You are on page 1of 13

60 วารสารวิชาการและวิจัย มทร.

พระนคร ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2561

http://journal.rmutp.ac.th/

การประเมินชั้นดินและค่าก�ำลังรับแรงแบกทานที่ยอมให้ด้วยการ
ทดสอบการเจาะส�ำรวจแบบหยั่งเบา
ฐิติพร พันธุ์ท่าช้าง*
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
128 ถนนห้วยแก้ว ต�ำบลช้างเผือก อ�ำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300

รับบทความ 19 ธันวาคม 2560; ตอบรับบทความ 8 พฤษภาคม 2561

บทคัดย่อ
บทความนี้ประยุกต์ใช้การเจาะส�ำรวจแบบหยั่งเบา (Kunzelstab Penetration Test (KPT) or Light
Penetrometer) เพื่อหาแรงต้านทานการตอกหยั่ง ศึกษาลักษณะการวางตัวชั้นดิน ตลอดจนหาคุณสมบัติความ
แข็งแรง และก�ำลังแบกทานของดินฐานราก โดยใช้พื้นที่ศึกษาที่จังหวัดเชียงราย โดยตรวจสอบลาดดินถมรองรับ
อาคารที่พบการเคลื่อนตัว การศึกษานี้น�ำค่าจ�ำนวนครั้งการตอกหยั่ง NKPT ประเมินความหนาชั้นดิน และใช้ค่าปรับ
แก้ N'KPT วิเคราะห์หาค่าก�ำลังของดินฐานราก และแรงแบกทานที่ยอมให้จากทฤษฏีเชิงประสบการณ์ การทดสอบ
KPT จ�ำนวน 13 หลุมทดสอบ ระยะห่าง 4.00 เมตร ในจุดวิกฤตที่พบการเคลื่อนตัว พบว่า ชั้นดินรองรับที่ความลึก
1.00-5.00 เมตร มีค่าแรงแบกทานที่ยอมให้เท่ากับ 1.53 ตันต่อตารางเมตร ที่ความลึก 5.00-6.60 เมตร มีค่าแรง
แบกทานที่ยอมให้เท่ากับ 17.06 ตันต่อตารางเมตร การวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดินได้วิเคราะห์ด้วยค่าก�ำลัง
รับแรงเฉือนและชั้นดินจากผลการทดสอบ KPT ผลการวิเคราะห์อัตราส่วนความปลอดภัย พบว่า ลาดดินมีแนวโน้ม
เกิดพิบัติกรณีพิจารณาอิทธิพลของน�้ำใต้ดิน จากผลการศึกษาพบว่า KPT สามารถน�ำไปใช้ในการแยกความหนา
ชั้นดิน ประเมินความแข็งแรงก�ำลังรับแรงแบกทานของฐานราก การตรวจสอบเสถียรภาพของลาดดิน อีกทั้ง
การทดสอบด้วย KPT แสดงถึงประสิทธิภาพ, การประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาเมื่อเทียบกับการส�ำรวจในสนามแบบ
อื่นๆ

ค�ำส�ำคัญ : การเจาะส�ำรวจแบบหยั่งเบา; เจาะส�ำรวจดิน; การวางตัวของชั้นดิน; ก�ำลังแบกทานที่ยอมให้;


เสถียรภาพของลาดดิน

* ผู้นิพนธ์ประสานงาน โทร: +66 5392 1444, ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์: Thitibhorn@rmutl.ac.th


RMUTP Research Journal, Vol. 12, No. 2, July-December 2018 61

http://journal.rmutp.ac.th/

Evaluation of Soil Profile and Allowable Bearing Capacity


of Soil Using Kunzelstab Penetration Test, KPT
Thitibhorn Phantachang*

Faculty of Engineering, Rajamangala University of Technology Lanna


128 Huay Kaew Road, Mueang, Chiang Mai, 50300

Received 19 December 2017; Accepted 8 May 2018

Abstract
This study applied the Kunzelstab Penetration Test (KPT) or Light Penetrometer to
examined penetration resistance values, geological profiles and estimate shear strength
properties of soils. KPT tests were carried out on steep slopes that exhibit potential slope
movement in Chiang Rai Province. The principal uses of the KPT are examined; i.e. correction
method for N'KPT, soil profile and allowable bearing capacity of soil foundation. KPT tests were
conducted at 13 boreholes, each measuring 4.00 m long along the crown of the slope. The results
indicated the uncompacted layer and located the firm layer of soil foundation. The average
allowable bearing capacities were 1.53 t/m2 at depth of 1.00-5.00 m and 17.06 t/m2 for 5.00-6.00
m depth respectively. Furthermore, this paper presents an analysis of the stability of a slope
with the shear strength parameters of the soil and the geological profile were defined based on
the results of KPT. The results of factor of safety were below the stable value for analysis
cases with groundwater table. Test results demonstrate the usefulness of the KPT method in
geotechnical investigations to estimate soil profile and bearing capacity efficiently and
economically. This approach is also less time consuming compared to other geotechnical site
investigation methods.

