You are on page 1of 122

สํานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดกาญจนบุรี

พื้นฐานการออกแบบ และการใชวัสดุเสริมแรง
สําหรับงานเขื่อนปองกันตลิ่ง

รัฐธรรม อิสโรฬาร
ศูนยวิจัยและพัฒนาวิศวกรรมปฐพีและฐานราก
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
10 กุมภาพันธ 2564
หลักการออกแบบ
เสริมความแข็งแรง
แนวทางการซอมแซม
1. วิธีการการตัดเปลี่ยนลาด
(Geometrical Methods)
- ลดความสูง / ความชัน
2. วิธีเพิ่มความแข็งแรง (Strength
Improvement Method)
- กําแพงกันดิน / Soil Nail / Gabion
3. วิธีการระบายน้ํา (Hydrological
Methods)
- ระบายน้ําผิวดิน / ใตดิน
4. วิธีลดการกัดเซาะผิวดิน (Erosion
Control)
- Shotcrete / ผาหมดิน

ที่มา : บัญชา และคณะ (2553)


กรมทางหลวงชนบท
1. วิธีการการตัดเปลียนลาด (Geometrical Methods)

ลดความสู ง ลดลาดชัน
1. วิธีการตัดเปลียนลาด (Geometrical Methods)

การตัดส่ วนบนแล้ วถมส่ วนล่าง


แกไขลาดชัน แขวงพงสาลี สปป.ลาว
2. วิธีการระบายนํา (Hydrological Methods)

Horizontal Drain
แบบขยาย SOIL NAIL

แบบขยาย HORIZONTAL DRAIN


Weep Hole
Horizontal Drain
2. วิธีการระบายนํา (Hydrological Methods)

Pump

Pump Drain
2. วิธีการระบายนํา (Hydrological Methods)

Surface Drain
แกไขลาดชัน แขวงพงสาลี สปป.ลาว
แกไขลาดชัน แขวงพงสาลี สปป.ลาว
แกไขลาดชัน แขวงพงสาลี สปป.ลาว
3. วิธีเพิมความแข็งแรง (Strength Improvement Method)

กําแพงกันดิน เข็มเสริมแรง
4/20/2022 18
ต.ปาตอง อ.กะทู จ.ภูเก็ต
3. วิธีเพิมความแข็งแรง (Strength Improvement Method)

Cement Jet Grouting Rock Boiling


3. วิธีเพิมความแข็งแรง (Strength Improvement Method)

Rock Berm
ตลิ่งแมนํา้ นาน บานดอน อ.เมือง จ.พิษณุโลก
3. วิธีเพิมความแข็งแรง (Strength Improvement Method)

Soil Nail
+ Shotcrete
Soil Nail

4/20/2022 24
Rock Anchored

4/20/2022 26
Shotcrete
3. วิธีเพิมความแข็งแรง (Strength Improvement Method)

Gabion
กําแพงกันดินระบบเสริมกําลังดิน

Gabion

20/04/65 29
MSE Wall
road structure

biomat (jute, straw or cocunut)

2
1

intermediate berm
for ispection and
maintenance of the structure.

trench

(whenever necessary)
natural or geosynthetic draining layer

orginal ground surface fill soil

excavation profile

0.60 m

60?

1.50 m
geogrid length (from design/calculations)
วัสดุถมตองเปน
วัสดุประเภทดินเม็ดหยาบ
MSE Wall
ขั้นตอนการกอสราง MSE Wall
ขั้นตอนการกอสราง MSE Wall
การพิบัติของกําแพงกันดินแบบเสริมแรง
Erosion Control
ผ้าห่มดิน
GEO CELL

ที่มา : บ. KENBER (กรมทางหลวงชนบท, อุทยานแหงชาติตาดหมอก อ.เมือง จ.เพชรบูรณ)


ที่มา : บ. KENBER (กรมทางหลวงชนบท, อุทยานแหงชาติตาดหมอก อ.เมือง จ.เพชรบูรณ)
วัสดุสังเคราะหในงานวิศวกรรม
วัสดุสังเคราะหในงานวิศวกรรม
Type of GEOSYNTHETICs Functions of GEOSYNTHETICs
1. GEOTEXTILES 1. SEPARATION
2. GEOGRIDS 2. REINFORCEMENT
3. GEONETS 3. FILTRATION
4. GEOMEMBRANES 4. DRAINAGE
5. GEOSYNTHETIC 5. EROSION CONTROL
CLAY LINERS (GCLs) 6. BARRIER/PROTECT
6. GEOCOMPOSITES
7. GEOCELLLULAR
CONFINEMENT SYSTEMS
8. GEOFOAMS
9. GEOMATS
10.GEOPIPES
ลักษณะการใชงานของแผนใยสังเคราะห (Geosynthetics)

