You are on page 1of 65

คณะกรรมการกํากับ

โครงการศึกษาการแกไขปองกันการชะลางพังทลายและเคลื่อนตัวของเชิงลาด

1. ดร.ยงยุทธ แตศิริ วิศวกรวิชาชีพ 9 วช. ประธานกรรมการ


2. นายสุรพล สงวนแกว นักธรณีวิทยา 9 ชช. กรรมการ
3. นายสุรชัย ศรีเลณวัติ รก.วิศวกรวิชาชีพ 9 วช. กรรมการ
4. นายพิน ศรีหรั่งไพโรจน วิศวกรโยธา 8 วช. กรรมการ
5. ดร.จุฑา สุนิตยสกุล วิศวกรโยธา 7 วช. กรรมการ
6. ดร.อรรถสิทธิ์ สวัสดิ์พานิช วิศวกรโยธา 7 วช. กรรมการ
7. ดร.ปญญา ชูพานิช วิศวกรโยธา 6 ว. กรรมการ
8. ดร.ปยะ ชูตินันท วิศวกรโยธา 5 กรรมการ
9. ดร.อัคคพัฒน สวางสุรีย วิศวกรโยธา 5 กรรมการและวิศวกรกํากับโครงการ
10. ดร.จิรโรจน ศุกลรัตน วิศวกรโยธา 5 กรรมการและวิศวกรกํากับโครงการ
11. ดร.มนตรี เดชาสกุลสม วิศวกรวิชาชีพ 9 วช. กรรมการและเลขานุการฯ
12. นายกษิดิศ วัฒนศัพท รส.ทล. 1 ผูเชี่ยวชาญ
13. นายธานินทร สมบูรณ รส.ทล. 2 ผูเชี่ยวชาญ
คูมือการสํารวจ วิเคราะห ความเสียหายของการชะลางพังทลาย สารบัญ
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
สารบัญ

สารบัญ หนา

สารบัญ ก
สารบัญรูป ค
สารบัญตาราง จ

บทที่ 1 บทนํา 1

1.1 ความเปนมาและวัตถุประสงคของคูมือ 1
1.2 ความเสียหายที่สํารวจพบในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย 3
1.3 การจําแนกลักษณะความเสียหายของเชิงลาด 3

บทที่ 2 การสํารวจความเสียหายเชิงลาดกรณีไมมีการติดตั้งระบบปองกัน 10

2.1 จุดประสงคและลักษณะการเก็บขอมูลที่จําเปน 10

บทที่ 3 การสํารวจความเสียหายเชิงลาดกรณีมีการติดตั้งระบบปองกัน 16

3.1 น้ํากัดเซาะบริเวณปลายเชิงลาดคันทาง 16
3.1.1 การสํารวจน้ํากัดเซาะบริเวณปลายเชิงลาดคันทาง 20
3.2 น้ํากัดเซาะผิวหนาเชิงลาดและไหลทางสาเหตุจาก 24
น้ําผิวดินและน้ําทวมทาง
3.2.1 การสํารวจน้ํากัดเซาะผิวหนาเชิงลาดและไหลทาง 28
สาเหตุจากน้ําผิวดินและน้ําทวมทาง
คูมือการสํารวจ วิเคราะห ความเสียหายของการชะลางพังทลาย สารบัญ
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
สารบัญ (ตอ)

สารบัญ หนา

บทที่ 3 การสํารวจความเสียหายเชิงลาดกรณีมีการติดตั้งระบบปองกัน (ตอ)

3.3 การเคลื่อนตัวของมวลดินเนื่องจากอิทธิพลของน้ํา และ/หรือ 34


การขาดเสถียรภาพของเชิงลาด
3.3.1 การสํารวจการเคลื่อนตัวของมวลดินเนื่องจาก 38
อิทธิพลของน้ํา และ/หรือ การขาดเสถียรภาพของเชิงลาด
3.4 หินรวงและเชิงลาดดิน-หินเคลื่อนตัว 46
3.4.1 การสํารวจหินรวงและเชิงลาดดิน-หินเคลื่อนตัว 50

บทที่ 4 แบบฟอรมการสํารวจ 56

4.1 แบบฟอรมการสํารวจกรณีที่ไมมีการติดตั้งระบบปองกัน 57
4.2 แบบฟอรมการสํารวจกรณีที่มีการติดตั้งระบบปองกัน 57

เอกสารอางอิง 82

ศัพทเทคนิค 83
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย สารบัญรูป
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
สารบัญรูป

รูปที่ หนา

1.1-1 ภาพรวมและการเชื่อมโยงของคูมือ 2
1.3-1 การจําแนกรูปแบบความเสียหายซึ่งเกิดจากการชะลางพังทลาย 6
ของลาดคันทางโดยวิธีสังเกตในสนาม
1.3-2 การจําแนกรูปแบบความเสียหายซึ่งเกิดจากการชะลางพังทลาย 8
ของลาดเหนือคันทางโดยวิธีสังเกตในสนาม
2.1-1 รูปแบบความเสียหายของเชิงลาดในกรณีไมมีการติดตั้งระบบปองกัน 11
3.1-1 รูปแบบความเสียหายที่มีสาเหตุมาจากน้ํากัดเซาะบริเวณ 16
ปลายเชิงลาดคันทาง
3.1-2 จุดแนะนําในการตรวจสอบความเสียหายในสนามประเภท 18
น้ํากัดเซาะบริเวณปลายเชิงลาดคันทาง
3.2-1 รูปแบบความเสียหายที่มีสาเหตุมาจากน้ํากัดเซาะผิวหนาเชิงลาด 24
และไหลทาง
3.2-2 จุดแนะนําในการตรวจสอบความเสียหายในสนามประเภทน้ํากัดเซาะ 26
ผิวหนาเชิงลาดและไหลทางสาเหตุจากน้ําผิวดินและน้ําทวมทาง
3.3-1 รูปแบบความเสียหายที่มีสาเหตุมาจากการเคลื่อนตัวของมวลดิน 34
เนื่องจากอิทธิพลของน้ํา และ/หรือ การขาดเสถียรภาพของเชิงลาด
3.3-2 จุดแนะนําในการตรวจสอบความเสียหายในสนามประเภท 36
การเคลื่อนตัวของมวลดินเนื่องจากอิทธิพลของน้ํา และ/หรือ
การขาดเสถียรภาพของเชิงลาด
3.4-1 รูปแบบความเสียหายที่มีสาเหตุมาจากหินรวง 46
และเชิงลาดดิน-หินเคลื่อนตัว
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย สารบัญรูป
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
สารบัญรูป (ตอ)

