก (Noncorrugated) ตลอดความยาวเสาเข็ม
4.7.4 รอยตอในเสาเข็ม
ถาเปนไปไดควรจะตองหลีกเลี่ยงรอยตอเนื่องจากการกอสรางในเสาเข็มเจาะ ในกรณีที่หลีกเลี่ยง
ไมไดจะตองเตรียมผิวหนาของคอนกรีตใหขรุขระกอนเทคอนกรีตตอ ในกรณีที่เปนเสาเข็มเจาะที่
ไมเสริมเหล็กจะตองเตรียมเหล็กเดือยที่มีระยะฝงเพียงพอไวทั้งสวนบนและสวนลางของรอยตอ
พื้นที่หนาตัดของเหล็กเดือยที่ใชจะตองไมนอยกวา 0.01 เทาของพื้นที่หนาตัดรวมของเสาเข็ม ใน

หนา 16 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


กรณีที่มีเหล็กเสริมตั้งในเสาเข็มอยูแลว ใหเพิ่มเหล็กเดือยใหมีปริมาณเหล็กในหนาตัดเปน 0.01 ใน
กรณีที่เหล็กเสริมตั้งมีคาเทากับหรือมากวา ρ 0.01 ไมจําเปนตองใชเหล็กเดือย
ในสวนรอยตอระหวางเสาเข็มกับฐานรากในเขตพื้นที่ซึ่งมีความเสี่ยงตอแผนดินไหว ฐานรากและ
สวนบนของเสาเข็มอาจจะตองทําหนาที่รับโมเมนตดัดที่มีขนาดเกือบเทากับกําลังรับโมเมนตดัด
ประลัยของเสาโครงสรางที่ฐานรากนั้นรองรับอยู และจะตองรองรับแรงเฉือนในปริมาณสูง ผลของ
แรงกระทํารวมอาจทําใหเกิดการเลื่อนแยกออกจากกันระหวางหัวเสาเข็มกับฐานรากได ดังนั้น
จะตองใหความระมัดระวังเปนพิเศษในการจัดเหล็กเสริมในจุดตอระหวางเสาเข็มกับฐานรากและ
ระหวางฐานรากกับเสาอาคาร และจัดเหล็กเสริมรัดรอบใหเพียงพอในฐานรากและในสวนที่อาจ
ไดรับผลกระทบของเสาเข็ม
4.7.5 เสาเข็มที่ไมมีการยึดรั้งทางขาง (Unbraced Piers)
ในดินที่มีคา Standard penetration N > 1 หรือคากําลังรับแรงเฉือนแบบไมระบายน้ําสูงกวา 5 กิโล
ปาสคาล อาจถือวาดินนั้นมีแรงตานแรงกระทําดานขางและสามารถปองกันการโกงเดาะของเสาเข็ม
ในขณะที่รับน้ําหนักบรรทุกใชงาน เสาเข็มที่ยื่นโผลพนพื้นดินหรือเจาะทะลุหรือถาชองวางในดิน
ขนาดใหญและโอบรัดดานขางโดยอากาศ น้ํา หรือวัสดุอื่นใดที่มีกําลังไมเพียงพอที่จะโอบรัดเสาเข็ม
และมีแรงตานดานขางได จะตองออกแบบเปนเสา (Column) โดยความยาวประสิทธิผลของเสา
จะตองประมาณโดยคํานึงถึงสภาพการยึดปลายเสา โดยสามารถประมาณความยาวประสิทธิผลของ
เสาไดเมื่อสวนบนของเสาเปนจุดยึดแบบหมุน (Pin) และใชคาความยาวของสวนที่ไมมีการยึดรั้งอื่น
ใด บวกกับสองเทาของเสนผานศูนยกลางเสาเข็ม
4.7.6 แรงกระทําซ้ําเปนรอบ
แรงกระทําซ้ําแบบเปนรอบมีแนวโนมที่จะลดคาโมดูลัสทางดานขางของชั้นดิน (Lateral Subgrade
Modulus) ซึ่งอาจลดลงถึง 30 เปอรเซ็นตของคาเริ่มตน ในกรณีของเสาเข็มกลุมที่รับแรงกระทําซ้ํา
แบบเปนรอบอาจลดลงถึง 10 เปอรเซ็นตของคาเริ่มตน ระดับของความเคนในรูปรอยละของความ
เคนที่การโกงของเสาสูงสุดจะตองถูกนํามาพิจารณา ระดับของความเคนที่ต่ําอาจทําใหไมตอง
พิจารณาถึงการลดลงของโมดูลัสทางขางของชั้นดินเนื่องจากแรงกระทําซ้ําเปนรอบ วิศวกรปฐพี
จะตองประเมินการลดคาโมดูลัสทางขางของดิน ซึ่งอาจใชวิธีการทดสอบ (ถาเปนไปได)

หนา 17 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


4.7.7 การยึดโยงภายใน (Interconnecting Ties)
ในการออกแบบของกรณีแผนดินไหวและแรงกระทําดานขางอื่นใด อาจตองการการยึดโยงระหวาง
เสาเข็มเดี่ยวกับเสาเข็มเดี่ยวดวยโครงสรางยึดรั้ง (Tie) Uniform Building Code (UBC 1985) แนะนํา
วาตัวยึดโยงแตละตัวจะตองสามารถถายแรงดึงหรือแรงอัดไดเทากับ 10 เปอรเซ็นตของแรงที่กระทํา
ตอเสาเข็มตนที่ใหญกวา ตัวยึดโยงอาจจําเปนในการตานทานโมเมนตดัดที่อาจเกิดขึ้น โมเมนตดัด
จะทําหนาที่กระจายซ้ํา (Redistribute) แรงกระทําทางขางสูเสาเข็มทําใหจําเปนตองใชวิธีการ
วิเคราะหที่ซับซอนมากขึ้น ตัวยึดรั้งยังทําหนาที่พัฒนาแรงดันดินแพซซีฟ (Passive Pressure) ในดิน
เมื่อมีแรงลมกระทําและตัวยึดรั้งยังทําหนาที่ลดการทรุดตัวที่ไมเทากันดวย
4.7.8 ระยะคอนกรีตหุมเหล็กเสริมเสาเข็ม เหล็กเสริมเสาโครงสราง
ในกรณีที่ใชปลอกเหล็กถาวร ความหนาของระยะหุมโดยคอนกรีตจะตองไมต่ํากวา 75 มิลลิเมตร
หรือ 3 เทาของขนาดมวลรวมที่โตสุด โดยเลือกใชระยะที่มากกวา จะตองพิจารณาระยะหางระหวาง
เหล็กเสริมและผนังของปลอกเหล็กเมื่อจะตองถอนปลอกเหล็กออก โดยเฉพาะในกรณีที่กรงเหล็ก
เสริมและปลอกเหล็กมีความยาวมาก เมื่อมีระยะหางเพียงพอจะลดโอกาสที่ปลอกเหล็กจะรูดเหล็ก
เสริมลงได

5 วิธีการกอสราง
5.1 การเจาะดินและการใชปลอกเหล็ก
5.1.1 วิธีการกอสราง
จะตองใชวิธีการกอสรางที่จะใหตําแหนงของเสาเข็มตรงตําแหนงที่ออกแบบและไดดิ่ง การกอสราง
จะตองไมทําใหดินรอบหลุมเจาะถูกรบกวนจนเกินจําเปน และการเจาะจะตองทําใหไดหลุมเจาะที่มี
หนาตัดสม่ําเสมอตลอดความลึกของเสาเข็ม เสาเข็มแตละตนจะตองฝงอยูในหรืวางอยูบนชั้นดินที่
ไดกําหนดไว การเทคอนกรีตจะตองเปนไปอยางตอเนื่องและไดกําลังของคอนกรีตและขนาดหนา
ตัดขั้นต่ําที่ไดระบุไวตามตองการ
5.1.2 การเจาะเสาเข็ม
การเจาะเสาเข็มอาจทํ า โดยใช แรงงานคน สวานเจาะ ถั ง เจาะเก็บดิ น แคลมเชลล หรืออุปกรณ
นอกเหนือจากนี้ หรือใชอุปกรณหลายชนิดรวมกัน ทําใหไดขนาดของหลุมเจาะที่ไดออกแบบไว
ควรจะหลีกเลี่ยงการเจาะเกินขนาดออกแบบ