Keywords: Kunzelstab Penetration Test; Soil Boring; Soil Profile; Allowable Bearing Capacity;
Slope Stability

* Corresponding Author. Tel.: +66 5392 1444, E-mail Address: Thitibhorn@rmutl.ac.th


62 วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2561

1. บทน�ำ ลาดดิน โดยตรวจพบการเคลื่อนตัวและรอยแยกของ


การเคลื่ อ นพั ง ของลาดดิ น ในพื้ น ที่ ภ าคเหนื อ แผ่นคอนกรีตทับหน้า จึงได้ด�ำเนินการส�ำรวจในพื้นที่
เนื่องจากลาดดินตามธรรมชาติ หรือลาดดินที่มนุษย์ ใกล้เคียงต�ำแหน่งฐานรากอาคาร และพื้นที่บริเวณ
สร้ า งขึ้ น ที่ ล ดเสถี ย รภาพภายหลั ง ฝนตกหนั ก หรื อ พบการเคลื่อนตัวของมวลดิน มีการตรวจสอบก�ำลัง
ผลกระทบจากแผ่นดินไหวท�ำให้ดินสูญเสียก�ำลังและ ต้านทานดินฐานราก เพือ่ ประเมินค่าก�ำลังด้วยการเจาะ
น�ำไปสู่การเคลื่อนตัวของลาดดินที่ก่อความเสียหาย หยั่งเบา KPT แล้วน�ำข้อมูลมาวิเคราะห์ก�ำลังรับแรง
เป็นปัญหาส�ำคัญที่ได้รับความสนใจจากนักวิจัยในช่วง เฉือนของดิน เพือ่ ใช้ในการวิเคราะห์เสถียรภาพของลาด
หลายปีที่ผ่านมา โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากเหตุการณ์ บทความวิจยั นีม้ จี ดุ มุง่ หมายเพือ่ น�ำเสนอวิธกี าร
แผ่นดินไหวในเขตพื้นที่อ�ำเภอพาน จังหวัดเชียงราย ประเมินค่าก�ำลังฐานรากจากการส�ำรวจด้วยวิธีการ
ในวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 เกิดความเสียหาย เจาะหยั่งเบา KPT โดยน�ำเสนอผล และแปรผล เพื่อ
ต่ออาคารบ้านเรือนและลาดดินในพืน้ ทีเ่ ป็นวงกว้าง การ น�ำข้อมูลที่ได้ประกอบการพิจารณาหาค่าก�ำลังรับแรง
ประเมินความแข็งแรงของลาดดินด้วยวิธกี ารเจาะส�ำรวจ เฉือนของดิน และเป็นแนวทางเบือ้ งต้นให้วศิ วกรน�ำผล
แบบ หยัง่ เบา (Kunzelstab Penetration Test (KPT) ทดสอบในสนามไปใช้ในการวิเคราะห์
หรือ Light Penetrometer) จึงมีส่วนส�ำคัญในการน�ำ
ข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการค�ำนวณทางวิศวกรรม ตลอด 2. ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
จนประเมินค่าก�ำลังรับแรงเฉือนของดินทางด้านวิศวกรรม การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแนะน�ำการใช้งานการทดสอบ
ปฐพี เพือ่ ใช้ในการประเมินการรับแรงของฐานราก และ KPT ในการเจาะส�ำรวจดินเพื่องานฐานราก [1] โดย
ลักษณะการวางตัวของชัน้ ดินในพืน้ ทีล่ าดชัน อีกทัง้ ใน น�ำเครื่องมือการเจาะแบบหยั่งเบา ที่ปลายเป็นทรง
บริเวณทีม่ ขี อ้ จ�ำกัดพืน้ ทีท่ ดสอบ เครื่องมือ เวลา และ กรวย (Cone Head) ท�ำมุม 60 องศา มีค้อนตอก(Pile
งบประมาณ ด้วยลักษณะของเครื่องมือ KPT มีน�้ำหนัก Hammer) น�ำ้ หนัก 10 กิโลกรัม สอดบนก้านเจาะ (Rod)
ที่เบา ขนาดเล็ก สะดวกในการขนย้าย จึงได้มีการ เส้นผ่านศูนย์กลาง 2 เซ็นติเมตร ปล่อยตกอิสระทีร่ ะยะยก
น�ำไปประยุกต์ใช้อย่างแพร่หลายในงานก่อสร้างฐาน 50 เซ็นติเมตรบนแกนน�ำเหล็ก (Guide Rod) แสดงในรูปที่
รากขนาดเล็ก และส�ำรวจในพื้นที่ลาดชัน [1], [2] 1(ก) ใช้ในการประเมินความลึกและความแข็งแรงของ
งานวิจยั นีเ้ ป็นส่วนหนึง่ ของการศึกษาการเคลือ่ น ชั้นดิน เพื่อก�ำหนดต�ำแหน่งฐานรากเสาไฟฟ้า ได้สรุป
ตัวของมวลดินในพื้นที่อาคารปฏิบัติการทดสอบวัสดุ เป็นทฤษฏีเชิงประสบการณ์ความสัมพันธ์ระหว่างการ
วิ ศ วกรรมโยธา มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคล จ�ำนวนครั้งการตอก และก�ำลังรับแรงเฉือนของดิน
ล้านนา จังหวัดเชียงราย ต�ำแหน่งอาคารตั้งอยู่บน Karerat [3] ได้ ท� ำ การทดสอบก� ำ ลั ง รั บ แรง
ภูมปิ ระเทศเป็นพืน้ ทีด่ นิ ถมสูงกว่า 14 เมตร บนฐานราก แบกทานของดินทรายปนตะกอน (SM) โดยพิจารณา
ดินตะกอนทรายทีม่ คี วามเป็นพลาสติกสูง และ ดินเหนียว อิทธิพลของมุมที่หัวหยั่งที่ 60, 90 และ 180 องศา
ทีม่ คี วามเป็นพลาสติกต�ำ่ วางตัวสภาพหลวม โดยพบว่า และอิทธิพลของน�ำ้ ใต้ดนิ ต่อค่าแรงแบกทาน ผลการศึกษา
ภายหลังเหตุการณ์ฝนตกต่อเนื่อง ระดับน�้ำใต้ดินยก พบว่า การเพิ่มมุมองศาปลายกรวยท�ำให้จ�ำนวนครั้ง
ระดับสูงขึ้น ส่งผลให้มวลดินฐานรากอยู่ในสภาพที่อิ่ม การตอกเพิ่มและเสนอค่าคงที่ปรับแก้จากค่ามุมองศา
น�้ำ เกิดการสูญเสียก�ำลังระหว่างเม็ดดิน จนน�ำไปสูก่ าร ของหัวหยั่งที่ใช้ทดสอบ ร่วมกับการพิจารณาอิทธิพล
เคลื่ อ นตั ว และพิ บั ติ ข องแผ่ น คอนกรี ต ดาดผิ ว หน้ า ของน�้ำใต้ดินที่มีผลกับการตอกหยั่งด้วย KPT
64 วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2561