รูปที่ หนา

3.4-2 จุดแนะนําในการตรวจสอบความเสียหายประเภทหินรวง 48
และเชิงลาดดิน-หิน เคลื่อนตัว
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย สารบัญตาราง
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
สารบัญตาราง

ตารางที่ หนา

1.2-1 การจัดแบงประเภทของความเสียหายจากการชะลางพังทลาย 4
ที่สํารวจพบในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย
2.1-1 การสํารวจและเก็บขอมูลภาคสนามกรณีเชิงลาด 12
เกิดความเสียหาย
4.2-1 แบบฟอรมการสํารวจประเภทน้ํากัดเซาะบริเวณปลายเชิงลาดคันทาง 58
4.2-2 แบบฟอรมการสํารวจประเภทน้ํากัดเซาะผิวหนาเชิงลาดและไหลทาง 64
สาเหตุมาจากน้ําผิวดินและน้ําทวมทาง
4.2-3 แบบฟอรมการสํารวจประเภทการเคลื่อนตัวของมวลดินเนื่องจาก 70
อิทธิพลของน้ํา และ/หรือ การขาดเสถียรภาพของเชิงลาด
4.2-4 แบบฟอรมการสํารวจประเภทหินรวงและเชิงลาดดิน-หินเคลื่อนตัว 76
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)

บทที่ 1 บทนํา

1.1 ความเปนมาและวัตถุประสงคของคูมือ

ความเสี ย หายจากการชะล า งพั ง ทลายและการเคลื่ อ นตั ว ของเชิ ง ลาด


ตามแนวทางหลวงทั้งดานลาดเหนือคันทาง (Back Slope) และลาดคันทาง
(Side Slope) เปนปญหาที่สรางความเสียหายที่มีแนวโนมทวีความรุนแรงและ
เป น ป ญ หาสํ า คั ญ มากขึ้ น อย า งต อ เนื่ อ ง ในขณะที่ วิ ธี ก ารตรวจสอบและวิ เ คราะห
สาเหตุยังขาดระบบที่ถูกตองตามหลักวิชาการ กอใหเกิดความเสียหายแบบซ้ําซาก
และสิ้นเปลืองงบประมาณเปนจํานวนมาก ดังนั้น การสํารวจ ตรวจสอบ ตลอดจน
การวิเคราะหความเสียหายจึงตองดําเนินการอยางละเอียดและมีความสอดคลองกับ
สภาพความเปนจริง ขอมูลการสํารวจภาคสนามที่มีความแมนยําจะชวยใหสามารถ
คนหาสาเหตุความเสียหายที่ตองรีบดําเนินการแกไขไดอยางถูกตองเหมาะสมและ
มีประสิทธิภาพเพื่อนําไปใชในการปองกันแกไขการชะลางพังทลายและการเคลื่อนตัว
ของเชิงลาดอยางไดผลตอไป

เพื่อใหบรรลุถึงเปาหมายดังกลาว คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหาย


ของการชะล า งพั ง ทลาย และเคลื่ อ นตั ว ของเชิ ง ลาด (ฉบั บ สนาม) จึ ง เป น
เครื่อ งมือ สํา คัญ ในการชว ยใหบุค ลากรของกรมทางหลวงที่มีภ ารกิจ ในการสํา รวจ
ตรวจสอบและเก็ บ ข อ มู ล ความเสี ย หายในสนามสามารถดํ า เนิ น การสํ า รวจพื้ น ที่
ไดอยางถูกตองซึ่งขอมูลดังกลาวนี้จะถูกนําไปใชในการวิเคราะหและออกแบบเชิงลาด
ตอไป สําหรับภาพรวมและการเชื่อมโยงของคูมือไดแสดงไวในรูปที่ 1.1-1
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)

รูปที่ 1.1-1 ภาพรวมและการเชื่อมโยงของคูมือ


คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
1.2 ความเสียหายที่สํารวจพบในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย

สําหรับเขตพื้ นที่ศึกษาซึ่งเปนบริเวณภาคเหนือของประเทศไทย (สน.ทล.


1, 2, 4 และ 6) พบวา บริเวณสวนใหญเปนภูเขาสูงชัน มีสภาพทางธรณีวิทยาที่ซับซอน
และมี ป ริ ม าณฝนตกเฉลี่ ย ต อ ป สู ง สิ่ ง เหล า นี้ เ ป น ป จ จั ย สํ า คั ญ ที่ ทํ า ให เ กิ ด ป ญ หา
การพั ง ทลายของเชิ ง ลาดมากกว า ภู มิ ภ าคอื่ น ๆ ของประเทศ จากการสํ า รวจและ
เก็บขอมูลอยางละเอียดทําใหสามารถสรุปและจัดประเภทความเสียหายไดดังแสดง
ในตารางที่ 1.2-1