หนา 18 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


5.1.2.1 ในขณะทําการขุดเจาะเสาเข็ม
ในขณะทําการขุดเจาะเสาเข็ม ผูกอสรางเสาเข็มจะตองหมั่นตรวจสอบความดิ่งของเสาเข็ม
การตรวจสอบอยางหยาบอาจใชระดับน้ําทาบกับกานเจาะ สาเหตุ บางประการที่ทําให
เสาเข็มเบี่ยงไปจากแนวดิ่งมากเกินเกณฑที่กําหนด ไดแก
ก. ไม สามารถวางตํ าแหนงเครื่องเจาะและตําแหนงที่เ จาะใหตรงศูน ย ของเสาเข็มที่ไ ด
ออกแบบไว ในกรณีที่อาจจําเปนตองยายเครื่องเจาะออกในระหวางเจาะเสาเข็ม จะตอง
ระวังใหตําแหนงของการเจาะตรงกับตําแหนงเดิมและกานเจาะไดดิ่งกอนเริ่มการเจาะ
ตอจากเดิม
ข. เมื่อการเจาะพบอุปสรรคใตดิน เชน กอนหินขนาดใหญ ฐานรากของอาคารเดิม หรือดิน
ที่ถมดวยเศษปูน การเจาะอาจเฉไปจากแนวและเบี่ยงไปจากดิ่ง
ค. ถาเครื่องจักรเจาะยืนอยูบนชั้นดินออน อาจเกิดการทรุดตัวที่ไมเทากันและทําใหกาน
เจาะเบี่ยงไปจากแนว
ง. การเจาะดินแนนมากที่ตองใชแรงบิดที่กระทําตอกานเจาะเพิ่มขึ้น อาจทําใหแนวกาน
เจาะเบี่ยงไปได
5.1.3 การใชปลอกเหล็ก
ในดินแข็งแนนที่ไมมีน้ําใตดิน หรือมีนอยมากนั้น ไมจําเปนจะตองใชปลอกเหล็กแตอาจใชปลอก
เหล็กเพื่อความปลอดภัย ปลอกเหล็กที่มีขนาดหนาตัดเล็กกวาหลุมเจาะที่ใชสําหรับผูปฏิบัติงานลง
ไปสํารวจหลุมเจาะ จะตองเปนเหล็กหนาไมนอยกวา 6 มิลลิเมตรซึ่งโดยปกติจะตองดึงขึ้นจากหลุม
เจาะหลังจากสํารวจเรียบรอยแลว ในกรณีอื่นอาจใชปลอกเหล็กชั่วคราว Slurry หรือทั้งสองอยางใน
การปองกันดินรอบหลุมเจาะพังทลาย ซึ่งขึ้นอยูกับวิธีการกอสราง ระดับน้ําใตดิน และอาคารและ
สาธารณูปโภคที่อยูขางเคียง ในกรณีที่จะตองจํากัดการทรุดตัวของดิน จะตองระบุระบบการปองกัน
ดินลงในสัญญากอสราง
5.1.4 - Belling of pier – ไมเหมาะ
5.1.5 การที่ระบุใหมกี ารฝงเสาเข็มลงในชั้นหิน
ในกรณีที่ระบุใหเจาะฝงเสาเข็มลงในชั้นหิน จะตองเจาะโดยวิธีที่ไดอนุมัติแลว ตัวอยางเชน การเจาะ
หมุน การเจาะหินแบบแทง (Coring) การใชวิธีสกัด (Chipping) และการกระแทก (Chopping) วิธี

หนา 19 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


เจาะดวยการระเบิดจะตองไมนํามาใชในพื้นที่จํากัด ซึ่งแรงเนื่องจากการระเบิดอาจทําลายปลอก
เหล็ก หรือสงผลตอดินและสิ่งปลูกสรางขางเคียง
5.1.6 การวางเสาเข็มบนชั้นหิน
ในกรณีที่จะตองวางเสาเข็มลงบนชั้นดิน จะตองเจาะลงในชั้นหินและทํากนหลุมใหเปนขั้นหรือทํา
ใหเรียบ โดยมีความเอียงไมเกินกวา 10 องศา
5.1.7 เสาเข็ม Bearing Pile in Shales
ในกรณีที่เสาเข็มถูกออกแบบใหวางบนชั้นหิน Shales หรือชั้นดินแข็งที่มีลักษณะคลายกัน อาจ
พิจารณาใหแรงกระทําตอเสาเข็มอาจถายลงสูชั้นดินโดยแรงเสียดทานผิวที่เกิดขึ้นในชั้นหินนั้น โดย
ปฏิบัติในบางพื้นที่จะเซาะรองลงบนผนังหลุมเจาะตามเสนรอบวงใหมีลักษณะเปนวงแหวนใน
บริเวณปลายเข็มเพื่อใชเปนเดือยถายแรงเฉือนดังรูปที่ 2 แตในบางกรณีอาจไมจําเปนตองใชเดือย
ถายแรงเฉือนเพื่อใหเกิดแรงเสียดทานก็ได การเซาะรองเดือยถายแรงเฉือนบนผนังหลุมเจาะอาจใช
เล็บตัดติดบนเครื่องมือเจาะเสาเข็ม
5.1.8 ระยะหางขั้นต่าํ ระหวางเสาเข็มกําลังกอสรางกับเสาเข็มเพิ่งกอสรางเสร็จ
ในการเจาะเสาเข็ม จะตองไมเจาะเสาเข็มใกลกับเสาเข็มที่เพิ่งเทคอนกรีตเสร็จใหมซึ่งคอนกรีตยังไม
กอตัว (Setting) ระยะหางขั้นต่ําที่จะไมทําใหเกิดการพังของหลุมเจาะที่คอนกรีตยังไมกอตัวจาก
หลุมหนึ่งไปยังอีกหลุมหนึ่งนั้นขึ้นกับคุณสมบัติของดิน รูปทรงเรขาคณิตของเสาเข็ม และระยะเวลา
กอตัวของคอนกรีต ซึ่งจะตองระบุโดยวิศวกรปฐพี
5.2 การติดตั้งเหล็กเสริม (Placing Reinforcement)
5.2.1 เหล็กเสริม
เหล็กเสริม เหล็กเดือย จะตองวางไวใหตรงตําแหนงตามแบบ และยึดไวอยางเพียงพอที่จะรักษา
ตําแหนงที่วางไวในขณะทํางาน ถาวิธีการกอสรางเสาเข็มโดยใชปลอกเหล็กชั่วคราวและจะตอง
ถอนปลอกเหล็กขึ้น จะตองระมัดระวังมิใหเหล็กเสริมหรือเหล็กเดือยที่ฝงไวถูกกระทบกระเทือน
หรือโผลยื่นมาสัมผัสกับดินในขณะถอนปลอกเหล็ก
5.2.2 ระยะหางระหวางเหล็กเสริมตั้ง
ระยะหางระหวางเหล็กเสริมตั้งจะตองไมต่ํากวา 3 เทาของขนาดมวลรวมหยาบโตสุด หรือ 3 เทา
ของเสนผานศูนยกลางเหล็กเสริม โดยเลือกใชระยะที่มากกวา