Type of
No. Separation Reinforcement Filtration Drainage Containment
geosynthetics (GS)
1 Geotextile (GT) X X X X
2 Geogrid (GG) X
3 Geonet (GN) X
4 Geomembrane (GM) X
Geosynthetic clay
5 X
liner (GCL)
6 Geocomposite (GC) X X X X X
7 Geocells (GL) X X
8 Geofoam (GF) X
9 Geomats X X
10 Geopipes (GP) X
วัสดุสังเคราะหในงานตลิ่ง (1) แผนใยสังเคราะห (Geotextiles)

Type:

Non-Woven Woven
วัสดุสังเคราะหในงานตลิ่ง (2) ตาขายเสริมแรง (Geogrid)
ลักษณะของตาขายเสริมแรง อ้ างอิ ง : การประยุกต์ ใช้ ตาข่ ายเสริ มแรง (Geogrid)
ในโครงสร้ างชันทาง (ดร.ชัยรั ตน์ ศุภชวโรจน์ )

Extruded Geogrid Extruded Geogrid Woven Geogrid


(Uniaxial) (Biaxial)

Geogrid Composites
GEOGRIDS (ตาขายเสริมกําลังดิน)

เปนตาขายพลาสติกที่ผลิตจากโพลีเอทธีลีน (Poly Density Polyethylene) ที่นิยมใชแบงตามกรรมวิธีการผลิต ไดแก


• Extruded Geogrid – ผลิตโดยกระบวนการเจาะแผนใยสังเคราะหใหเปนรู แลวนํามาดึง Pre-tensioned ในหนึ่งหรือ
สองทิศทาง เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติการรับแรง
• Woven Geogrid – ผลิตโดยการถักทอเสนใยสังเคราะห ซึ่งปกติจะเปน Polypropylene หรือ Polyester แลวเคลือบสารเพิ่ม
การรับแรงเสียดสี
• Geogrid Composites เปนตาขายเสริมแรงที่เกิดจากการผสมผสานกับวัสดุอื่น ๆ เชน Geotextile

การนํา Geogrid (ตาขายเสริมกําลังดิน) มาประยุกตใชเพื่อชวยเพิ่มความสามารถในการรับแรงเฉือนในดินออน ทําใหดินมีเสถียรภาพมาก


ขึ้น อีกทั้งยังชวยในดานการเพิ่มความสามารถในการรับแรงของดิน ดังนั้น Geogrid จึงไดถูกนํามาใชในการเสริมกําลังของดินในการ
กอสรางอื่นๆดวย
• ชวยในการกอสรางบนดินออน
• ชวยเสริมในโครงสรางชั้นทางของถนน
• ชั้น Load-bearing ในงานกอสรางถนน ทางรถไฟ หรือสนามบิน
• กอสรางเปนกําแพงกันดิน
• รักษาเสถียรภาพความลาดชัน
• งานควบคุมการกัดเซาะ

อ้ างอิ ง : https://www.kplworldtrading.com/product/geogrids/
วัสดุสังเคราะหในงานตลิ่ง (3) กลองลวดตาขาย (Gabions และ Mattress)

Gabions Mattress

Type:
Hot Dip Galvanized
Gabion:

PVC Coated wire:

Zinc coated
gabion:
Hot Dip Galvanized Wire
PVC Coated Wire

กลองหินพลาสติก (Polymeric Gabion & Mattress)


การใชงานกลองลวดตาขาย + แผนใยสังเคราะห (Gabions + Geotextile)
การใชงานของกลองลวดตาขาย + ตาขายเสริมแรง (Gabions + Geogrid)
ปญหาของการใชวัสดุสังเคราะหในงานตลิ่ง
Geotextiles
- อายุการใชงานไมคงทนถาวร
- มีหลายรูปแบบ ตองเลือกใหเหมาะสมกับการใชงาน
- การตอระหวางแผน และระยะซอนทับ
- การขาดเนื่องการกดทับของเครื่องมืองาย
- มีการอุดตัน เมื่อใชไประยะหนึ่ง สงผลตอการ
ระบายน้ํา
- ยากตอการบํารุงรักษาหลังทําการติดตั้งแลว
- ตองใชเครื่องจักรหนักในการทํางาน
ทําใหคาใชจายสูง
ปญหาการฉีกขาดของแผนใยสังเคราะห