1.3 การจําแนกลักษณะความเสียหายของเชิงลาด

เพื่ อ ให ก ารสํ า รวจและวิ เ คราะห ค วามเสี ย หายของเชิ ง ลาดในสนาม


มีมาตรฐานและเปนไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีขอมูลเชิงวิชาการและสถิติเปนเกณฑ
การจําแนกลักษณะความเสียหายจึงควรพิจารณาถึงสาเหตุ ลักษณะเชิงเรขาคณิต
ธรณีวิทยา และสภาพโดยรวมของเชิงลาด ตลอดจนขอมูลเชิงอุตุนิยมวิทยาเปนสําคัญ
เพื่อใหผลการสํารวจดังกลาวสามารถนําไปใชในการออกแบบแกไขไดอยางถูกตอง
และเปนประโยชนสูงสุด ซึ่งวิธีการจําแนกโดยพิจารณาถึงขอมูลดังกลาวสามารถสรุป
เปนแผนผังไดดังแสดงในรูปที่ 1.3-1 และ รูปที่ 1.3-2
ตารางที่ 1.2-1 การจั ด แบ ง ประเภทของความเสี ย หายจากการชะล า งพั ง ทลาย ที่ สํ า รวจพบในพื้ น ที่ ภ าคเหนื อ ของประเทศไทย
(พื้น ที่ศึก ษา ไดแก สํา นัก ทางหลวงที่ 1 เชี ย งใหม สํา นั ก ทางหลวงที่ 2 แพร สํา นัก ทางหลวงที่ 4 พิษณุโลก และ
สํานักทางหลวงที่ 6 เพชรบูรณ)

บริเวณที่เกิด จํานวนกรณีศึกษา
การจัดแบงประเภทความเสียหาย ชนิดความเสียหาย
ความเสียหาย (คิดเปนรอยละ)
ลาดเหนือคันทาง 1. น้ํากัดเซาะบริเวณปลายเชิงลาดคันทาง 1. น้ํากัดเซาะบริเวณปลายเชิงลาดคันทาง (Erosion at Toe Slope) 20
(Back Slope) (Erosion at Toe Slope) (27%)
และ/หรือ 2. น้ํากัดเซาะผิวหนาเชิงลาดและไหลทางสาเหตุ 2. น้ํากัดเซาะบริเวณผิวหนา (Surface Erosion)
ลาดคันทาง จากน้ําผิวดินและน้ําทวมทาง (Erosion on 3. น้ําไหลทวมกัดเซาะลาดคันทาง 25
(Side Slope) Back Slope and Side Slope caused by (Erosion by Overflow from Back Slope or Flooding) (34%)
Surface Water and Overflow)
3. การเคลื่อนตัวของมวลดินเนื่องจากอิทธิพลของ 4. การเคลื่อนตัวของมวลดินหรือลาดคันทางที่มีสาเหตุมาจากน้ําใต
น้ํา และ/หรือ การขาดเสถียรภาพของเชิงลาด ดิน และ/หรือ น้ําผิวดิน (Groundwater and / or Surface
23
(Earth Slip caused by Water and/or Water)
(31%)
Unstable Slope) 5. การเคลื่อนตัวของมวลดินหรือลาดคันทางที่มีสาเหตุมาจากเชิง
ลาดขาดเสถียรภาพ (Earth Slip caused by Unstable Slope)
ตารางที่ 1.2-1 การจั ด แบ ง ประเภทของความเสี ย หายจากการชะล า งพั ง ทลาย ที่ สํ า รวจพบในพื้ น ที่ ภ าคเหนื อ ของประเทศไทย
(พื้น ที่ศึก ษา ไดแก สํา นัก ทางหลวงที่ 1 เชี ย งใหม สํา นั ก ทางหลวงที่ 2 แพร สํา นัก ทางหลวงที่ 4 พิษณุโลก และ
สํานักทางหลวงที่ 6 เพชรบูรณ) (ตอ)

บริเวณที่เกิดความ การจัดแบงประเภทความเสียหาย ชนิดความเสียหาย จํานวนกรณีศึกษา


เสียหาย (คิดเปนรอยละ)

ลาดเหนือคันทาง 4. หินรวงและเชิงลาดดิน-หินเคลื่อนตัว 6. หินเคลื่อนถลมเนื่องจากรอยแตกในมวลหิน (Wedge & Plane Slide)


(Back Slope) (Rock Fall and Rock Slide) 7. หินรวงจากลาดเหนือคันทางที่มีกอนหินฝงอยู (Boulder Rock Fall)
8. ดินปนหินเลื่อนไถลที่มีสาเหตุมาจากการกัดเซาะผิวหนาเชิงลาด 6
(Debris or Talus Flow Caused by Surface Erosion) (8%)
9. หินรวงจากลาดเหนือคันทางที่เปนชั้นดิน/หินผุวางสลับชั้นหินแข็ง
(Rock Fall caused by Soft and Hard Strata Interbeded)
รวม 74 (100%)
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)

รูปที่ 1.3-1 การจําแนกรูปแบบความเสียหายซึ่งเกิดจากการชะลางพังทลาย


ของลาดคันทางโดยวิธีสังเกตในสนาม
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)

รูปที่ 1.3-1 การจําแนกรูปแบบความเสียหายซึ่งเกิดจากการชะลางพังทลาย


ของลาดคันทางโดยวิธีสังเกตในสนาม (ตอ)
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)

บริเวณ “ลาดเหนือคันทาง” เกิดความเสียหาย

น้ํากัดเซาะ เชิงลาดเกิดการเคลื่อนตัว

ลาดเหนือคันทาง ไม
เปนภูเขาสูง
ใช
ไม ใช ผิวหนาเชิงลาดมีความชื้น ไม
มีรองรอยน้ําไหลผานบริเวณ หรือมีน้ําซึมออกมา
ผิวหนาเชิงลาดเมื่อฝนตก
ใช
ใช คันทางเกิดความเสียหายมีการปูดขึ้นหรือเคลื่อนตัว
เกิดการเคลื่อนตัวขณะฝนตก
ผิวหนาเชิงลาดเปนดินรวน ไม หรืออยูในชวงฤดูฝน
หรือหินที่มีการผุพังมาก ไม

ใช สังเกตบริเวณฐานเชิงลาดเปนไปตามขอหนึ่ง
ขอใดหรือมากกวาตอไปนี้
ผิวหนาเชิงลาดโดนน้ํากัดเซาะ 1. มีน้ําไหลบริเวณฐานเชิงลาด
ไมมีระบบปองกันผิวหนา เชน 2. ไมมีรางระบายน้ํา Side Ditch
การปลูกหญาหรือตาขายคลุม 3. ไมมีระบบปองกันบริเวณฐาน 4
4. บริเวณใกลเคียงไมมีทอลอด
5. บริเวณฐานเชิงลาดถูกกัดเซาะดวยน้ํา