หนา 20 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


5.2.3 การทาบเหล็กเสริมในแนวดิง่
การทาบเหล็กเสริมในแนวดิ่งจะตองเปนไปตามขอกําหนด ACI 318 โดยทั่วไปจะไมยอมใหมีการ
ตอทาบเหล็กเสริมที่ตําแหนงเดียวกันเกินกวา 50 เปอรเซ็นต
5.3 การเทคอนกรีตและการถอนปลอกเหล็ก
5.3.1 การใชปลอกเหล็ก
จะตองใชปลอกเหล็กเพื่อกันน้ําไมใหเขามาในหลุมเจาะ เมื่อสามารถตอกปลอกเหล็กใหจมไปจนถึง
ชั้นดินทึบน้ําได
5.3.2 การอัดตัวของคอนกรีตแบบปลอยใหตกอยางอิสระ
คอนกรีตที่เทโดยปลอยใหตกอยางอิสระโดยมีคายุบตัวของคอนกรีตสดเทากับ 10 เซนติเมตร จะมี
การอัดตัวใหแนนเพียงพอ การเทคอนกรีตผานกรวยที่ตอไวดวยทอขนาด สั้นที่วางไวตรงกลางหลุม
เจาะเปนวิธีการที่แนะนําสําหรับการเทคอนกรีตแบบตกอยางอิสระโดยไมมีสิ่งกีดขวาง การเท
คอนกรีตลงในเสาเข็มที่มีเสนผานศูนยกลางเล็กและมีเหล็กเสริมเปนจํานวนมากอาจจะตองใชทอตอ
จากกรวยใหยาวขึ้น หรือใชขนาดมวลรวมโตสุดใหมีขนาดเล็กลงและมีคายุบตัวที่สูงขึ้น
5.3.3 การถอนปลอกเหล็ก
การเจาะเสาเข็มในชั้นดินที่สามารถถอนปลอกเหล็กออกไดขณะเทคอนกรีตเสาเข็ม จะตองแนใจวา
อุปกรณและขั้นตอนการถอนไมรบกวนหรือดึงใหแยกจากกัน
5.3.4 สภาพของปลอกเหล็ก
ปลอกเหล็กจะตองมีสภาพและรูปรางที่เหมาะสมและปราศจากคอนกรีตที่แข็งตัวจับกับเหล็กผิวใน
ของปลอกซึ่งทําใหการถอนปลอกขึ้นไดยาก เมื่อคาดวาจะมีการเคลื่อนตัวของดินจะตองมีการ
ตรวจสอบเปนระยะโดยผูรับเหมาเสาเข็มถึงขนาดเสนผานศูนยกลางของเสาเข็มอยางนอยสองจุด
ที่ตั้งฉากกัน ปลอกเหล็กจะตองมีความยาวที่เพียงพอเพื่อที่จะตอกใหทะลุชั้นดินที่มีโอกาสพังทลาย
ได เสนผานศูนยกลางของปลอกเหล็กจะตองมีคาใกลเคียงกับเสนผานศูนยกลางของหลุมเจาะเมื่อ
ถอนปลอกเหล็กออกแลว
5.3.5 การประเมินขนาดของเสาเข็มจากปริมาตรคอนกรีตที่ใชจริง
จะตองคํานวณปริมาตรทางทฤษฎีของคอนกรีตที่ตองการเพื่อการเทแทนที่หลุมเจาะ ถาปริมาตรของ
คอนกรีตที่ใชจริง (ประมาณไดจากปริมาณที่รถบรรทุกปูนสงมาในแตละครั้ง) นอยกวาปริมาตรทาง
ทฤษฏีมาก อาจเปนไปไดวาเสาเข็มตนนั้นอาจมีการคอด มีการพังทลายของผนังหลุมเจาะ หรือมีการ

หนา 21 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


ปนเปอนของคอนกรีต ถาสันนิษฐานวาเสาเข็มจะมีความบกพรองอาจดําเนินการเจาะเสาเข็มซ้ําทัน
ที่ก อ นคอนกรี ต จะกอตัว การไมยอมรับเสาเข็มที่บ กพรอ งจะต องมีก ารเจาะเสาเข็มเพิ่ มเติม ใน
ตําแหนงที่สามารถรองรับโครงสรางสวนบนไดดังเดิม ซึ่งจะตองมีการออกแบบโครงสรางเพื่อถาย
แรงใหม
5.4 การกอสรางดวยวิธีการแทนที่ (Slurry)
5.4.1 การเจาะดิน
วิ ธี ก ารเจาะและอุ ป กรณ ใ นการเจาะดิ น จะต อ งทํ า ให ไ ด ผ นั ง ของหลุ ม เจาะและก น หลุ ม เจาะที่
ปราศจากดินหลวมอันจะทําใหหนาสัมผัสที่ไมดีระหวางคอนกรีตกับดินแนน ในกรณีที่ใชสวาน
เจาะ การดึงสวานขึ้นและการกดสวานลงจะตองกระทําอยางชาๆ เพื่อของเหลวที่พยุงหลุมเจาะจะได
ไม ห มุ น วนหรื อ เกิ ด แรงดู ด กระทํ า ต อ ผนั ง หลุ ม เจาะในขณะที่ ส ว า นเคลื่ อ นที่ การหมุ น วนของ
ของเหลวจะทําใหเกิดการกัดเซาะผนังหลุมเจาะ และการเกิดแรงดูดทําใหผนังหลุมเจาะพังทลาย ใน
การกอสรางเสาเข็มที่ออกแบบเปนเสาเข็มรับแรงเสียดทานจะตองทําความสะอาดหลุมเจาะเมื่อมี
ตะกอนกนหลุมเกินกวา 150 มิลลิเมตร
ดินจากหลุมเจาะจะต องขนยายใหหางจากปากหลุมเจาะเพื่อปองกันดินไหลลงไปในหลุมเจาะ
หลังจากทําความสะอาดหลุมเจาะแลว
5.4.2 วิธีการติดตั้ง
ในกรณีที่จะตองเจาะเสาเข็มใตระดับน้ําใตดินในดินทราย จะตองใชปลอกเหล็กชั่วคราวหรือของเห
ลงพยุงหลุมเจาะเพื่อใหหลุมเจาะมีเสถียรภาพ ระดับของ Slurry ในการเจาะตองตองรักษาระดับไว
ไมต่ํากวา 1.50 เมตรเหนือระดับน้ําใตดินและเหนือบริเวณที่ดินไมมีเสถียรภาพเพื่อปองกันการ
พังทลายของดินในบริเวณนั้นลงในหลุมเจาะ ผูเจาะเสาเข็มจะตองแสดงใหเห็นวาหลุมเจาะมี
เสถียรภาพ อาจใชวิธีวัดระดับของกนหลุมเมื่อหยุดการเจาะเปนระยะเวลาหนึ่ง
ในกรณีที่ใชของเหลวพยุงหลุมเจาะเพื่อพยุงผนังหลุมเจาะไว กอนจะติดตั้งปลอกเหล็ก ของเหลวที่
ใชในระหวางนี้อาจเปนน้ําก็ ได ยกเวนแตในกรณีที่ทราบจากประสบการณวาจํ าเปนจะตองใช
Slurry ถาการเจาะไมใชปลอกเหล็กจะตองรักษาระดับของ Slurry ไวเปนพิเศษ จะตองผสม Slurry
ในถังผสมในพื้นที่กอสรางหรือผสมเสร็จแลวจึงสงมายังพื้นที่กอสรางโดยจะตองไมทําการผสม
Slurry ในหลุมเจาะ ในกรณีของ Polymer Slurry อาจทําการผสมในหลุมเจาะได Slurry จะตอง
ประกอบไปดวยน้ําหรืออนุภาคแขวนลอยของของแข็งหลายชนิด หรือใชเปนโพลีเมอรที่ผสมใหเขา

หนา 22 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


กันดวยน้ําทําใหไดคุณสมบัติที่เหมาะสมกับการเจาะเสาเข็ม เบนโทไทนและ Attapulgite จะตอง
เปนไปตามขอกําหนดของ API 13A ชนิดของสารที่ใชขึ้นอยูกับสภาพชั้นดินและคุณสมบัติของน้ําที่
ใชผสม จะตองมีรายการผลการทดสอบจากผูผลิตที่ระบุคุณสมบัติทางกายภาพและคุณสมบัติทาง
เคมีของสารที่นํามาใช เสนอตอวิศวกรปฐพีกอนการเริ่มเจาะเสาเข็มจะตองผสม จัดเก็บ และขนยาย
Slurry โดยใชอุปกรณที่มักใชงานกันในโครงการเจาะเสาเข็ม น้ําที่ใชในการผสมเพื่อเตรียม Slurry
จะตองสะอาด และเปนน้ําจืดที่มีคุณภาพ ไดรับการอนุมัติจากวิศวกรปฐพีแลว จะตองมีการทดสอบ
และบันทึกผลการทดสอบคุณสมบัติของ Slurry เพื่อใชควบคุมคุณภาพเสาเข็มเจาะ ผูรับเหมาเสาเข็ม
จะตองจัดเตรียมอุปกรณเพื่อการทดสอบในสนาม จะตองมีการทดสอบดวยความถี่สองครั้งตอหนึ่ง
กะการทํางาน โดยการทดสอบครั้งแรกกระทําเมื่อเริ่มตนกะการทํางาน การทดสอบ Slurry อาจจะ
จําเปนตองทําหลายครั้งเพื่อใหแนใจวา Slurry ที่ใชนั้นมีคุณสมบัติที่ยอมรับได ผูรับเหมาเสาเข็ม
จะตองจัดเตรียมอุปกรณที่ใชเก็บตัวอยาง Slurry ที่สามารถเก็บตัวอยาง Slurry ที่ความลึกใดก็ไดใน
หลุมเจาะ ถาไดรับการรองขอจากวิศวกรปฐพี
ผูกอสรางจะตองใชเครื่องมือเจาะและขั้นตอนการเจาะที่จะไมกอใหเกิดแรงดูดขึ้นในหลุมเจาะสูง
มากเกินไป หลังจากเสร็จสิ้นการขุดเจาะจะตองทําความสะอาดกนหลุมดวยการดูดตะกอนกนหลุม
ขึ้นมาและแทนที่ดวย Slurry ที่กําจัดตะกอนออกแลว การทําความสะอาดกนหลุมเจาะอาจใชถังทํา
ความสะอาดแบบเขาไดทางเดียวเพื่อปองกันตะกอนหลุดออกจากถังทําความสะอาดในขณะถอน
กานเจาะขึ้น Slurry ที่อยูในหลุมเจาะจะตองเปนไปตามขอกําหนดกอนการเทคอนกรีต ถาการทํา
ความสะอาด เปลี่ยนถาย กําจัดตะกอนทราย หรือเปลี่ยน Slurry ใหมเปนสิ่งที่จําเปนตองทํา
ผูรับเหมาจะตองทําเพื่อใหเปนไปตามขอกําหนด การเทคอนกรีตเสาเข็มจะตองกระทําตอเนื่อง
หลังจากเจาะหลุมเจาะเสร็จ ถาไมสามารถเทคอนกรีตไดจะตองควานหลุมเจาะอีกครั้ง ทําความ
สะอาดหลุมเจาะ และทดสอบ Slurry กอนการเทคอนกรีต อาจทําการเขียนกราฟความสัมพันธ
ระหวางปริมาตรคอนกรีตทางทฤษฎีกับความลึกของเสาเข็มแตละตน และเปรียบเทียบกับปริมาตร
คอนกรีตที่ใชจริงจากปริมาตรที่รถบรรทุกคอนกรีตสงมายังหนางาน สําหรับเสาเข็มที่มีแรงตาน
ปลายเข็มเปนหลัก ปริมาณตะกอนทรายจะตองไมเกิน 4 เปอรเซ็นต สําหรับในกรณีอื่นปริมาณทราย
จะตองไมเกินกวา 10 เปอรเซ็นต สําหรับในบางพื้นที่ยอมใหมีปริมาณทรายไดสูงถึง 25 เปอรเซ็นต
ความหนาแนนของ Slurry จะตองไมเกิน 1.2 ตันตอลูกบาศกเมตร สําหรับเสาเข็มที่มีแรงตานปลาย