ที่มา : TENCATE
ปญหาการอุดตันของมวลละเอียด
ปญหา ???
Geogrid

- มีหลายรูปแบบ ตองเลือกใหเหมาะสมกับการใชงาน
- การปกสมอยึด และน้ําหนักกดทับบนแผน Geogrids
- วัสดุถมที่ใชตองมีความเหมาะสม
- คุณภาพของการบดอัดดินเหนือ Geogrids
- การตอระหวางแผน และระยะซอนทับ
- ยากตอการบํารุงรักษาหลังทําการติดตั้งแลว
- ตองใชเครื่องจักรหนักในการทํางาน ทําใหคาใชจายสูง
Gabion / Mattress

- ตองเลือกชนิดของกลองใหเหมาะสมกับสภาพหนางาน
- ดินที่รองรับ Gabion ตองมีเสถียรภาพเพียงพอ
- การเรียงหินในกลอง ตองไดขนาดที่เหมาะสมกับการใชงาน
- การตอระหวางกลองตองไดคุณภาพตามที่มาตราฐานกําหนด
- การบํารุงรักษายาก เนื่องจากหินชั้นลางๆมักจะผุพังกอน
ดานบน
- ตองใชเครื่องจักรหนักในการทํางาน ทําใหคาใชจายสูง
- ตองทําการตรวจสอบสภาพของ Gabion อยูเสมอ
การผุกรอนของลวดตาขาย
(ในชวงระดับน้ําขึ้น-ลง)
อาจเกิดจากการเสียดสีของเรือ/ การจอดเรือ
การผุกรอนของลวดตาขาย
(ความชื้นจากตะกอนดิน)
การผุกรอนของลวดตาขาย
(การระบายน้ํา)
รายการประกอบแบบที่เกี่ยวของ Geotextiles
ลําดับ คุณสมบัติ เกณฑ หนวย อางอิง
1 ประเภทของแผนใยสังเคราะห Non Woven แบบ Thermally bond / - 9.1
Spun bond / Needle Punch
2 ขนาดมวน กวาง / ยาว >= 4 m / >= 100 m m 9.2
3 ชนิดของแผนใยสังเคราะห ผลิตจาก Polypropylene, Polyester - 9.4
4 น้ําหนัก >= 250 g./m.2 9.4
5 CBR Puncture >= 2,200 N. 9.4
6 Tensile Strength >= 14 kN./m 9.4
7 Apparent Opening Size <= 0.2 mm. 9.4
8 Vertical Permeability >= 100 L/m2/sec. 9.4
9 ระยะเวลาใชงานหลังจากนําออกจาก 48 hr 9.8
หีบหอ
10 ระยะซอนทับ >= 1.5 m 9.10
Geogrid

คุณลักษณะ เกณฑกาํ หนด มาตรฐานวิธกี ารทดสอบ


ไดจากผลการออกแบบ
Tensile Strength, Tult ASTM D4595 หรือ ASTM D6637
เปนกรณีๆ ไป
Gabion / Mattress

ลําดับ คุณสมบัติ เกณฑ หนวย อางอิง


1 กลอง Mattress
ขนาดความกวางของชอง วัดระหวางเกลียว <= 60 mm. 8.1.1 (3)
ขนาดความยาวของชอง <= 80 mm. 8.1.1 (3)
2 กลอง Gabion
ขนาดความกวางของชอง วัดระหวางเกลียว <= 80 mm. 8.1.1 (3)
ขนาดความยาวของชอง <= 100 mm. 8.1.1 (3)
3 อัตราสวนสังกะสี : อลูมิเนียม โดยวิธี Hot Dip 95% : 5% % 8.1.5
ชั้นเคลือบสังกะสีจากกระบวนการเคลือบวิธีตางๆ
ที่มา : American Galvanizers Association (2011)

เปรียบเทียบลักษณะของชั้นเคลือบสังกะสี
Gabion 0.5, 1.0 m. thk.