2 1

ประเภทความเสียหาย
1. น้ํากัดเซาะบริเวณปลายเชิงลาดคันทาง
2. น้ํากัดเซาะบริเวณผิวหนา
4. การเคลื่อนตัวของมวลดินหรือลาดคันทางที่มีสาเหตุมาจากน้ําใตดิน และ/หรือ น้ําผิวดิน

รูปที่ 1.3-2 การจําแนกรูปแบบความเสียหายซึ่งเกิดจากการชะลางพังทลาย


ของลาดเหนือคันทางโดยวิธีสังเกตในสนาม (ตอ
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)

รูปที่ 1.3-2 การจําแนกรูปแบบความเสียหายซึ่งเกิดจากการชะลางพังทลาย


ของลาดเหนือคันทางโดยวิธีสังเกตในสนาม (ตอ)
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)

บทที่ 2 การสํารวจความเสียหายเชิงลาดกรณีไมมีการติดตั้งระบบปองกัน

2.1 จุดประสงคและลักษณะการเก็บขอมูลที่จําเปน

การชะลางพังทลายของเชิงลาดตามแนวเขตทางหลวงอาจเกิดขึ้นไดเสมอ
หากไมมีการติดตั้ง ระบบปอ งกัน ที่เ หมาะสม ทั้ง นี้อ าจมีสาเหตุ มาจากอิท ธิ พ ลของ
ลมฟ า อากาศที่ เ ปลี่ ย นแปลงเป น เวลานานจนเกิ ด การกั ด เซาะหรื อ ในกรณี ก าร
ตัด ถนนใหม แ ต ไ มไ ด มีก ารออกแบบและก อ สรา งระบบป อ งกั น เชิ ง ลาดไว เมื่ อ เกิ ด
ความเสียหาย เขต/แขวงการทาง ผูรับผิดชอบในพื้นที่จะตองรีบดําเนินการเขาสํารวจ
พื้นที่และอํานวยความสะดวกใหแกผูใชทาง สวนขอมูลการสํารวจภาคสนามจะตอง
เก็บบันทึกเพื่อนํามาจําแนกรูปแบบความเสียหายสําหรับเปนขอมูลในการออกแบบ
แกไขตอไป อยางไรก็ดี ทางหลวงเปนสิ่งกอสรางที่ตองผานไปในสภาพภูมิประเทศที่มี
ความแตกตางกัน ทั้งในเชิงธรณีวิทยาและอุทกวิทยา จึงเปนผลใหความเสียหายของ
เชิ ง ลาดและป ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น ในแต ล ะพื้ น ที่ มี ค วามแตกต า งกั น ได ใ นทางหลวง
สายเดียวกัน ในที่นี้เพื่อใหผูสํารวจสามารถคาดการณถึงสาเหตุและดําเนินการสํารวจ
ไดถูกตองจึงไดสรุปรูปแบบความเสียหายของเชิงลาดกรณีไมมีการติดตั้งระบบปองกัน
ไวดังแสดงในรูปที่ 2.1-1

การสํารวจเบื้องตนเพื่อจําแนกรูปแบบของความเสียหายจะตองใชวิธีการ
สังเกตในสนามเปนหลักซึ่งไดแสดงขั้นตอนการวิเคราะหสาเหตุความเสียหายไวใน
รู ป ที่ 1.3-1 และ รู ป ที่ 1.3-2 โดยแบ ง เป น ลาดคั น ทางและลาดเหนื อ คั น ทาง
ตามลําดับ ควบคูกับแบบฟอรมการสํารวจเชิงลาดดังแสดงตัวอยางการจดบันทึกขอมูล
ความเสียหายไวในตารางที่ 4.2-1 ถึงตารางที่ 4.2-4 สวนขอมูลพื้นฐานทั่วไปจะตอง
เก็ บ บั น ทึ ก จากภาคสนามเพื่ อ เป น ข อ มู ล ในการประเมิ น นํ า ไปสู ก ารพิ จ ารณาถึ ง
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
ความรุนแรง ความซับซอนของปญหา และใชสําหรับแบงหนาที่ความรับผิดชอบของ
ผูป ฏิ บั ติ ก ารระหว า งส ว นภู มิ ภ าคและสว นกลาง นอกจากนี้ ข อ มู ล สํ า รวจเบื้ อ งต น
ยั ง เป น ประโยชน ใ นการออกแบบแก ไ ขสํ า หรั บ กรณี ค วามเสี ย หายไม ซั บ ซ อ น
สําหรับขอมูลที่ตองเก็บจากภาคสนามไดสรุปไวในตารางที่ 2.1-1

รูปที่ 2.1-1 รูปแบบความเสียหายของเชิงลาดในกรณีไมมีการติดตั้ง


ระบบปองกัน
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
ตารางที่ 2.1-1 การสํารวจและเก็บขอมูลภาคสนามกรณีเชิงลาด
เกิดความเสียหาย

บริเวณที่เกิด งานสํารวจภาคสนาม ขอมูล (เพิ่มเติม)