หนา 23 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


เข็มเปนหลัก จะตองเก็บตัวอยางและทดสอบ Slurry ในถังเก็บและจากตัวอยางที่เก็บมาจากกนหลุม
โดยเก็บหางจากกนหลุมเปนระยะ 0.3 เมตร
จะตองตรวจสอบกนหลุมเจาะเพื่อยืนยันวาไมมีเศษดินจากหัวเจาะหรือดินจากผนังหลุมเจาะรวง
หลนลงไปยังกนหลุมเจาะ ปริมาณเศษดินที่ตกลงสูกนหลุมเจาะจะตองไมเกิน 150 มิลลิเมตรโดยไม
มีการทําความสะอาดกนหลุม ในกรณีที่เปนเสาเข็มที่ออกแบบใหไมมีการรับแรงที่ปลาย
5.4.3 เหล็กเสริมเสาเข็ม
การติดตั้งเหล็กเสริมลงในหลุมเจาะจะตองกระทําหลังจากที่วิศวกรปฐพีไดทําการตรวจสอบและ
ออกคําอนุมัติ หลังจากที่ไดรับอนุมัติใหติดตั้งเหล็กเสริม เหล็กเสริมจะตองวางไวกลางหลุมเจาะ
โดยมีระดับที่ถูกตองโดยใชลูกปูนหนุนเหล็กเสริมเสาเข็มจะตองไมสัมผัสกับผนังหลุมเจาะและ
จะตองถูกหุมดวยคอนกรีตโดยใชอุปกรณหนุน เชน ลูกปูน หนุนไวอยางเพียงพอ จะตองรักษาระยะ
หุมคอนกรีตขั้นต่ําไวเทากับ 75 มิลลิเมตร และชองวางระหวางเหล็กเสริมในแนวนอนจะตองไม
นอยกวา 100 มิลลิเมตร และ ชองวางระหวางเหล็กเสริมตั้งจะตองไมต่ํากวา 3 เทาของขนาดโตสุด
ของมวลรวมหยาบ (อยางต่ํา 75 มิลลิเมตร)
5.4.4 คอนกรีต
คอนกรีตที่ใชจะตองสอดคลองกับขอกําหนดดังนี้
ก. คอนกรีตที่ใชในวิธีการเจาะเสาเข็มระบบเจาะเปยกจะตองมีคายุบตัว (Slump) อยูระหวาง 175-
225 มิลลิเมตร
ข. มวลรวมโตสุดมีขนาดไมเกิน 125 มิลลิเมตร
ค. มีสารหนวงที่ทําใหคอนกรีตมีคายุบตัวที่ 125 มิลลิเมตรหรือมากกวาหลังจาก 4 ชั่วโมง โดยชนิด
ของสารหนวงจะตองไดรับอนุมัติจากวิศวกรกอนการใชงาน
การเทคอนกรีตจะเริ่มไดหลังจากที่หลุมเจาะไดรับการยอมรับจากวิศวกรปฐพีและไดรับการยอมรับ
การติดตั้งเหล็กเสริมจากวิศวกรคุมงานจะตองมีการทําความสะอาดหลุมเจาะกอนเริ่มเทคอนกรีต
การทําความสะอาดของเหลวหนืดอาจใชวิธี Air Lift หรือการสูบของเหลวจากกนหลุมแลวเติม
ของเหลวหนืดที่สะอาดคืนลงหลุมเจาะ การเก็บตะกอนกนหลุมเจาะอาจใชถังเก็บตะกอน (Clean
Out Bucket) ซึ่งขึ้นกับขอกําหนดที่ระบุไวในสัญญา ถาเสาเข็มถูกออกแบบใหเปนเสาเข็มรับแรงที่
ปลาย จะตองตรวจสอบกนหลุมอีกครั้งหลังจากติดตั้งเหล็กเสริมและกอนการเทคอนกรีตดวยเทปที่
ถวงตุมน้ําหนักไวที่ปลายเทป จะตองเทคอนกรีตใหเสร็จในระหวางที่หลุมเจาะมีเสถียรภาพและ

หนา 24 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


คอนกรีตยังคงสภาพเหลว จะตองไมเริ่มเทคอนกรีตหากยังไมไดรับการยืนยันวามีคอนกรีตเพียงพอ
สําหรับการเทใหเสร็จในครั้งเดียว
5.4.5 การเทคอนกรีต
การเทคอนกรีตอาจใชวิธีการเทคอนกรีตใตน้ํา (Tremie) หรือวิธีการเทโดยปม ทั้งสองวิธีจะตองใช
ตัวอุดทอเพื่อปองกันการปนเปอนของคอนกรีตสดกับสเลอรี่ จะตองติดตั้งทอเทคอนกรีตใหถึงกน
หลุมกอนเริ่มเทคอนกรีต และจะตองใหความระวังในการเทคอนกรีตใหไลสเลอรี่ที่อยูในทอออกไป
ในการเทคอนกรีตชุดแรก ทอเทคอนกรีตจะตองฝงอยูในคอนกรีตสดอยางนอย 1 เมตร ถึง 1.5 เมตร
และรัก ษาระยะฝ งนี้ ไ ว ต ลอดการเทคอนกรี ต เพื่อป องกั น สเลอรี่ ท ะลั ก เข า มาในท อ เทคอนกรี ต
คอนกรีตที่เทลงในทอเทชุดแรกเมื่อไหลขึ้นมาถึงหัวเสาเข็มเปนคอนกรีตที่ปนเปอนกับดินโคลนซึ่ง
จะตองปลอยทิ้งจนไดคอนกรีตสดที่สะอาด ไมควรจะยอมใหมีการยกทอเทคอนกรีตขึ้นลงอยาง
รวดเร็ว กอนการเริ่มงานจะตองสงรายละเอียดอุปกรณและวิธีการเทคอนกรีตใหวิศวกรอนุมัติ
เสียกอน ในระหวางการเทคอนกรีตจะตองไมยกปลายทอเทขึ้นเหนือระดับคอนกรีตที่เทไปแลว
ทอเทจะตองไมมีการั่วซึม จะตองไมใชอุปกรณและทอที่ทําจากอลูมิเนียมในการเทคอนกรีต จะตอง
ปองกันความเสียหายของคอนกรีตที่โผลขึ้นเหนือดิน และจะตองบมคอนกรีตดวยวิธีที่เหมาะสม
5.5 ความปลอดภัยในงานเสาเข็มเจาะ (Safety)
ขอกําหนดที่ระบุนี้เปนขอกําหนดขั้นต่ํา ขอกําหนดเฉพาะงานที่เขมงวดกวานี้ใหเปนไปตามเกณฑของ
องคกรที่ดูแลดานความปลอดภัย
5.5.1 กาซในหลุมเจาะ
บุคลากรที่เกี่ยวของกับการเจาะเสาเข็มจะตองระมัดระวังกาซพิษและกาซที่ระเบิดไดที่อาจมีอยูใน
ชั้นดินและถูกปลดปลอยเมื่อเจาะเสาเข็ม ในพื้นที่ปฏิบัติงานจะตองจัดเตรียมหนากากกันกาซ เครื่อง
ตรวจจับกาซ และเครื่องมือปฐมพยาล พรอมทั้งเครื่องเปาลมไปยังกนหลุม สําหรับในกรณีฉุกเฉิน
ถาตรวจพบกาซหรือคาดวาจะมีกาซในขณะขุดเจาะ จะตองไมอนุญาตใหผูปฏิบัติงานเขาไปเจาะ
หลุมเจาะจนกวาจะระบายกาซออกจนปลอดภัย
5.5.2 การปองกันปากหลุม
เมื่อหยุดการขุดเจาะชั่วคราวหรือเมื่อขุดเจาะเสร็จจะตองปดปากหลุมเจาะ วัสดุที่ปดปากหลุมเจาะ
จะตองมีความแข็งแรงเพียงพอที่จะปองกันการพลัดตกลงไปในหลุมเจาะ