รูปที่ 1 เครื่องมือทดสอบแบบหยั่งเบา Kunzelstab Penetration Test (KPT) หรือ Light Penetrometer (ก)
เครือ่ งทดสอบ [1] (ข) เครือ่ งมือทดสอบ KPT ทีใ่ ช้ในการวิจยั
ต่อระยะการจม (Bow Count, NKPT) โดยผลทดสอบ Gravity of Soil) กระจายขนาดของเม็ดดิน (Grain Size
NKPT จะถูกน�ำไปปรับแก้ข้อมูลที่ได้ เพื่อทราบการ Analysis) พิกัดอัลเทอร์เบอร์ก (Atterberg Limits
เปลี่ ย นแปลงของชั้ น ดิ น , ความหนาชั้ น ดิ น , ก� ำ ลั ง Test) และการจ�ำแนกชนิดของดินด้วยระบบ Unified
รับแรงแบกทานที่ยอมให้ (Qa) ค่าก�ำลังรับแรงเฉือน Soil Classification (USCS)
ของดิน เพื่อน�ำไปวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดินถม ผลการทดสอบคุณสมบัติพื้นฐานในตารางที่ 1
และการกระจายขนาดเม็ดดินในรูปที่ 3 สามารถสรุป
3. ผลการศึกษาและอภิปรายผล ได้วา่ ที่ B01 ค่าความถ่วงจ�ำเพาะของดินมีคา่ เฉลีย่ 2.68
เป็นดินตะกอนมีความเป็นพลาสติกสูง (MH) แทรกด้วย
3.1 คุณสมบัติพื้นฐาน
ชั้นดินเหนียว (CH) ที่ความลึก 2.00-2.50 เมตร ค่า
การเจาะส�ำรวจด้วยสว่านมือ (Hand Auger)
WLL= 37-69%, WPL = 20-39% และ PI = 17-30%
เพื่อศึกษาชั้นดินฐานรากร่วมกับการขุดเปิดหน้าดิน
ส�ำหรับหลุมส�ำรวจ B02 ค่าความถ่วงจ�ำเพาะของดิน
บริเวณฐานราก ในเดือนธันวาคม (ฤดูหนาว) เก็บ
มีค่าเฉลี่ย 2.68 เป็นดินเหนียวมีความเป็นพลาสติกต�่ำ
ตัวอย่างแปรสภาพและคงสภาพน�ำไปทดสอบคุณสมบัติ
(CL) ค่า WLL = 34-42%, WPL = 18-24% และ
พื้นฐาน (Index Properties) และคุณสมบัติด้านก�ำลัง
PI = 16-20% โดยลักษณะดินทั้งสองหลุมลักษณะดิน
ของดิน (Strength Properties) โดยคุณสมบัติพื้นฐาน
ทั้งสองหลุมไม่พบน�้ำใต้ดินแต่มีปริมาณความชื้นตาม
ได้ทดสอบค่าความถ่วงจ�ำเพาะของเม็ดดิน (Specific
RMUTP Research Journal, Vol. 12, No. 2, July-December 2018 65

ธรรมชาติจากเขตน�้ำซึม (Capillary Fringe) ด้วย (ŃKPT) ของชั้นดินได้ 2 กลุ่มข้อมูลคือ 1) BH01-BH08