ความเสียหาย ประกอบ
การวิเคราะห
ลาดคันทาง • สภาพภูมิประเทศ
และ/หรือ - สเก็ตภาพความเสียหาย วัดระยะ - แผนที่ภูมิประเทศ
ลาดเหนือคันทาง ตาง ๆ เชน ความกวาง ความสูง 1 : 50,000
มุมเอียง - แบบกอสรางทาง
- บันทึกสภาพแวดลอมโดยรวม เชน
แนวรองน้ํา ทิศทางการไหลของน้ํา
• ดานอุทกวิทยา
- ทิศทาง และความเร็วของการไหล - ขอมูลจาก
- ระดับน้ําสูงสุด ต่ําสุด ของลําน้ํา กรมอุตุนิยมวิทยา
ธรรมชาติ กองอุทกวิทยา
- สํารวจรองรอยการกัดเซาะของผิวทาง หรือ กรมชลประทาน
ในกรณีน้ําทวมทางหรือทิศทาง เชน ปริมาณน้าํ ฝน
Overflow ในพื้นที่ ขอมูลลุมน้ํา
- สเก็ตตําแหนงของคุงน้ําที่มีความเสี่ยง ระดับน้ําสูงสุด -
ตอการกัดเซาะ ต่ําสุด
- สังเกตชนิดและขนาดของตะกอนทอง
น้ําวาเปนดินตะกอนหรือหินซึ่งบงบอก
ถึงความเร็วในการไหลของน้ําได
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
ตารางที่ 2.1-1 การสํารวจและเก็บขอมูลภาคสนามกรณีเชิงลาด
เกิดความเสียหาย (ตอ)

บริเวณที่เกิด งานสํารวจภาคสนาม ขอมูล (เพิ่มเติม)


ความเสียหาย ประกอบ
การวิเคราะห
ลาดคันทาง • ดานธรณีวิทยา
และ/หรือ - การจําแนกชนิดของดิน / หิน - แผนที่ทางธรณีวิทยา
ลาดเหนือคันทาง ในสนามประเมินอยางคราว ๆ - ขอมูลการจําแนก
มีการกัดเซาะ ไดงายหรือไม ดิน/หิน ในสนาม
• ความเสียหายของคันทาง / ผิวทาง - รูปถายและ
- วัดขนาดรอยแตกแยกของผิวทาง ภาพสเก็ต
- วัดระยะ ความกวาง ยาว
ของความเสียหายบริเวณผิวทาง
- ตรวจสอบการไหลของน้ําทั้งน้ําผิว
ดินไหลขามทางและน้ําซึมลอดใต
คันทาง (Seepage)
- ตรวจสอบบริเวณผิวจราจรที่ไดรับ
ความเสียหายหรือเกิด Soft Spot
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
ตารางที่ 2.1-1 การสํารวจและเก็บขอมูลภาคสนามกรณีเชิงลาด
เกิดความเสียหาย (ตอ)

บริเวณที่เกิด งานสํารวจภาคสนาม ขอมูล (เพิ่มเติม)


ความเสียหาย ประกอบ
การวิเคราะห
• ตรวจสอบระบบระบายน้ําผิวดินเดิม - รูปถายและ
- ตรวจสอบคันบังคับน้ํา (Curb) ภาพสเก็ต
- ตรวจสอบ Interceptor Ditch,
Drain Chute และ Side Ditch
วัดขนาด สํารวจการอุดตัน
- ตรวจสอบตําแหนงทอลอดตาง ๆ
พรอมวัดขนาด และจดบันทึก
• ลักษณะทางเรขาคณิตของคันทาง - แบบกอสรางทาง
- สเก็ตรูปตัดตามขวางของคันทาง
บันทึกระยะตาง ๆ จํานวนและ
ความกวางของชองจราจร ไหลทาง
ความสูง และความชันของคันทาง
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
ตารางที่ 2.1-1 การสํารวจและเก็บขอมูลภาคสนามกรณีเชิงลาด
เกิดความเสียหาย (ตอ)

บริเวณที่เกิด งานสํารวจภาคสนาม ขอมูล (เพิ่มเติม)


ความเสียหาย ประกอบ
การวิเคราะห
ลาดเหนือคันทาง • ตรวจสอบทั่วไป - รูปถาย
(ตรวจสอบ - ตรวจสอบหินหรือดินปนหินที่ - ตัวอยางดิน/หิน
เพิ่มเติมกรณี รวงหลนมาในผิวจราจรและรีบ
หินรวง) ยายออก
- ตรวจสอบผิวหนาเชิงลาดยังมีหิน
คางอยูและมีโอกาสรวงหลน
หรือไม หากมี ควรมีปายเตือน
และจัดการนําหินที่มีความเสี่ยงตอ
การรวงหลน ออกจากพื้นที่
• ดานธรณีวิทยา
- ตรวจสภาพและปริมาณของ
รอยแตก
- ทิศทางการเอียงของชั้นหิน
- ความตอเนื่องของชั้นหิน
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)

บทที่ 3 การสํารวจความเสียหายเชิงลาดกรณีมีการติดตั้งระบบปองกัน

3.1 น้ํากัดเซาะบริเวณปลายเชิงลาดคันทาง

ความเสียหายประเภทน้ํากัดเซาะบริเวณปลายเชิงลาดคันทาง (Erosion at
Toe Slope) สวนใหญมีสาเหตุมาจากลําน้ําขางทางที่มีอัตราการไหลเร็วกัดเซาะ
บริเวณปลายเชิงลาดคันทางและกัดเซาะอยางรุนแรงในฤดูน้ําหลาก โดยเฉพาะบริเวณ
คุงน้ําที่มีทิศทางการไหลเขาปะทะคันทาง หากระบบการปองกันการกัดเซาะที่ติดตั้งไว
ไมดีหรือขาดการดูแลบํารุงรักษาในบริเวณดังกลาว การกัดเซาะจะลุกลามเขามาถึง
เขตทางทํา ใหคั น ทางไดรั บ ความเสีย หายจนถึง ช อ งจราจร ลั ก ษณะความเสีย หาย
ที่เกิดกับเชิงลาดดังกลาวไดแสดงไวในรูปที่ 3.1-1

รูปที่ 3.1-1 รูปแบบความเสียหายที่มีสาเหตุมาจากน้ํากัดเซาะบริเวณ


ปลายเชิงลาดคันทาง

จากการเก็บรวบรวมขอมูลสามารถสรุปไดวา ปญหาในลักษณะนี้พบมาก
ในเขตพื้ น ที่ สน.ทล. 2 ของถนนเลี ย บลํ า น้ํ า ในเขตจั ง หวั ด แพร ลั ก ษณะของ
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
ความเสียหายคอนขางรุนแรง แนวกําแพง Gabion เกิดการทรุดตัวและพลิกคว่ํา โดยมี
สาเหตุมาจากสภาพภูมิประเทศ การใชรูปแบบการปองกันที่ไมเหมาะสม การเลือกใช
วัสดุถมบดอัด และขาดการควบคุมงานที่ดี