หนา 25 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


6 การตรวจสอบและทดสอบ
6.1 ขอบเขต
วัตถุประสงค ของการตรวจสอบและทดสอบเพื่อดูวาเสาเข็มที่กอสรางนั้ นเปนตามสมมุติฐานในการ
ออกแบบและขอกําหนดในการกอสรางหรือไม มีคาคลาดเคลื่อนอยูในชวงที่ยอมรับได ถามีการเบี่ยงเบน
ไปจากที่กําหนด
6.1.1 สาเหตุหลักของความผิดพลาดในการกอสราง
สาเหตุหลักที่พบบอยซึ่งทําใหเกิดความผิดพลาด ไดแก
ก. การเกิดโพรงขึ้นในเนื้อคอนกรีตเสาเข็ม เนื่องจากการถอนปลอกเหล็กที่ไมเหมาะสม และใช
คอนกรีตที่มีคายุบตัวต่ําเกินไป
ข. เทคอนกรีตลงบนน้ําที่ไหลนองในเสาเข็ม
ค. การพังทลายของผนังหลุมเจาะลงในคอนกรีตเหลวทําใหคอนกรีตปนเปอน
ง. ใหตําแหนงของเสาเข็มผิด เสาเข็มไมไดดิ่ง หรือติดตั้งเหล็กเสริมไวไมดี
จ. การพังทลายของผิวดินลงในหลุมเจาะทําใหปนเปอนกับคอนกรีตสด หรือเปนดินที่ฝงอยูในเนื้อ
คอนกรีต
ฉ. การลงทอเทคอนกรีตไมถูกตอง ทําใหเกิดการแยกตัวของมวลรวม หรือเกิดการผสมกันกับ
Slurry หรือน้ํา
ช. เสนผานศูนยกลางของหลุมเจาะเล็กลงเนื่องจากผนังตีบกอนการเทคอนกรีต หรือในขณะเท
คอนกรีต
ซ. การวิบัติของปลอกเหล็ก
ฌ. น้ําสวนเกินหรือคอนกรีตปนเปอนที่รอยตอแบบ cold joint ทําใหคุณสมบัติคอนกรีตต่ําลง
ญ. เกิดการรั่วของน้ําเขาไปทําใหปริมาณน้ําในคอนกรีตสดเพิ่มขึ้นทําใหคุณสมบัติคอนกรีตต่ําลง
ฎ. คอนกรีตสดที่สงมาจากโรงงานมีคุณภาพต่ํา
ฏ. ชั้นดินใตเสาเข็มมีคุณภาพต่ําหรือมีตะกอนมาก
ฐ. คอนกรีตสดที่เทดวยทอเทดันแทนที่ Slurry ไมสมบูรณ
ฑ. ตะกอนทรายตกทับบนผิวหนาของคอนกรีตใน Slurry ทําใหคายุบตัวของคอนกรีตลดลงและ
พังทลายทับตะกอนทราย ทําใหมีตะกอนทรายในเนื้อคอนกรีตเสาเข็ม

หนา 26 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


6.2 Geotechnical Field Representative
จะตองมีวิศวกรปฐพีที่ทําหนาที่ตรวจสอบการกอสรางเสาเข็มเจาะ ผูทําหนาที่ในสนามจะตองเปนพนักงาน
ภายใตวิศวกรปฐพีและจะตองมีคุณสมบัติตรงกับงานกอสรางเสาเข็มเจาะ และมีพื้นฐานการศึกษาดาน
เทคนิคเพียงพอที่จะตีความผลการสํารวจและสื่อสารขอมูลอยางถูกตอง
ขอแนะนํา: ใหมีผูตรวจสอบงานตลอดการกอสรางเสาเข็มแตละตน
6.3 Preliminary Procedures
กอนการออกแบบเสาเข็มจะตองมีการศึกษาถึงชั้นดินโดยวิศวกรปฐพีที่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชี พ
ควบคุม โดยจะตองมีผูเจาะสํารวจ เก็บตัวอยางและทดสอบที่มีประสบการณ ในการศึกษาชั้นดินจะตองไม
มีขอจํากัดในปริมาณการเจาะสํารวจโดยเจาของงานหรือวิศวกรผูควบคุมงาน
ในการเจาะสํารวจเพื่อระบุตําแหนง กําลังและการยุบตัวของชั้นดินในบริเวณที่จะกอสรางเสาเข็มอาจจะ
ทําการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อใชคาดเดาปญหาที่อาจเกิดขึ้นในขณะทําการกอสราง ในบางกรณีอาจจําเปนตอง
เจาะหลุมเจาะตรงตําแหนงของเสาเข็มเจาะ เชน ในกรณีที่เสาเข็มที่ตองเจาะผานดินถมที่เปนเศษคอนกรีต
หรือชั้นดินคอนขางแปรปรวน จะตองสงขอมูลผลการเจาะสํารวจและผลการทดสอบใหกับผูรับเหมากอน
การประมูลงาน กอนการลงนามในสัญญาจะตองมีขอตกลงระหวางวิศวกรปฐพี วิศวกรโครงสราง และ
ผูรับเหมา ในเรื่องการออกแบบฐานรากและปญหาที่อาจพบในระหวางการกอสราง ผูรับเหมาจะตองสง
แผนการกอสรางฐานรากใหวิศวกรปฐพี และ/หรือ วิศวกรโครงสรางพิจารณา และถามีขอคิดเห็นใดที่
แตกตางจะตองทําความตกลงใหเสร็จในการประชุมกอนการกอสราง เพื่อทบทวนกระบวนการกอสราง
เปนสิ่งสําคัญ จะตองเตรียมขอกําหนดเพื่อจัดการกับกรณีที่คาดไมถึง และวิธีที่จะจัดการกับกรณีนั้น
จะตองเปนที่ตกลงกันทุกฝายและเปนสวนหนึ่งของสัญญากอสราง
6.4 ขั้นตอนการตรวจสอบ (Inspection Procedures)
ถาเปนไปไดในทางปฏิบัติจําเปนจะตองมีการตรวจสอบหลุมที่เจาะไวกอนการเทคอนกรีตเสาเข็ม หรือการ
ทดสอบเพื่อตรวจสอบหลุมเจาะที่เพียงพอ อาจจะตองใชวิธีการตรวจสอบหลุมเจาะจากผิวดิน เนื่องจากการ
ใหผูตรวจสอบลงในหลุมเจาะมีความเสี่ยงอันตราย หรือลงไปตรวจสอบไมไดเนื่องจากมี Slurry อยูใน
หลุมเจาะ โดยปกติเสาเข็มที่รับแรงเสียดทานผิวเปนหลักมักจะไมตองการตรวจสอบหลุมเจาะ ยกเวนใน
กรณีที่มีการเซาะรองในผนังหลุมเจาะเพื่อเพิ่มแรงเฉือนดานขาง