อิทธิพลของน�้ำใต้ดิน และ 2) BH09-BH13 แสดงในรู ป ที่ 4(ก) และ
ผลการทดสอบก�ำลังรับแรงเฉือนของดิน ด้วยวิธี 4(ข) ตามล�ำดับ Meyerhof [10] กล่าวถึงจ�ำนวนครั้ง
แรงเฉือนตรง ค่าก�ำลังรับแรงเฉือนสภาพธรรมชาติ และ การเจาะหยั่งโดย KPT เมื่อค่า NKPT ต�่ำกว่า 6 ครั้งต่อ
สภาพชุ่มน�้ำ มีค่าก�ำลังรับแรงเฉือน Friction Angle, 20 เซ็ น ติ เ มตร ดิ น อยู ่ ใ นสภาพหลวมมาก (Very
φ = 23.96 องศา และ Cohesion, C= 1.08 ตันต่อ Loose), 6-18 ครั้งต่อ 20 เซ็นติเมตร ดินอยู่ในสภาพ
ตารางเมตร และ φ = 17.53 องศา และ C= 1.83 ตันต่อ หลวม (Loose) และ 18-55 ครัง้ ต่อ 20 เซ็นติเมตร ดินอยูใ่ น
ตารางเมตร ตามล�ำดับ [9] สภาพแน่นปานกลาง (Medium) จากรูปที่ 4(ก) ข้อมูล
ชุดที่ 1 ทดสอบต�ำแหน่ง BH01-BH08 พบว่า บริเวณ
3.2 การแปรผลการทดสอบการเจาะแบบหยัง่ แนวเจาะในกลุ่มข้อมูลชุดแรกพบชั้นดินที่ค่าเฉลี่ยของ
เบา ŃKPT ต�่ำกว่า 6 ดินฐานรากอยู่ในสภาพหลวมมาก ที่
ผลการทดสอบ KPT แสดงความสัมพันธ์ของ ความลึกชัน้ ดินที่ 1.50-3.00 เมตร แล้วเพิม่ แรงต้านตาม
จ�ำนวนครัง้ ทีจ่ มทุก 20 เซ็นติเมตร Blow Count (ŃKPT) ความลึกที่เพิ่มขึ้น ข้อมูลชุดที่ 2 (ข้อมูล BH09-BH13)
เมือ่ ผ่านการปรับแก้จากสมการที่ (1) และ (2) ในรูปที่ 4 พบค่า ŃKPT กระจายในช่วงค่า 6-18 ครัง้ ต่อ20 เซ็นติเมตร
ความสัมพันธ์ (ŃKPT) และความลึกทดสอบ จากข้อมูล จากระดับผิวดินถึงระดับความลึก 6.50 เมตร บอกถึง
จากหลุมเจาะส�ำรวจ BH01-BH13 พบการกระจาย สภาพชั้นดินอยู่ในสภาพหลวมถึงหลวมมาก และมีแรง
ของข้ อ มู ล มี ค วามแปรปรวนในระดั บ ความลึ ก ต้านค่าการทะลวงของหัวกรวยทดสอบที่ค่อนข้างต�่ำ
3.00-7.50 เมตร โดยสามารถแยกผลทดสอบค่ า เป็นชั้นหนากว่า 6.00 เมตร

รูปที่ 2 การส�ำรวจด้วยการเจาะหยั่งเบา (ก) แนวต�ำแหน่งการทดสอบ (ข) การทดสอบ KPT (ค) กรวยทดสอบ


66 วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2561

ตารางที่ 1 ผลการทดสอบคุณสมบัติพื้นฐานและการจ�ำแนกชนิดของดิน
Sieve Analysis
Depth (m) Atterberg Limits
BH No. GS (%Passing) USCS
From To WLL WPL PI % Sand % Fine
B01 0.00 2.00 2.69 69 39 30 100.00 79.94 MH
B01 2.00 2.50 2.69 61 22 39 100.00 86.94 CH
B01 2.50 7.50 2.67 57 30 27 100.00 93.06 MH
B01 7.50 9.00 2.69 37 20 17 100.00 37.59 SC
B02 0.00 3.00 (ก)
2.69 38 18 20(ข) 100.00 64.53 (ค) CL
B02 3.00 3.50 2.67 34 18 16 100.00 79.60 CL
B02 3.50 6.50 2.68 42 24 18 100.00 83.96 CL

รูปที่ 3 การกระจายขนาดของเม็ดดิน

ประเมินค่ามุมเสียดทานภายในของมวลดินโดย จากสภาพการเคลื่ อ นตั ว สู ง สุ ด และร่ อ งรอย


พิจารณาร่วมกับข้อมูลเจาะส�ำรวจ B01 น�ำค่า ŃKPT การแตกบนแผ่นคอนกรีตผิวหน้า สอดคล้องกับผล
เป็นค่า NSPT ตามข้อแนะน�ำ [4] และปรับแก้ผลกระทบ ทดสอบ KPT ที่เปลี่ยนจ�ำนวนครั้งการตอกที่ต�ำแหน่ง
ต่าง ๆ ของเครื่องมือ SPT เป็น N60 ปรับแก้ผลจาก BH08 และ BH09 ดังนัน้ จึงใช้ขอ้ มูลทัง้ สองแนวทดสอบ
ความดันกดทับ CN เป็นค่า N160 ตามข้อแนะน�ำของ ค�ำนวณค่าก�ำลังรับแรงแบกทานที่ยอมให้
Das [11] ค�ำนวณค่ามุมเสียดทานภายใน (Friction รูปที่ 5 แสดงค่า ŃKPT หลุมทดสอบ BH08
Angle, φ) ได้เท่ากับ 27.9 องศา ด้วยสมการของ และ BH09 ค่าก�ำลังรับแรงแบกทานที่ยอมให้ที่ปลาย
Terzaghi and Peck [12] โดยแสดงค่าตลอดความลึก Qa จากสมการที่ (3) เมื่อพิจารณาผลทดสอบเทียบ
การทดสอบในรูปที่ 4(ค) กับความลึก พบว่าค่าแรงแบกทานที่ยอมให้ที่ปลาย
RMUTP Research Journal, Vol. 12, No. 2, July-December 2018 67