จุดประสงคของการสํารวจ

เพื่อตรวจสอบสภาพความเสียหายของคันทางที่เกิดขึ้นจากการกัดเซาะของ
ลําน้ําบริเวณปลายเชิงลาดคันทาง สํารวจระบบปองกันการกัดเซาะที่มีการติดตั้งมีอยู
ในปจจุบัน วาเกิดความเสียหายหรือไมอ ยางไร เพื่อใชเปน มูลและดํา เนิน การแกไ ข
ได อ ย า งถู ก ต อ งและทั น ท ว งที ข อ มู ล สํ า รวจเบื้ อ งต น นี้ ส ามารถใช เ ป น แนวทาง
ในการออกแบบแกไขหรือปรับปรุงระบบปองกันตอไป

การสํ า รวจความเสี ย หายเนื่ อ งจาก น้ํ า กั ด เซาะบริ เ วณปลายเชิ ง ลาด


คันทาง มีขอพิจารณาดังตอไปนี้

- ตรวจสอบระบบปอ งกัน การกัด เซาะที่มีอ ยู เชน โครงสรา ง Gabion,


Matress, Concrete Lining และ Mortar Riprap เปนตน
- สํ า รวจด า นอุ ท กวิ ท ยา เช น ทิ ศ ทางการไหลของน้ํ า ความเร็ ว ของ
กระแสน้ํา ระดับน้ําสูงสุด/ต่ําสุด
- สํ า รวจภู มิ ป ระเทศและพื้ น ที่ ข า งเคี ย งเพื่ อ ตรวจสอบว า สามารถ
เปลี่ยนทิศทางการไหลของทางน้ําไดหรือไม
- สํ า รวจความเสี ย หายต อ ผิ ว จราจรเพื่ อ ตรวจสอบการเคลื่ อ นตั ว
ของมวลดินดานลาดคันทางอันเปนผลมาจากการกัดเซาะ
- สํารวจจุดระบายน้ําดานลาดคันทาง มีการปองกันการกัดเซาะหรือไม
- สํารวจการกัดเซาะบริเวณทายน้ําของทอลอด
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
สําหรับจุดตรวจสอบที่สําคัญไดแสดงไวในรูปที่ 3.1-2

Drain Chute:
สํารวจการอุดตันและ
ขนาดความกวาง
Interceptor Ditch:
สํารวจการอุดตันและ
ขนาดความกวาง
Gabion:
สํารวจการจัดเรียง ขนาด
การทรุดตัว/เอียงตัว พรอมทัง้
สเก็ตรูปแบบ
สํารวจความเสียหายของผิวจราจร
แนวการยุบตัว ความกวาง หรือรอยแตก

Side Ditch:
สํารวจการอุดตันและขนาดความกวาง

รูปที่ 3.1-2 จุดแนะนําในการตรวจสอบความเสียหายในสนามประเภท


น้ํากัดเซาะบริเวณปลายเชิงลาดคันทาง
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)

สํารวจความลาดชันของพืน้ ที่และรองเขาในบริเวณที่เสียหาย

Culvert:
สํารวจการอุดตัน/ตกตะกอนภายใน
และการกัดเซาะบริเวณทางเขาออกของน้ํา

Stream:
สํารวจความเร็ว ทิศทางการไหล
และระดับน้ํา สูงสุด - ต่ําสุด

รูปที่ 3.1-2 จุดแนะนําในการตรวจสอบความเสียหายในสนามประเภท


น้ํากัดเซาะบริเวณปลายเชิงลาดคันทาง (ตอ)
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
3.1.1 การสํารวจน้ํากัดเซาะบริเวณปลายเชิงลาดคันทาง

1 สํารวจระบบปองกันการกัดเซาะที่ติดตั้งในปจจุบัน
Gabion, Mattress, คอนกรีตดาด หรือ หินเรียง

• วัดขนาดและสเก็ตภาพแบบแปลนและ • ตรวจสอบการพลิกคว่ําและการทรุดตัวของ
รูปตัดของโครงสราง โครงสราง

• สํารวจการแตกราวหรือทรุดตัวของ • ตรวจสอบสภาพการใชงานของลวดตาขาย
คอนกรีตดาด Gabion
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
• ตรวจสอบการทรุดตัวของ Gabion • ตรวจสอบชนิดของวัสดุถมหลังกําแพง

2 การสํารวจดานอุทกวิทยาในสนาม

• สํารวจความกวางของลําน้ํา • สํารวจทิศทางการไหลของน้ํา คุงน้ํา


(อาจใชการประมาณดวยสายตา) ตําแหนงการกัดเซาะเดิม

• สํารวจระดับน้ําต่ําสุด สูงสุด • ตรวจความเร็วกระแสน้ํา สังเกตจุดที่มีน้ํา


หมุนวน และสิ่งกีดขวางลําน้ําที่กอใหเกิดน้ํา
หมุนวน
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
• ตรวจสอบแหลงวัสดุที่พบในลําน้ํา เชน กรวด ทราย หินขนาดใหญในลําน้าํ แสดงใหเห็นวา
กระแสน้ํามีความรุนแรง

3 ดานภูมิประเทศ (สภาพแวดลอมขางเคียง)

• พิจารณาสภาพแวดลอม โดยรวม • การสํารวจเบื้องตนอาจใชการวัดระยะ


จากจุดเสียหายรัศมีอยางนอย 5 กม. หรือขนาดของความเสียหาย เพื่อเปน
ขอมูลเบื้องตน
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
• การวัดมุมความลาดชันเชิงลาดโดยใชเข็มทิศ
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
3.2 น้ํากัดเซาะผิวหนาเชิงลาดและไหลทางสาเหตุจากน้ําผิวดินและน้ําทวมทาง