ลําดับ คุณสมบัติ เกณฑ หนวย อางอิง


1 ลวดทําโครงกลอง
Diameter of Wire >= 3.4±0.10 mm. 8.1.4
Tensile strength >= 36 kg/mm.2 8.1.4
Coating weight >= 305 g/m.2 8.1.4
2 ลวดถักตาขาย
Diameter of Wire >= 2.7±0.08 mm. 8.1.4
Tensile strength >= 36 kg/mm.2 8.1.4
Coating weight >= 305 g/m.2 8.1.4
3 ลวดพันกลอง
Diameter of Wire >= 2.2±0.08 mm. 8.1.4
Tensile strength >= 36 kg/mm.2 8.1.4
Coating weight >= 305 g/m.2 8.1.4
ชื่อเรียกลวดตาขาย
Selvedge = ลวดโครงกลอง
Mesh = ลวดตาขาย
Lacing = ลวดพัน

ที่มา : MACCAFERRI (2011)


Mattress 0.3 m. thk.
ลําดับ คุณสมบัติ เกณฑ หนวย อางอิง
1 ลวดทําโครงกลอง
Diameter of Wire >= 2.7±0.08 mm. 8.1.4
Tensile strength >= 36 kg/mm.2 8.1.4
Coating weight >= 305 g./m.2 8.1.4
2 ลวดถักตาขาย
Diameter of Wire >= 2.2±0.08 mm. 8.1.4
Tensile strength >= 36 kg/mm.2 8.1.4
Coating weight >= 305 g./m.2 8.1.4
3 ลวดพันกลอง
Diameter of Wire >= 2.0±0.08 mm. 8.1.4
Tensile strength >= 36 kg/mm.2 8.1.4
Coating weight >= 305 g./m.2 8.1.4
ที่มา : American Galvanizers Association (2011)
ความหนาของชั้นเคลือบ
และอายุการใชงานของ
โลหะเคลือบสังกะสี
305 g/sq.m. = 42.9 m

17-30 ป

42.9 m
อิทธิพลของสิ่งแวดลอมตอคุณสมบัติความ
ตานทานการกัดกรอนของชั้นเคลือบสังกะสี

การแปลงหนวยที่เกี่ยวของ

1 mil = 25.4 micrometers


การสุมตัวอยางเพื่อทดสอบ Geotextiles

สุมเก็บและสงตัวอยาง Geotextiles โดยการกํากับของผูควบคุมงาน


- จํานวน 1 ชุด ของการทดสอบตอวัสดุ 10,000 ตารางเมตร (กรมโยธาฯ)

กรมเจาทาฯ กรมโยธาฯ
- น้ําหนักตอพื้นที่ (Mass/Unit Area) - น้ําหนักตอพื้นที่ (Mass/Unit Area)
- ขนาดชองเปดประสิทธิผล (Apparent Opening Size) - ความหนา (Thickness)
- กําลังรับแรงดึงสูงสุด (Wide width Tensile Strength) - ความตานทานแรงดึง (Grab Tensile)
- การยึดตัว (Elongation)
- กําลังรับแรงเจาะทะลุ (CBR Puncture) - ความตานทานแรงฉีกขาด (Tear Strength)
- อัตราการซึมผานตั้งฉาก (Vertical Permeability) - อัตราซึมผาน (Flow Rate)
Test Method T 914 - Washington State Department of Transportation

METHODS OF SAMPLING AND TESTING (MT 421-09)


Montana Department of Transportation
Gabion / Mattress

สุมเก็บตัวอยางที่จัดสงไปยังสถานที่กอสราง ภายใตการกํากับของผูควบคุมงาน
- กลองลวดตาขายเกเบี้ยนและแมทเทรส
จํานวน 1 กลองตอจํานวน 1,000 กลอง (กรมโยธาฯ 500 กลอง)
- ลวดผูกยึด
3 ชิ้นๆ ละ 1 ม. โดยเก็บตัวอยาง 1 ตัวอยาง ตอลวด 1 มัด

โดยนําตัวอยางไปทําการทดสอบในสถาบันที่เชื่อถือได
- ขนาดเสนลวด (Diameter of Wire)
- กําลังแรงดึง (Tensile Strength)
- วิเคราะหน้ําหนักของสารเคลือบหุมลวดเหล็ก (Mass/Unit Area)
มอก. 71-2517 ลวดเหล็กเคลือบสังกะสี
วิธีการทดสอบ และมาตรฐานอางอิง