ของกรวยทดสอบมีคา่ ก�ำลังแบกทานทีย่ อมให้โดยเฉลีย่ บ่งถึงความไม่สม�ำ่ เสมอในการบดอัดดินฐานรากรองรับ


Qa ทีร่ ะดับความลึก 1.00-5.00 เมตรเท่ากันคือ 1.53 ตัน อาคาร และลักษณะความไม่ต่อเนื่องของการวางตัว
ต่ อ ตารางเมตร และมี ค ่ า ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ตามความลึ ก ที่ ชั้นดินที่ต�ำแหน่ง BH08-BH09
5.00-6.60 เมตร เฉลีย่ เท่ากับ 17.06 ตันต่อตารางเมตร
โดย BH08 พบชั้นดินอ่อนแทรกตัวที่ระดับความลึก 3.3 การวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดินด้วย
1.000-3.00 มีค่า เฉลี่ยเท่ากับ 0.70 ตันต่อตารางเมตร โปรแกรม KU Slope
เมื่อความลึกเพิ่มขึ้นค่าแรงแบกทานที่ยอมให้เพิ่มเป็น การวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดินเพือ่ ประเมิน
33.22 ตันต่อตารางเมตรเมตร จากค่าก�ำลังแบกทาน ค่าอัตราส่วนปลอดภัย (Factor of Safety, F.S.)
ที่ยอมให้ สรุปได้ว่าด้วยความหนาของชั้นดินก�ำลังต�่ำ โดยใช้ข้อมูลเพื่อวิเคราะห์ประกอบด้วย สภาพการ
ของหลุ ่ ม BH09 ส่ ง ผลให้ เ กิ ด การเคลื่ อ นตั ว ของ วางตัวของชั้นดิน และลักษณะกายภาพของลาดดิน
มวลดินใต้ฐาน น�ำไปสู่การพิบัติชองลาดดินรองรับ (Soil Profile and Slope Geometry) ค่าหน่วย
อาคารที่ชัดเจน น�้ำหนัก, ค่าก�ำลังรับแรงเฉือน และน�้ำหนักโครงสร้าง
เมือ่ พิจารณาจากการออกแบบก�ำหนดโดย Thai อาคารทีก่ ระท�ำ ค่าคุณสมบัตติ า่ ง ๆ น�ำเข้าและประมวล
Government Ministerial Regulation [13] ระบุ ผลด้วยโปรแกรม KU Slope โดยเลือกวิธใี นการค�ำนวณ
ค่าก�ำลังรับแรงแบกทานของดินที่ยอมให้ส�ำหรับดิน คือ 1) วิธี Ordinary Method of Slices, OMS 2)
อ่อนหรือดินถมไว้แน่นตัวเต็มที่ มีค่าไม่เกินว่า 2 ตันต่อ วิธี Simplified Bishop 3) วิธี Simplified Janbu
ตารางเมตร พบว่ า ค่ า ก� ำ ลั ง รั บ แรงแบกทานที่ ย อม และ 4) วิธี Spencer เพื่อเปรียบเทียบผลค่าอัตราส่วน
ให้ ใ นพื้ น ที่ ศึ ก ษามี ค ่ า ต�่ ำ กว่ า 1.3-2.8 เท่ า จากข้ อ ปลอดภัย โดยเลือกหน้าตัดที่ BH09 เป็นหน้าตัดวิกฤต
ก�ำหนดการออกแบบ จากผลศึกษาของ Karerat [3] พิจารณาปัจจัยของน�้ำใต้ดินที่มีผลต่อค่าอัตราส่วน
พบว่ า น�้ ำ ใต้ ดิ น มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การทดสอบ KPT ปลอดภัยของลาด
โดยให้คา่ ร้อยละทีแ่ ตกต่างถึง 70-75 จากผลทดสอบดิน ค่าคุณสมบัติเพื่อใช้วิเคราะห์ ส�ำหรับชั้นดินถม
สภาพแห้ง ดังนั้นการใช้ผล KPT ควรพิจารณาผลของ แปรผลจาก KPT ร่วมกับผลเจาะส�ำรวจ B01 จ�ำแนก
เนื่องจากฤดูกาลและสภาพน�้ำใต้ดินด้วย เป็นชั้นดินตะกอนทราย โดยแบ่งชั้นดิน 2 ชั้น ส�ำหรับ
ผลการเจาะหยั่ง ŃKPT ค่าจ�ำนวนครั้งการตอก ดินชั้นที่ 1 ที่ระดับ 0.00-6.50 เมตร ค่ามุมเสียดทาน
สามารถน� ำ ข้ อ มู ล มาเขี ย นเส้ น ชั้ น การกระจายของ ภายในของเม็ดดิน φ มีคา่ 27.9 องศา ค่าหน่วยน�ำ้ หนัก
จ�ำนวนครั้งในการตอกตลอดแนวทดสอบในรูปที่ 6 ดิน 1.80 ตันต่อลูกบาศก์เมตร ดินชั้นที่ 2 ความลึก
เพื่อใช้ประเมินความหนาของชั้นดินฐานราก พบว่าดิน 6.50-14.00 เมตร ค่า φ เฉลี่ย = 35 องศา ค่าหน่วย
ฐานรากในช่วงต้นเป็นชั้นดินที่อยู่ในสภาพหลวมและ น�้ ำ หนั ก ดิ น เท่ า กั บ 1.85 ตั น ต่ อ ลู ก บาศก์ เ มตร
มี ก ระเปาะดิ นที่อยู่ในสภาพหลวมมากแทรกตัว อยู ่ จากสภาพชั้นดินชั้นบนที่ประเมินค่าก�ำลังด้วย KPT
โดยพบชั้นดินที่แน่น (ŃKPT >55 ครั้งต่อ20 เซ็นติเมตร) มาพิ จ ารณาโดยศึ ก ษาผลของค่ า φ มี ผ ลต่ อ ค่ า
ทีค่ วามลึก 6.00 เมตร ส�ำหรับหลุมทดสอบ BH01-BH08 อัตราส่วนปลอดภัย
และลึกกว่า 7.50 เมตรที่หลุมทดสอบ BH09-BH13
68 วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2561