หนา 27 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


6.4.1 ตําแหนงศูนยกลางเสาเข็ม
จะตองมีการวัดคาการเยื้องศูนยทางแนวราบของเสาเข็มที่กอสรางเสร็จแลวเทียบศูนยกลางเสาเข็มที่
ไดออกแบบไว ณ ระดับตัดหัวเสาเข็ม โดยจะตองใชอุปกรณที่เหมาะสมและทําการบันทึกคาไว
6.4.2 ความดิ่ง
ความดิ่งของเสาเข็มคือคาที่เสาเข็มเอียงจากแนวดิ่ง
6.4.3 การยายสิ่งกีดขวางใตดนิ
ผูรับผิดชอบดานธรณีเทคนิคจะตองตรวจสอบวาอุปสรรคใตดินที่จะมีผลตอการกอสรางเสาเข็มให
สมบูรณไดถูกยายออกไปแลวและไดลงบันทึกไวดวย
6.4.3.1 ปลอกเหล็ก
ในกรณีที่มีการกําหนดความหนา ความยาว เสนผานศูนยกลางหรือคุณสมบัติอยางอื่นของ
ปลอกเหล็กไว ผูรับผิดชอบดานธรณีเทคนิคจะตองตรวจสอบวาปลอกเหล็กที่ใชนั้นตรง
ตามขอกําหนดที่ไดกําหนดไวหรือไม
6.4.3.2 การทรุดตัวของดิน
การทรุดตัวของดินอาจเกิดจากการพังทลายของผนังหลุมเจาะ การเคลื่อนตัวของผนังหลุม
เจาะที่เปนดินเหนียวเขามาในหลุมเจาะ การไหลของทรายหรือ Silt อิ่มตัวเขามาในหลุมเจาะ
และการสูบน้ําเพื่อลดระดับน้ําใตดินแลวดินไหลตามไปกับน้ํา
ผูรับผิดชอบดานธรณีเทคนิคจะตองหมั่นตรวจสอบน้ําที่สูบขึ้นมาเพื่อลดระดับน้ําใตดิน
อยางสม่ําเสมอ เพื่อระบุปริมาณดินเม็ดละเอียดที่ถูกสูบขึ้นมากับน้ํา ในการนี้อาจใชถัง
สําหรับดักตะกอนชวยในการตรวจสอบก็ได การเคลื่อนตัวของดินซึ่งทําใหเกิดการทรุดตัว
ของดินที่อาจกอใหเกิดความเสียหายใดๆ ผูรับผิดชอบดานธรณีเทคนิคจะตองแจงใหผู
กอสรางเสาเข็ม และวิศวกรผูควบคุมงานทราบ เมื่อพบวาการสอดหัวเจาะดินลงในหลุม
หรือการถอนหัวเจาะขึ้นมาคอนขางยากจะเปนตัวบงชี้วาผนังหลุมเจาะมีการบีบตัวเขามา
การเปรียบเทียบปริมาตรคอนกรีตที่ใชจริงกับปริมาตรคอนกรีตในทางทฤษฎีเปนประโยชน
ในการบงชี้ถึงขนาดหนาตัดเฉลี่ยของหลุมเจาะ
6.4.3.3 การควบคุมน้ําใตดิน
น้ําในหลุมเจาะเสาเข็มสามารถไหลจากการที่ปลอกเหล็กรั่ว (หรือไหลจากระดับผิวดินลง
ในหลุมถาไมใชปลอกเหล็กกันสวนบนของหลุมเจาะไว) ไหลจากการที่มีชั้นดินทรายหรือ

หนา 28 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


กรวดอิ่มน้ํา หรือไหลเขาในหลุมเจาะจากกนหลุมเจาะ ผูรับผิดชอบดานธรณีเทคนิคจะตอง
ตรวจสอบและรายงานถึงวิธีการควบคุมน้ําใตดิน ในการตรวจสอบการทําความสะอาดกน
หลุม, การตรวจสอบวัสดุกนหลุมเจาะ และวิธีการเทคอนกรีตที่เหมาะสม จะตองรักษา
ระดับน้ําใตดินกนหลุมใหสูงไมเกิน 50 มิลลิเมตร ในกรณีที่ไมสามารถควบคุมการไหลของ
น้ําจากผิวดินลงไปในหลุมเจาะได อาจจะตองใชวิธีหรือเทคนิคพิเศษซึ่งตองไดรับการ
อนุมัติจากวิ ศวกรผู ควบคุมงานก อนการนํามาใช ในบางครั้งอาจจะต องมี การเจาะแทง
คอนกรีตเสาเข็มที่หลอเสร็จแลวขึ้นมาตรวจสอบความตอเนื่องและความสม่ําเสมอของเนื้อ
คอนกรีต ในกรณีที่ไมตองการเจาะแทงคอนกรีตอาจจะใชวิธีตรวจสอบความสมบูรณของ
คอนกรีตเสาเข็มโดยใชวิธี Sonic Logging หรือ Gamma Logging ผานทอที่ไดจัดเตรียมไว
ในขณะกอสรางเสาเข็มก็ได
6.4.3.4 ความลึกของเสาเข็ม
ผูรับผิดชอบดานธรณีเทคนิคจะตองระบุวาเมื่อใดการเจาะไดถึงชั้นดินที่จะเปนปลายเสาเข็ม
และเมื่ อ ใดที่ ค วามลึ ก ของเสาเข็ ม เพี ย งพอ การระบุ ส ามารถใช ก ารทดสอบหรื อ การ
ตรวจสอบที่เหมาะสมกับตัวอยางดินที่เก็บจากกนหลุมและเปรียบเทียบกับผลการเจาะ
สํารวจดินที่ใชออกแบบ
6.4.3.5 Belled Pier
- Void -
6.4.3.6 การทําความสะอาดหลุมเจาะ
จะตองมีการทําความสะอาดหลุมเจาะโดยการเก็บดินออน ดินหลวม ดินที่ถูกรบกวน จาก
กนหลุมของเสาเข็มที่เปน End Bearing Pile ปริมาณของเศษดินจะตองไมมากกวา 10
เปอรเซ็นตของพื้นที่หนาตัดที่ปลายของเสาเข็ม และจะตองไมหนาเกินกวา 50 มิลลิเมตร
การตรวจสอบโดยวิธีหยอนเครื่องมือหรือผูตรวจสอบลงในหลุมมีความจําเปน เพื่อที่จะ
ตรวจสอบวาปริมาณเศษดินไมเกินกวาขอกําหนด ในกรณีที่ทําความสะอาดกนหลุมดวย
เครื่องจักรหรืออุปกรณไมได อาจจําเปนตองใชแรงงานคนในการทําความสะอาด ถาการสง
คนงานหรือผูตรวจสอบลงในหลุมเจาะเนื่องจากการไหลของน้ําใตดินหรือการไหลของ Silt
หรือทราย อาจจะใชวิธีพิเศษในการตรวจสอบซึ่งจะตองมีการตกลงกับวิศวกรปฐพีและ
เจาของงานและอาจจะตองมีการเพิ่มคาใชจายในกรณีนี้ดวย