ความเสี ย หายประเภทน้ํ า ผิ ว ดิ น กั ด เซาะผิ ว หน า เชิ ง ลาดและไหล ท าง


(Surface Erosion and Overflow) สวนใหญมีสาเหตุหลักมาจากการไหลบาของ
น้ํ า จากที่ สู ง ประกอบกั บ ฝนตกโดยเฉพาะในช ว งฤดู น้ํ า หลาก การกั ด เซาะอาจ
เกิดขึ้นไดตั้งแตบริเวณยอดของเชิงลาดและเกิดการสะสมตัวจนมาถึงบริเวณเชิงลาด
หากระบบการป อ งกั น การกั ด เซาะและระบบระบายน้ํ า ผิ ว ดิ น ไม มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
การกั ด เซาะความเสี ย หายอาจลุ ก ลามเข า มาถึ ง เขตทางและทํ า ให คั น ทางได รั บ
ความเสียหายได รูปแบบการกัดเซาะที่เกิดกับเชิงลาดไดแสดงไวในรูปที่ 3.2-1

รูปที่ 3.2-1 รูปแบบความเสียหายที่มีสาเหตุมาจากน้ํากัดเซาะผิวหนาเชิงลาด


และไหลทาง

ปญหาในลักษณะนี้พบไดในทุกเขตพื้นที่การศึกษาและเปนปญหาตอเชิงลาด
มากที่สุด สาเหตุ ห ลักคือ ขาดการปอ งกัน ในรูป แบบที่เ หมาะสม การไมดูแ ลรักษา
พื ช คลุ ม ดิ น และระบบระบายน้ํ า ที่ ดี ตลอดจนจํ า นวนระบบระบายน้ํ า ผิ ว ดิ น
ไมสอดคลองกับปริมาณการไหลในพื้นที่เหลานี้ลวนมีสวนสําคัญตอปญหาดังกลาว
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
จุดประสงคของการสํารวจ

เพื่ อ ตรวจสอบสภาพความเสี ย หายของคั น ทางที่ เ กิ ด ขึ้น จากการกั ด เซาะ


ผิวหนาเชิงลาดและไหลทาง สํารวจระบบปองกันการกัดเซาะที่มีการติดตั้งในปจจุบัน
วาเกิดความเสียหายหรือไมอยางไร เพื่อใชเปนขอมูลและดําเนินการแกไขไดอยาง
ถูกตองและทันทวงที ขอมูลสํารวจเบื้องตนนี้สามารถใชเปนแนวทางในการออกแบบ
แกไข วางแผนการจราจรขณะซอมแซมเชิงลาดหรือปรับปรุงระบบปองกันตอไป

การสํ า รวจความเสี ย หายเนื่ อ งจาก น้ํ า กั ด เซาะผิ ว หน า เชิ ง ลาดและ


ไหลทางสาเหตุจากน้ําผิวดินและน้ําทวมทาง มีขอพิจารณาดังตอไปนี้

- สํารวจดานธรณีวิทยา อุทกวิทยา และภูมิประเทศ


- งานตรวจสอบรางระบายน้ําและทอลอด
- งานตรวจสอบระบบปองกันการกัดเซาะผิวหนาเชิงลาด
- งานตรวจสอบความเสียหายของผิวจราจรและคันบังคับน้ํา

สําหรับจุดตรวจสอบที่สําคัญไดแสดงไวในรูปที่ 3.2-2
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)

Interceptor Ditch:
สํารวจการอุดตันและขนาดความกวาง

Side Ditch:
สํารวจการอุดตันและขนาดความกวาง

Culvert:
สํารวจการอุดตัน/ตกตะกอนภายใน การ
กัดเซาะบริเวณทางเขาออกของน้ํา

รูปที่ 3.2-2 จุดแนะนําในการตรวจสอบความเสียหายในสนามประเภท


น้ํากัดเซาะผิวหนาเชิงลาดและไหลทางสาเหตุจากน้ําผิวดิน
และน้ําทวมทาง
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)

สํารวจความลาดชันของพืน้ ที่
และรองเขาในบริเวณที่เสียหาย

Concrete Barrier Curb: ตรวจสอบ


ระบบควบคุมการไหลของน้ําและ
จํานวนชองเปด

สํารวจปริมาณและทิศทางการไหลของน้ําผิวดิน

ตรวจสอบระบบปองกันผิวหนา
เชน หญาแฝก

รูปที่ 3.2-2 จุดแนะนําในการตรวจสอบความเสียหายในสนามประเภท


น้ํากัดเซาะผิวหนาเชิงลาดและไหลทางสาเหตุจากน้ําผิวดิน
และน้ําทวมทาง (ตอ)
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
3.2.1 การสํารวจน้ํากัดเซาะผิวหนาเชิงลาดและไหลทางสาเหตุจากน้ําผิวดิน
และน้ําทวมทาง

1 งานสํารวจดานธรณีวิทยา อุทกวิทยา และภูมิประเทศ

• สํารวจปริมาณและทิศทางไหลของน้ําผิว • สํารวจหาชนิดของดิน / หิน และคุณสมบัติ


ดิน น้ําบนผิวจราจร ตรวจหาขอมูลปริมาณ เบื้องตน
น้ําฝนในพื้นที่

• พิจารณาสภาพแวดลอมโดยรวม เชน • วัดความลาดชันของลาดคันทางและ


แนวรองน้ํา ทิศทางการไหลของน้ําผิวดิน ลาดเหนือคันทาง
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)

2 งานตรวจสอบระบบรางระบายน้ําผิวดิน

• ตรวจสอบขนาดของรางระบายน้ํา • ตรวจสอบตําแหนงของรางระบายน้ํา

• ตรวจสอบการเชื่อมตอของระบบ • ตรวจสอบตะกอนการอุดตันใน
รางระบายน้ําผิวดิน รางระบายน้ํา

• ตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบ Lining • ตรวจสอบระยะหางจาก Top Slope


ตรวจสอบขนาดรางระบาย Crest Ditch
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
• ตรวจสอบการกัดเซาะดานขาง • ตรวจสอบระบบชะลอน้ํา Check Ditch
Drain Chute