รูปที่ 4 ผลการทดสอบด้วย KPT ความสัมพันธ์ระหว่าง Blow count (N´KPT) และ ความลึกการส�ำรวจ (ก) หลุม
ส�ำรวจ BH01-BH08 (ข) หลุมส�ำรวจ BH09-BH13 (ค) Friction Angle

รูปที่ 5 ก�ำลังรับแรงแบกทานที่ปลาย (Allowable Bearing Capacity) (ก) หลุมทดสอบ BH08 และ (ข) BH09
RMUTP Research Journal, Vol. 12, No. 2, July-December 2018 69

ด้วยวิธีการ Parametric Study ให้ครอบคลุม กรณี ที่ มี อิ ท ธิ พ ลจากน�้ ำ ใต้ ดิ น พบว่ า ค่ า อั ต ราส่ ว น
ช่วงของค่ามุมเสียดทานภายในเท่ากับ 25-35 องศา ปลอดภัยลดลงมากกว่าร้อยละ 30 ในการวิเคราะห์
เพื่ อ ศึ กษาค่ าอัต ราส่ว นปลอดภัยที่เปลี่ยนไปกับ ค่า ทุกวิธี โดยมีช่วงค่าเท่ากับ 0.615-0.873 (Simplified
ก�ำลังรับแรงเฉือนของมวลดิน การวิเคราะห์พิจารณา Bishop), 0.659-0.939 (Simplified Janbu) และ
ร่วมกับฐานรากตืน้ รองรับอาคารขนาด 2.00x2.00 เมตร 0.666-0.951 (Spencer) เมื่ออัตราส่วนปลอดภัยมีค่า
ก�ำหนดให้มีน�้ำหนักแผ่กระจายสม�่ำเสมอที่ฐานเท่ากับ น้อยกว่า 1.0 ลาดดินเกิดการพิบัติ และค�ำนวณด้วย
10 ตันต่อตารางเมตร วิธี OMS ให้ค่าอัตราส่วนปลอดภัยต�่ำสุดเมื่อเทียบกับ
ในรูปที่ 7 แสดงหน้าตัดการวิเคราะห์เสถียรภาพ ทุกวิธี ส�ำหรับค่า φ ทีเ่ ท่ากับ 27.9 องศามีคา่ อัตราส่วน
ลาดดินด้วย KU Slope และค่าคุณสมบัติของดินเพื่อ ปลอดภัยเท่ากับ 1.127 ที่สอดคล้องกับ พฤติกรรมจริง
ประกอบการวิเคราะห์ จ�ำนวน 1 หน้าตัด โดยการ ที่พบว่าความเสียหายของลาดดิน ด้วยอิทธิพลของ
วิเคราะห์ค่าอัตราส่วนปลอดภัยพิจารณา 2 กรณี คือ น�้ำใต้ดินที่เพิ่มสูงตามฤดูกาลท�ำให้ค่าอัตราส่วนความ
ไม่พิจารณาอิทธิพลของระดับน�้ำใต้ดิน และพิจารณา ปลอดภัยลดลงมีค่าเท่ากับ 0.742 ที่แสดงการพิบัติ
อิทธิพลของน�้ำใต้ดิน ของลาดดิน
ส� ำ หรั บ การประเมิ น ค่ า อั ต ราปลอดภั ย ของ จะเห็นได้ว่า การวิเคราะห์ด้วยการน�ำผลจาก
ลาดดิน Wyllie et.al. [14] แนะน�ำส�ำหรับความค่า KPT มาเทียบเคียงคุณสมบัติการรับแรงเฉือนของมวล
ความปลอดภัยที่น้อยที่สุด (Minimum Total Safety ดิน พบว่าให้ค่าก�ำลังที่ต�่ำกว่าเล็กน้อยแต่เป็นเกณฑ์
Factor) ส�ำหรับลาดดินถาวร ควรมีค่าไม่น้อยกว่า ส�ำหรับการประเมินความปลอดภัยในเบื้องต้น ทั้งนี้
1.30-1.50 ผู้วิเคราะห์ควรพิจาณาในการท�ำการแปรเปลี่ยนค่า
การวิเคราะห์ด้วยวิธี OMS ใช้กับรูปแบบการ คุณสมบัติ (Parametric Study) และปัจจัยเนื่องจาก
พิบัติของดินแบบ Circular โดยใช้หลักการสมดุลย์ของ น�้ำใต้ดิน หรือการเปลี่ยนแปลงน�้ำตามฤดูกาลที่จะช่วย
แรงไม่พิจาณาแรงเสียดทานด้านข้างของมวลดินและ ให้การวิเคราะห์ใกล้เคียงค่าที่ถูกต้องยิ่งขึ้น
แรงกระท�ำด้านข้าง, Simplified Janbu วิเคราะห์ได้ทงั้
Circular และ Non-circular ใช้หลักการสมดุลย์ของ
แรง โดยไม่พจิ ารณาแรงเฉือนระหว่างมวลดิน ส�ำหรับวิธี
4. สรุป
ผลการศึกษาสามารถสรุปได้ดังนี้
Simplified Bishop ใช้หลักการสมดุลย์โมเมนต์ โดยมี
1. การทดสอบการตอกหยั่ง KPT ในสนามบน
สมมติฐานแรงกระท�ำแนวนอนมีเฉพาะแรงดันดินด้าน
ลาดดินชนิดดินตะกอนทรายที่มีความเป็นพลาสติกสูง
ข้าง และวิธี Spencer ใช้หลักการสมดุลย์ของแรง และ
(MH) และดินเหนียวที่มีความเป็นพลาสติกต�่ำ (CL)
สมดุลย์โมเมนต์ โดยมีสมมติฐานแรงเฉือนระหว่างมวล
พบว่าที่หลุม BH01-BH08 ชั้นดินสภาพหลวมมีความ
ดินมีค่าคงที่ตลอดความยาวของลาด [15]
หนาชัน้ ดิน 4.00 เมตร และทีห่ ลุม BH09-BH13 ดินสภาพ
ผลการวิเคราะห์สรุปในตารางที่ 2 ความสัมพันธ์
หลวมมาก ความหนาชัน้ ดิน 6.50 เมตร ผลทดสอบ KPT
ระหว่างค่าอัตราส่วนปลอดภัย (F.S.) และค่า φ ในรูปที่
สามารถน�ำไปประเมินความหนาชั้นดิน และเลือกหน้า
8 พบว่า การพิจารณาช่วงค่าของมุมเสียดทานภายใน
ตัดวิกฤต เพื่อวิเคราะห์เสถียรภาพความปลอดภัย การ
25-35 องศา ค่า F.S. ของลาดดินแปรผันในช่วงค่า
ทดสอบด้วย KPT ยังมีความแปรปรวนอยู่มากจ�ำเป็น
0.969-1.401 (Simplified Bishop), 1.016-1.432
ต้องมีการพิจารณาถึงค่าปรับแก้ที่เหมาะสมก่อนน�ำ
(Simplified Janbu) และ 1.014-1.431 (Spencer)
ไปใช้งาน
70 วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2561