หนา 29 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


6.4.3.7 ชั้นดินปลายเสาเข็มเจาะ
ในชั้นดินแข็งและชั้นหินไมแข็งจะตองทําการตรวจสอบและทดสอบดินที่ปลายเสาเข็มเปน
อยางดีและตองการการตัดสินใจจากผูมีประสบการณ
ในชั้นดินเหนียว ชั้นดินดานไมหนาหรือหินเชลลไมแข็งมาก จะตองมีการทดสอบเพื่อหา
กําลังของดินเพื่อใหแนใจวามีกําลังแบกทานเพียงพอ จะตองใหความระวังในการสํารวจ
และทดสอบเพื่อใหมั่นใจวาตัวอยางที่ไดเปนตัวอยางคงสภาพซึ่งเปนตัวแทนของพื้นที่ใต
เสาเข็ม วิธีปฏิบัติที่ดี ไดแก การทําการทดสอบหลายจุดเพื่อหาระดับความแปรปรวนของ
ชั้นดิน เมื่อเสาเข็มกอสรางลงในชั้นดินบวมตัวหรือเชลล แรงที่กระทําบนชั้นดินจะตองสูง
พอที่จะตานทานแรงยกขึ้นที่ระบุจากการทดสอบที่เหมาะสม หรือปลายเสาเข็มจะตองลึก
กวาระดับการแปรเปลี่ยนความชื้นในดินหลังจากกอสรางเสร็จ จะตองมีการจัดการระบาย
น้ําผิวดินอยางดี เพื่อปองกันน้ําผิวดินซึมผานตามแนวผิวเสาเข็ม ถาไมมีการจัดการน้ําผิวดิน
อยางเหมาะสมควรออกแบบเสาเข็มใหสามารถตานทานแรงถอนไดดวย
ขนาดของแรงถอนและความสามารถของเสาเข็มในการรับแรงถอนจะตองถูกระบุโดย
วิศวกรปฐพี ในกรณีที่ชั้นดินปลายเข็มเปนดินเม็ดหยาบอาจใชวิธีทดสอบในสนาม เชน
Standard Penetration Test, Cone Penetration Test หรือวิธีการทดสอบแบบอื่นที่สามารถให
คาที่ใชในการออกแบบได
ในบางพื้นที่ซึ่งอาจมีโพรงในชั้นหินอาจจะตองทําการเจาะหลุมเจาะสํารวจใตเสาเข็มเจาะ
แตละหลุม อาจจําเปนตองทํากอนการเจาะเสาเข็ม
6.4.3.8 การตรวจสอบเสาเข็ม
ผู รั บ เหมาจะต อ งตรวจสอบหลุ ม เจาะเสาเข็ ม แต ล ะต น ว า มี ก า ซมี เ ทนและก า ซ
คารบอนไดออกไซดกอนที่จะลงไปตรวจสอบกนหลุมเจาะ ถามีปริมาณกาซเกินกวาที่ยอม
ใหจะตองเปาไลออกไปกอนหรืออาจใชหนากากกันกาซก็ได จะตองไมยอมใหมีการสูบ
บุหรี่หรือการเชื่อมจนกระทั่งแนใจวาไมมีกาซเหลืออยู
6.4.3.9 การตรวจสอบความปลอดภัย
สําหรับความปลอดภัยในการปฏิบัติงานจะตองเปนไปตามกฎระเบียบดานความปลอดภัยที่
ไดประกาศใชแลว

หนา 30 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


6.5 การเทคอนกรีต (Concreting)
จะตองมีการตรวจสอบในหัวขอตอไปนี้
6.5.1 ตรวจสอบเหล็กเสริมเสาเข็มวามีความสะอาด มีขนาด ความยาว และผูกไวตรงตามแบบหรือไม
6.5.2 ตรวจสอบสภาพกนหลุมกอนการเทคอนกรีต ถามีตะกอนกนหลุมใหทําความสะอาดกนหลุมใหม
และตรวจสอบซ้ํากอนการเทคอนกรีต
6.5.3 ตรวจสอบผนังหลุมเจาะดวยตาถาเปนไปได
6.5.4 ตรวจสอบดวยตาวาในขณะเทคอนกรีตมีการแยกตัวเกิดขึ้นหรือไม หรือมีการบนเปอนเนื่องจากการ
เทคอนกรีตใหตกอิสระผานกรวย
6.5.5 ทดสอบคายุบตัวของคอนกรีตสด และเก็บตัวอยางปูน แนะนําใหเก็บตัวอยางลูกปูนอยางนอยหนึ่ง
ลูกตอรถปูนหนึ่งคันและทดสอบกําลังที่อายุการบม 7 วันเพื่อใชเปนขอมูลบงชี้ถึงปญหาดานกําลัง
ของเสาเข็มที่อาจเกิดขึ้น
6.5.6 ตรวจสอบความตอเนื่องของการเทคอนกรีต การเทคอนกรีตจะตองเทอยางตอเนื่องโดยไมหยุดหรือ
ทิ้งชวงไวนานเกินไป และจะตองรักษาระดับของคอนกรีตในปลอกเหล็กใหสูงพอเพื่อใหเกิดสมดุล
กับแรงดันน้ําภายนอกปลอกเหล็ก และปองกันการไหลเขามาของน้ําใตดินในขณะถอนปลอกเหล็ก
ควรมีการเปรียบเทียบปริมาตรของคอนกรีตทางทฤษฎีกับปริมาตรของคอนกรีตที่ใชจริง
6.5.7 ตรวจสอบระดับคอนกรีตในขั้นตอนเริ่มถอนปลอกเหล็ก ถาเห็นวาคอนกรีตถูกยกขึ้นมาใหหยุดการ
ถอนและทําการแกไข และจะตองสํารวจความเสียหายเนื่องจากเนื้อคอนกรีตมีโอกาสที่จะขาดความ
ตอเนื่องเนื่องจากการถูกดึง
6.5.8 การพังทลายของผนังหลุมเจาะในขณะถอนปลอกเหล็ก ซึ่งเกิดในขณะถอนปลอกเหล็กระดับของ
คอนกรีตสดในปลอกเหล็กสูงไมเพียงพอที่จะมีแรงตานการพังทลายของดิน ซึ่งอาจเกิดไดจากการที่
คอนกรีตครูดไปกับปลอกเหล็กเนื่องจากคอนกรีตมีคายุบตัวต่ําหรือคอนกรีตกอตัวเร็ว แรงดูดที่เกิด
จาการถอนปลอกเหล็กทําใหเกิดดินและน้ําทะลักเขามาใตปลอกเหล็ก ผูรับผิดชอบดานวิศวกรรม
ปฐพีในสนามและผูรับเหมาจะตองยืนยันวาไมมีกรณีเหลานี้เกิดขึ้น หรือถาเกิดขึ้นก็ไดทําการแกไข
แลว
6.5.9 เมื่อมีการเทคอนกรีตใตน้ําโดยใชทอเท จะตองมีการตรวจสอบในกรณีตอไปนี้
• ตองไมมีการไหลของน้ําในหลุมเจาะกอนการเทคอนกรีต
• มีการปองกันการผสมกันของคอนกรีตสดกับ Slurry ในการเทคอนกรีตครั้งแรก

หนา 31 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


• ตองติดตั้งใหปลายทอเทอยูที่กนหลุมเจาะ
• ทอเทจะตองมีคอนกรีตบรรจุอยูเต็มทอกอนการเริ่มยกทอขึ้นจากกนหลุมเจาะ
• ตรวจสอบระดับของคอนกรีตในเสาเข็มดวยเทปวัดที่ถวงปลายไวดวยตุมน้ําหนักและตรวจสอบ
ตําแหนงของทอเท และใหตรวจสอบระดับของคอนกรีตและระดับของทอเพื่อยืนยันวาทอเท
คอนกรีตจมอยูในคอนกรีตตลอดเวลา
• เปรียบเทียบปริมาตรคอนกรีตที่คํานวณไดทางทฤษฎีกับปริมาตรของคอนกรีตที่เทลงในหลุม
เจาะจริง
6.5.10 ถาเทคอนกรีตใช Slurry โดยไมมีการใชปลอกเหล็กและ Slurry ไดถูกออกแบบมาเปนพิเศษ
สําหรับเสาเข็มที่มีแรงเสียดทานผิวเปนหลัก จะตองทําการวัดความหนืด ความหนาแนน และ
ปริมาณทรายเพื่อใหเปนไปตามขอกําหนด
6.6 วิธีการตรวจความสมบูรณของเสาเข็มเจาะ
วิธีที่ใชในการตรวจสอบความสมบูรณของเสาเข็มเจาะ ไดแก การเจาะแทงคอนกรีตและใชวิธีตรวจสอบ
ของผนังของรูเจาะดวยกลองโทรทัศน หรือการใชวิธีการทดสอบโดยใชคลื่นเสียงระหวางรูเจาะ ในการใช
วิธีการทดสอบโดยใชคลื่นเสียงโดยไมไดเจาะรู ตัวอยางเชน การใชหลักการสะทอนของคลื่นที่เดินทางใน
เนื้อคอนกรีตเสาเข็ม (Sonic Integrity Test) อยางไรก็ตามการทดสอบดวยวิธี Sonic Integrity Test เปนวิธี
ทางออมซึ่งไมสามารถตรวจสอบสภาพของกนหลุมเจาะได
สําหรับเสาเข็มที่กอสรางดวยวิธีการเทคอนกรีตใตน้ําหรือใต Slurry โดยใชทอเทคอนกรีต หรือโดยใชปม
วิธีที่สะดวกสําหรับตรวจสอบความสมบูรณและคุณภาพของคอนกรีตหลังการเท ไดแกการใชวิธี Sonic
Logging Test โดยทดสอบผานทอที่มีขนาดเหมาะสมกับเครื่องมือทดสอบ ซึ่งฝงลวงหนาไวในเสาเข็มโดย
มีความยาวเทากับความยาวเสาเข็มและโผลปลายทอไวที่หัวเสาเข็ม
6.7 รายงาน
รายงานประจําวันของผูรับผิดชอบดานธรณีเทคนิคที่ลงนามโดยวิศวกรปฐพีประจําหนวยงาน และลงนาม
โดยผูกอสรางเสาเข็มนั้นจะตองสรุปและรายงานใหวิศวกรโครงสรางผูควบคุมงานและผูรับเหมาหลัก (ถา
มี) ทราบ โดยรายงานจะตองประกอบไปดวยหัวขอดังนี้
6.7.1 ตําแหนงและขนาดของหลุมเจาะของเสาเข็มที่กอสรางแลว
6.7.2 ระดับหัวเสาเข็มและระดับปลายเข็มจริง
6.7.3 ชนิดของการเจาะที่ใช