น้ําหนักตอพื้นที่ (Mass/Unit Area) - ASTM D5261

Sampling Measuring
ขนาดชองเปดประสิทธิผล (Apparent Opening Size) - ASTM D4751
กําลังรับแรงดึงสูงสุด (Wide width Tensile Strength) - ASTM D4595
Grab Tensile Test - ASTM D4632
Trapezoidal Tear Test - ASTM D4533
กําลังรับแรงเจาะทะลุ (CBR Puncture) - ASTM D6241
อัตราการซึมผานตั้งฉาก (Vertical Permeability) - ASTM D4491
ขนาดเสนลวด (Diameter of Wire)
กําลังแรงดึง (Tensile Strength) - ASTM E-8
Standard Test Methods for Tension Testing of Metallic Materials
น้ําหนักของสารเคลือบหุมลวดเหล็ก (Mass/Unit Area) - ASTM A90/A90m-95a
แบบฟอรมการทดสอบวัสดุสังเคราะหที่ AIT
รายการทดสอบวัสดุสงั เคราะห (AIT)
อลมู ิเนียม กับ สังกะสี

ลักษณะผิว :

Density (t/m3): 2.70 7.14

Mohs Hardness : 2.75 2.50


อลมู ิเนียม กับ สังกะสี
ระบบการป้ องกันสนิม ลวดเหล็ก
• อลูมิเนียมช่วยเป็ นเกราะป้องกันการกัดกร่อน และ
เพิมความต้านทานต่อระดับความร้อนทีอุณหภูมิสงู
• สังกะสีชว่ ยป้องกันการกัดกร่อนบริเวณขอบตัดและรอยขีดข่วนทีผิว
และจะสละตัวเองเพือป้องกันการผุกร่อนทีเนือเหล็กแทน

การประยุกต์ใช้ ร่วมกันของ อลูซิงค์ อลูมิเนียม ผสม ซิงค์


• เพิมความทนทาน แข็งแรง
• เพิมความต้านทานต่อการแตกร้าว เนืองจากการกัดกร่อนภายใต้แรงเค้น
• ป้องกันการผุกร่อนจากสนิมดีเยียม
Woven Geotextile
- Wrap Direction
- Weft Direction

MD / CD
MD = Machine Direction – ดานยาวของแผน หรือแนวรับแรงหลัก
CD = Cross machine Direction – ดานกวางของแผน หรือดานรับแรงรอง
Grab Tension Test (ASTM D4632)
ทดสอบเมือ
• ใช้ Geotextile ในการแบ่งชันดิน
การทดสอบ
• ดึงที 300 มม ต่อนาที
ผลการทดสอบ
• แรง และการยืดตัว
Grab Tension Test (ASTM D1682)
ทดสอบเมือ
• ใช้ Geotextile ในการแบ่งชันดิน
การทดสอบ
• ดึงที 300 มม ต่อนาที
ผลการทดสอบ
• แรง และการยืดตัว
Wide Width Tensile Strength Test
(ASTM D4595)
ทดสอบเมือ
• ใช้ Geotextile ในการแบ่งชันดิน
การทดสอบ
• Strain rate 10 3% ต่อนาที
ก่อนทดสอบ • ขนาด Geotextile 20x10 cm
ผลการทดสอบ
• Tensile Strength และ
Elongation

ก่อนทดสอบ
CBR Puncture Strength Test (ASTM D6241)
ทดสอบเมือ
• ใช้งานร่วมกับหิน หรือเครืองจักรหนัก
การทดสอบ
• เส้นผ่านศูนย์กลางเหล็ก 50 มม
• เส้นผ่านศูนย์กลางภาชนะ 150 มม
ผลการทดสอบ
• Load และ Strain
Burst Strength Test (ASTM D3786)
ทดสอบเมือ
ํ กลงบน Geotextile
• มีนาหนั
การทดสอบ
• ขนาดเท่าเส้นผ่านศูนย์กลางหินกดทับ
ผลการทดสอบ
• Strength และ Number of
Cycles Failure
Design Criteria
MSE Wall
INTERNAL FAILURE MODES

PULLOUT FAILURE TENSION FAILURE


Retaining Wall Failure Surfaces

การอบรม “ การวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดินและการใช้ โปรแกรม KUslope ” วันที 22-25 พฤษภาคม 2550