2. ผลการทดสอบ KPT สามารถน�ำไปประเมิน 4. การหาก� ำ ลั ง รั บ แรงเฉื อ นของดิ น เพื่ อ


ค่าก�ำลังรับแรงแบกทานที่ยอมให้ Qa ของฐานรากด้วย วิ เ คราะห์ อั ต ราส่ ว นปลอดภั ย ของลาดดิ น ด้ ว ยค่ า
ทฤษฎีเชิงประสบการณ์ เพื่อประเมินเบื้องต้น เช่น พารามิเตอร์จาก KPT จากการเปรียบเทียบด้วยวิธีการ
ประกอบการพิจารณาขนาดฐานรากตื้นส�ำหรับอาคาร วิเคราะห์ 4 วิธี ด้วย KU Slope คือ 1) วิธี Ordinary
ขนาดเล็ ก หรื อ ใช้ ใ นการตรวจสอบค่ า อั ต ราส่ ว น Method of Slices, OMS 2) วิธี Simplified Bishop
ปลอดภัยภายหลังการใช้งานฐานราก เป็นต้น 3) วิธี Simplified Janbu และ 4) วิธี Spencer
3. ผลการตอกหยั่งด้วย KPT ให้ผลการทดสอบ พบว่า ค่า F.S.อยู่ในช่วงค่าที่ยอมรับได้ ทั้งนี้การ
แรงต้านที่ปลายต่อเนื่องตลอดความลึกชั้นดิน เหมาะ พิจารณาน�ำผล KPT ใช้ในการหาค่าก�ำลังรับแรงเฉือน
ส�ำหรับการทดสอบในดินทราย ดินสภาพหลวม หรือมี ของมวลดิน ต้องมีการพิจารณาค่าปรับแก้ที่เหมาะสม
ระดับน�ำ้ ใต้ดนิ สูง ทีย่ ากต่อการทดสอบและเก็บตัวอย่าง และท�ำการศึกษาผลการเปลี่ยนค่าคุณสมบัติของก�ำลัง
คงสภาพ วิธีทดสอบนี้สะดวก เครื่องมือเคลื่อนย้าย รวมทัง้ ผลปัจจัยจากน�ำ้ ใต้ดนิ เพือ่ ให้คา่ ทีใ่ กล้เคียงความ
ง่าย เมือ่ เปรียบเทียบกับการทดสอบแบบตอกหยัง่ อืน่ ๆ ถูกต้องยิ่งขึ้น

รูปที่ 6 เส้นชั้นความสูงของจ�ำนวนการตอก N´KPT

รูปที่ 7 แบบจ�ำลองการวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดินกรณีมีอิทธิพลของน�้ำใต้ดิน ด้วย KU Slope