หนา 32 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


6.7.4 ระบุลักษณะของดินที่พบในขณะขุดเจาะ
6.7.5 ระบุลักษณะของน้ําใตดินที่พบ
6.7.6 ระบุตําแหนงและขนาดของสิ่งกีดขวางใตดินที่พบและระบุดวยวาไดยายออกหรือไม
6.7.7 ระบุขนาดของปลอกเหล็กชั่วคราว ความหนา ความยาว
6.7.8 ระบุถาหากมีการเคลื่อนตัวของดินหรือน้ําและการทรุดตัวของดิน
6.7.9 ระบุวิธีทําความสะอาดกนหลุม
6.7.10 ระบุระดับชั้นดินที่ปลายเสาเข็มวางอยู
6.7.11 ระบุการทําความสะอาดกนหลุมพอเพียงหรือไม
6.7.12 บันทึกความลึกของน้ําในหลุมเจาะและอัตราการซึมของน้ําเขาในหลุมเจาะกอนการเทคอนกรีต
6.7.13 บันทึกการตรวจสอบเหล็กเสริมวามีตําแหนงและจํานวนตรงตามแบบหรือไม
6.7.14 ตรวจสอบวิธีการเทคอนกรีตและการถอนปลอกเหล็ก (ถามี) บันทึกระดับของคอนกรีตกอนการ
ถอนปลอกเหล็ก บันทึกระดับของคอนกรีตเมื่อเริ่มการสั่นสะเทือน
6.7.15 บันทึกปญหาที่เกิดขึ้นในระหวางกอสราง ซึ่งรวมถึงการพังของดินเขามาในหลุมเจาะ โพรงที่อาจ
เกิดขึ้น การตีบของผนังหลุมเจาะที่อาจเกิดขึ้น และโอกาสที่ปลอกเหล็กจะเกิดการวิบัติ
6.7.16 สภาพของคอนกรีตที่สงมายังหนวยงาน รวมถึงคายุบตัวและการทดสอบอื่น และจะตองเก็บลูกปูน
เพื่อนําไปทดสอบกําลังดวย
6.7.17 บันทึกสิ่งที่ไมเปนไปตามขอกําหนด
6.8 เกณฑการยอมรับ
เกณฑการยอมรับสําหรับเสาเข็มเจาะที่กอสรางเสร็จแลว ดังหัวขอตอไปนี้จะตองระบุไวในขอกําหนดของ
งาน โดยอาจจะเพิ่มขอกําหนดหรือลดคาที่ยอมใหลงโดยวิศวกรในเอกสารสัญญา การเปลี่ยนแปลงใดๆ ที่
เกิดขึ้นจะตองไดรับการยินยอมโดยวิศวกรกอน
6.8.1 ตําแหนงเสาเข็มและความดิ่ง
ถาไมมีการเผื่อระยะเยื้องศูนยของเสาเข็มไวในการออกแบบโครงสราง คาคลาดเคลื่อนที่ยอมใหใน
การกอสรางของความดิ่งของเสาเข็มจะตองเปนไปตาม ACI 336.1 คาคลาดเคลื่อนของตําแหนงหัว
เสาเข็มจะตองไมเกินกวา 4 เปอรเซ็นตของเสนผานศูนยกลางของเสาเข็มหรือ 75 มิลลิเมตรในทุก
ทิศทาง โดยใหเลือกใชคาที่ต่ํากวาในสองกรณีนี้ สําหรับคาคลาดเคลื่อนที่ยอมใหที่มีคานอยกวา 50
มิลลิเมตรนั้นยากที่จะทําไดในทางปฏิบัติ

หนา 33 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


6.8.2 ผนังเสาเข็ม ผนังเซาะรองรับแรงเฉือน
การตรวจสอบผนั ง เสาเข็ ม จะต อ งกระทํ า โดยผู รั บ ผิ ด ชอบด า นธรณี เ ทคนิ ค ในหน ว ยงาน โดย
พื้นที่หนาตัดของผนังเสาเข็มจะตองไมต่ํากวา 98 เปอรเซ็นตของพื้นที่หนาตัดที่ระบุไวในแบบ
6.8.3 เหล็กเสริมเสาเข็ม
ใชมาตรฐาน ACI 117
6.8.4 การยอมใหเทคอนกรีตเสาเข็ม
จะตองไมมีการยอมใหเทคอนกรีตเสาเข็มหากไมไดรับการตรวจสอบตามที่ไดระบุไวในหัวขอ 6.4
เสียกอน
6.9 วิธีการแกไข
ในกรณีกอสรางเสาเข็มเสร็จและคาคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นเกินกวาคาคลาดเคลื่อนที่ยอมให หรือมีขนาดเล็ก
กวาแบบ หรือมีกําลังต่ํากวาที่กําหนด จะตองดําเนินการแกไขดวยวิธีที่เหมาะสม ในกรณีที่มีขอสงสัยใน
กําลังรับน้ําหนักบรรทุกของเสาเข็มอาจจะใชวิธีทดสอบกําลังรับน้ําหนักของเสาเข็มแบบสถิต (Static Load
Test) หรือทดสอบกําลังรับน้ําหนักของเสาเข็มแบบพลศาสตรแบบเกิดความเครียดสูง (High Strain
Dynamic Testing) ในกรณีที่พบวาเสาเข็มจะเกิดการเยื้องศูนยกอนที่จะเทคอนกรีตอาจใชวิธีการแกไขที่ใช
ค า ใช จ า ยต่ํ า โดยการเพิ่ ม เหล็ ก เสริ ม ในเสาเข็ ม และ/หรื อ เพิ่ ม การยึ ด รั้ ง ทางด า นข า งของโครงสร า ง
(Structural Lateral Restraint) วิธีนี้ตองมีการวิเคราะหโดยวิศวกรโครงสรางและคํานวณปริมาณเหล็กเสริม
ที่ตองการ ถาเสาเข็มเยื้องศูนยมากจนกระทั่งวิธีนี้ไมเหมาะสม นทางปฏิบัติอาจจําเปนตองกลบหลุมเจาะ
ดวยปูนเกราทที่คอนขางแหง (Leanmix Grout) แลวทําการเจาะเสาเข็มใหมอยางระมัดระวัง และหมั่น
ตรวจสอบความดิ่งและตําแหนงของเสาเข็ม ในกรณีนี้จะตองออกแบบใหกําลังของปูนเกราทและความแข็ง
ในขณะที่เจาะหลุมเทากับกําลังและความแข็งของดินโดยรอบหลุมเจาะ ทางเลือกอีกทางหนึ่งที่เปนไปได
คือ การเจาะเสาเข็มใหมีขนาดใหญกวาเสาเข็มตนเดิมโดยขนาดจะตองใหญกวาจนกระทั่งสามารถปรับแก
ตําแหนงและความเอียงของเสาเข็มใหอยูในคาคลาดเคลื่อนที่ยอมให

หนา 34 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ


7 เอกสารอางอิง
7.1 ACI 336.3R-93 (1993), Design and Construction of Drilled Piers.
7.2 ACI 336.1-01 (2001), Specification for the Construction of Drilled Piers.
7.3 BS8004 (1986), Code of Practice for Foundations.
7.4 ICE, Specification for Piling and Embedding Retaining Walls, 1996. Thomas Telford.
7.5 The Federation of Piling Specialists. The Essential Guide to the ICE Specification for Piling and
Embedded Retaining Walls, 1999. Thomas Telf.
7.6 มาตรฐาน ว.ส.ท. (2546), ขอกําหนดมาตรฐานสําหรับงานกอสรางเสาเข็มเจาะ
7.7 ณรงค ทัศนนิพันธ (2543), การสรางมาตรฐานงานกอสรางเสาเข็มระบบเจาะเปยกในประเทศไทยที่
สอดคลองกับมาตรฐานสากลในยุคโลกาภิวัฒน

หนา 35 มยผ.xxxx-xx : รางมาตรฐานเสาเข็มเจาะ

You might also like