เสถียรภาพของลาดดินและการออกแบบถนนบนดินอ่อน เสาเข็มดินซีเมนต์ และ MSE Wall โดย ผศ.ดร.สุทธิศักดิ ศรลัมพ์
ACTUAL BEHAVIOR
การอบรม “ การวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดินและการใช้ โปรแกรม KUslope ” วันที 22-25 พฤษภาคม 2550
เสถียรภาพของลาดดินและการออกแบบถนนบนดินอ่อน เสาเข็มดินซีเมนต์ และ MSE Wall โดย ผศ.ดร.สุทธิศักดิ ศรลัมพ์
Pullout Resistance

a) Frictional stress transfer between soil and reinforcement


การอบรม “ การวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดินและการใช้ โปรแกรม KUslope ” วันที 22-25 พฤษภาคม 2550
เสถียรภาพของลาดดินและการออกแบบถนนบนดินอ่อน เสาเข็มดินซีเมนต์ และ MSE Wall โดย ผศ.ดร.สุทธิศักดิ ศรลัมพ์
a) Soil passive (bearing) resistance on reinforcement surfaces
การอบรม “ การวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดินและการใช้ โปรแกรม KUslope ” วันที 22-25 พฤษภาคม 2550
เสถียรภาพของลาดดินและการออกแบบถนนบนดินอ่อน เสาเข็มดินซีเมนต์ และ MSE Wall โดย ผศ.ดร.สุทธิศักดิ ศรลัมพ์
การอบรม “ การวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดินและการใช้ โปรแกรม KUslope ” วันที 22-25 พฤษภาคม 2550
เสถียรภาพของลาดดินและการออกแบบถนนบนดินอ่อน เสาเข็มดินซีเมนต์ และ MSE Wall โดย ผศ.ดร.สุทธิศักดิ ศรลัมพ์
Strength develop at various strain

การอบรม “ การวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดินและการใช้ โปรแกรม KUslope ” วันที 22-25 พฤษภาคม 2550


เสถียรภาพของลาดดินและการออกแบบถนนบนดินอ่อน เสาเข็มดินซีเมนต์ และ MSE Wall โดย ผศ.ดร.สุทธิศักดิ ศรลัมพ์
EXTERNAL FAILURE MODES

SLIDING ROTATIONAL

ROTATIONAL FAILURE
FOUNDATION FAILURE
Overall Stability
Typical external forces on an MSE retaining wall

การอบรม “ การวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดินและการใช้ โปรแกรม KUslope ” วันที 22-25 พฤษภาคม 2550


เสถียรภาพของลาดดินและการออกแบบถนนบนดินอ่อน เสาเข็มดินซีเมนต์ และ MSE Wall โดย ผศ.ดร.สุทธิศักดิ ศรลัมพ์
Drainage Kgeotextile > Ksoil
(Holtz et al, 1997)

Filtration O95  3 D85 and O15  2 to 3 D15


(Bergado et al, 1996)

O95 = 95% opening size of geotextile filter


O15 = 15% opening size of geotextile filter
D15 = diameter of the 15% particle size
D85 = diameter of the 85% particle size

การอบรม “ การวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดินและการใช้ โปรแกรม KUslope ” วันที 22-25 พฤษภาคม 2550


เสถียรภาพของลาดดินและการออกแบบถนนบนดินอ่อน เสาเข็มดินซีเมนต์ และ MSE Wall โดย ผศ.ดร.สุทธิศักดิ ศรลัมพ์
การอบรม “ การวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดินและการใช้ โปรแกรม KUslope ” วันที 22-25 พฤษภาคม 2550
เสถียรภาพของลาดดินและการออกแบบถนนบนดินอ่อน เสาเข็มดินซีเมนต์ และ MSE Wall โดย ผศ.ดร.สุทธิศักดิ ศรลัมพ์
Geotextile Tensile Strength

 1 
Tallow  Tult  
 RFID x RFCR x RFCD x RFBD 

Tallow = allowable tensile strength


Tult = ultimate tensile strength
RFID = reduction factor for installation damage
RFCR = reduction factor for creep
RFCD = reduction factor for chemical degradation
RFBD = reduction factor for biological degradation
IIRF = value of cumulative reduction factors

การอบรม “ การวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดินและการใช้ โปรแกรม KUslope ” วันที 22-25 พฤษภาคม 2550


เสถียรภาพของลาดดินและการออกแบบถนนบนดินอ่อน เสาเข็มดินซีเมนต์ และ MSE Wall โดย ผศ.ดร.สุทธิศักดิ ศรลัมพ์
การอบรม “ การวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดินและการใช้ โปรแกรม KUslope ” วันที 22-25 พฤษภาคม 2550
เสถียรภาพของลาดดินและการออกแบบถนนบนดินอ่อน เสาเข็มดินซีเมนต์ และ MSE Wall โดย ผศ.ดร.สุทธิศักดิ ศรลัมพ์
จบการนําบรรยาย

ศูนย์วิจยั และพัฒนาวิศวกรรมปฐพีและฐานราก
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

You might also like