RMUTP Research Journal, Vol. 12, No. 2, July-December 2018 71

ตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ค่าอัตราส่วนปลอดภัยด้วยโปรแกรม KU Slope


กรณีไม่พิจารณาอิทธิพลน�้ำใต้ดิน กรณีพิจารณาอิทธิพลน�้ำใต้ดิน

2. Simplified Bishop

2. Simplified Bishop
1. Method of Slices

1. Method of Slices
3. Simplified Janbu

3. Simplified Janbu
Friction Angle, φ
(Degree)

4. Spencer

4. Spencer
25.0 0.976 0.969 1.016 1.014 0.587 0.615 0.659 0.666
27.0 1.057 1.051 1.093 1.091 0.632 0.663 0.711 0.719
27.9 1.095 1.088 1.128 1.127 0.652 0.684 0.735 0.742
29.0 1.142 1.135 1.172 1.171 0.678 0.712 0.765 0.774
31.0 1.230 1.223 1.255 1.253 0.726 0.763 0.820 0.830
33.0 1.316 1.313 1.341 1.340 0.776 0.817 0.879 0.889
35.0 1.404 1.401 1.432 1.431 0.828 0.873 0.939 0.951

รูปที่ 8 ผลการวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดินไม่พิจารณาและพิจารณาผลของน�้ำใต้ดิน

5. กิตติกรรมประกาศ วัตถุประสงค์ หน่วยวิจัยนวกรรม ศูนย์วิจัยและพัฒนา


งานวิจยั ฉบับนีส้ าํ เร็จได้ดว้ ยความอนุเคราะห์จาก วิศวกรรมปฐพีและฐานราก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
งบประมาณแผ่นดิน โดยได้รบั การประเมินข้อเสนอจาก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, คุณอนุชา อินแปง, คุณ
สํานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.) และผูเ้ ขียน อภิรักษ์ บุญดี และคุณประวิทย์ มโนวัลย และผู้ทรง
ขอขอบคุณ ผูม้ สี ว่ นร่วมทีท่ ำ� ให้งานวิจยั ส�ำเร็จลุลว่ งตาม คุณวุฒิที่ให้ค�ำแนะน�ำที่มีค่าต่อบทความ
72 วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม 2561

6. เอกสารอ้างอิง [8] P. Tunmung and W. Chimoye, “Comparisons


[1] EGAT, Soil exploration by Kunzelstab of Analysis Results of Slope Stability
penetration test Elec-tricity Generating between Limit Equilibrium Method and
Authority of Thailand (EGAT), 1980. Finite Element Method,” Journal of
[2] A. Sakmanee, K. Chantawarangul, “Soil Science and Technology Thammasat
exploration by dynamic light University, vol. 12, no. 1, pp. 184-196.
penetrometer,” in Proceedings of 41st [9] T. Phantachang and A. Jotisankasa,
Kasetsart University Annual Conference, “Investigation of Slope Instability of a
Bangkok, Thailand, 2003, pp. 490-497. Concrete -Faced Slope in Chiangrai.” in
[3] C. Karerat, “Bearing capacity investigation Proceedings of International Conference
of silty sandy soil layer using Kunzelstab on Slope 2010 : Geotechnique and
test,” Journal of Applied Engineering Geosynthetics for Slopes, Chiang Mai,
Sciences, vol. 16, no. 19, pp. 57-61, 2016. Thailand, 2010, pp. 41-46.
[4] S. Pengsri and A. Jeamwattanareak, “The [10] G.G. Meyerhof, “Penetration tests and
Correlations between KPT and SPT,” B.S. bearing capacity of cohesionless soils,”
thesis, Burapha University, Chonburi, Journal of the Soil Mechanics and
Thailand, 2013. Foundations Division,” vol. 82, no. 1,
[5] W. Kongkitkul, S. Srisakorn, T. Chantachot, pp. 1–19, 1956.
S. Youwai, P. Jongpradist and C. [11] B. M. Das, Principles of Geotechnical
Bunjongruksa, “Evaluation of guy Engineering, 9th ed. Boston: PWS, 1997.
anchorage strength in clay for transmission [12] K. Terzaghi and R. B. Peck, Soil
Tower,” Journal of Testing and Evaluation, Mechanics in Engineering Practice,
vol. 41, no. 4, pp. 564–570, 2013. New York: Wiley, 1987.
[6] KU Slope Version 2.1 Manual, Isaroranit [13] Thai Government, Ministerial Regulation
R. and Geotechnical Engineering Research no. 6, B.E.2527 (1984), “Issued In
and Development Center (GERD), Accordance With The Building Control
Bangkok, Thailand, 2009. [Online]. Available: Act”, B.E.2522 (1979).
http://www.gerd.eng.ku.ac.th/About_us/ [14] D. C. Wyllie and C. W, Mah Rock Slope
Download/Program/KUSlope_2/KUslope Engineering: Civil and Mining, 4th ed.
%202.0%20Manual.pdf London: Spon Press, 2004.
[7] P. Rattanasuwan and W. Punurai, “Slope [15] D. H. Cornforth, Landslides in Practice:
Stability Improvement of Railway Investigation, Analysis and Remedial
Embankment, ”Research and Development Preventative Options in Soils, 1st ed.
Journal, vol. 22, no. 3, pp. 07-14. Hoboken, New Jersey: John Wiley and
Sons, 2005.

You might also like