• ตรวจสอบตําแหนงจุดปลอยน้ํา (Apron) • ตรวจสอบทิศทางการวางแนวของ


Drain Chute ขวางทางน้ําหรือไม

• ตรวจสอบตะกอนเพราะโอกาส • ตรวจสอบความเหมาะสมของระบบชะลอ
การสะสมตะกอนเกิดไดงาย น้ําของ Side Ditch ตรวจสอบตําแหนง
และจํานวนของ Manhole
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
• ตรวจสอบตะกอนใน Side Ditch ที่อาจ • ตรวจสอบระบบ Lining / การซึมผาน
ทําใหเกิดน้ําไหลขามคันทาง ใตคันทาง

3 งานตรวจสอบระบบปองกันผิวหนาเชิงลาดและบริเวณใกลเคียงอื่น ๆ

• ประเมินความเหมาะสมของพืชคลุมดิน • ตรวจสอบวัสดุคลุมดิน (Plastic Net หรือ


ที่ปลูก ไดผลหรือไม หากไมไดผล Geonet) เชน มีการฉีกขาด หรือระยะหาง
ควรพิจารณาสาเหตุความเสียหาย ของหมุดยึดมีความเหมาะสมหรือไม

• ตรวจสอบสภาพโดยรวมของพื้นที่เสียหายมีการปองกันที่ครอบคลุมพื้นที่เสียหายหรือไม
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)

งานตรวจสอบความเสียหายผิวทาง ระบบบังคับทิศทางการไหลของน้ํา (Curb)


4
และระบบระบายน้ําบริเวณ Culvert

• สํารวจและตรวจวัดขนาดพื้นที่ที่ไดรับ • สํารวจรอยแตก การเคลื่อนตัว


ความเสียหายจากการกัดเซาะ และการทรุดตัวของคันทาง

• สํารวจลักษณะความเสียหายของผิวทาง • ตรวจสอบ Curb วาสามารถบังคับน้ํา


มาสู Drain Chute ไดหรือไม
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
• ระบบ Concrete Barrier มีจํานวนชอง • ตรวจสอบขนาดทอลอด
เปดใหน้ําไหลไปสู Side Slope เพียงพอ
หรือไม

• ตรวจสอบตําแหนงและจํานวนชองเปด • ตรวจสอบตะกอนในทอและการอุดตัน
มีความเหมาะสมหรือไม ภายใน
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
3.3 การเคลื่อนตัวของมวลดินเนื่องจากอิทธิพลของน้ํา และ/หรือ
การขาดเสถียรภาพของเชิงลาด

การเคลื่อนตัวของมวลดินดานลาดเหนือคันทางและลาดคันทางในกรณีนี้
มีสาเหตุมาจากน้ํา เปน หลัก โดยเมื่อ เกิดฝนตกและน้ํา ซึมผานลงใตผิว ดิ นจะทํา ให
มวลดินนั้นมีกําลังตานทานลดลงและเปนการเพิ่มน้ําหนักในมวลดินจนขาดเสถียรภาพ
สงผลใหเชิงลาดเกิดการเคลื่อนตัวและทําใหเขตทางเกิดความเสียหายไดอยางมาก
รูปแบบการเคลื่อนตัวเนื่องจากน้ําบนเชิงลาดไดแสดงไวในรูปที่ 3.3-1 นอกจากนี้
จากการสํารวจและวิเคราะหขอมูลภาคสนามในพื้นที่ศึกษา ยังพบวาดินถมคันทางที่มี
ความชั น ด า นข า งมากเกิ น ไป การเลื อ กใช วั ส ดุ และกรรมวิ ธี ก ารก อ สร า งไม ดี พ อ
จะส ง ผลให เ กิ ด การเคลื่ อ นตั ว ภายในคั น ทางเองหรื อ ในขณะที่ ก ารถมสู ง จะก อ ให
เกิดหนวยแรงกดทับมากกวาความสามารถ ในการรับน้ําหนักของดินฐานรากซึ่งมีคาต่ํา
เชน ดิ นเหนี ยวออนจนเกิดเปนการเคลื่อนตัวของมวลดินและการทรุดตัวหรือมีทั้ง
2 ลักษณะรวมกัน

รูปที่ 3.3-1 รูปแบบความเสียหายที่มีสาเหตุมาจากการเคลื่อนตัวของมวลดิน


เนื่องจากอิทธิพลของน้ํา และ/หรือ การขาดเสถียรภาพของเชิงลาด

ปญหาในลักษณะนี้สามารถพบไดในทุกพื้นที่และเปนปญหาตอเสถียรภาพ
เชิ ง ลาดที่ มี ค วามรุ น แรงและมี ค า ใช จ า ยในการซ อ มแซมสู ง เนื่ อ งจากการวิ บั ติ
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
อาจเกิดขึ้นเปนบริเวณกวางและพบมากในชวงฤดูน้ําหลากเชนเดียวกับกรณีอื่น ๆ
จากการเก็บรวบรวมขอมูลสามารถสรุปไดวาการปองกันเชิงลาดดวยวิธีลดความชัน
การลดระดั บ น้ํ า ภายในเชิง ลาด การเสริม แรงให มวลดิ น หรือ หิน ด ว ยวัส ดุเ สริ ม แรง
ตา ง ๆ สามารถเพิ่ ม เสถี ย รภาพใหกั บ เชิง ลาดได เปน อย า งดี อยา งไรก็ ต าม มั กพบ
เสมอวาเชิงลาดที่ไดรับการซอมแซมแลวยังมีโอกาสเสียหายไดอีก ทั้งนี้อาจมีสาเหตุ
มาจากการควบคุ ม งานก อ สร า งไม เ ป น ไปตามมาตรฐานหรื อ หลั ก วิ ช าการและ
ความซับซอนของลักษณะทางธรณีวิทยาในพื้นที่

จุดประสงคของการสํารวจ

เพื่อตรวจสอบสภาพความเสียหายของเขตทางที่เกิดขึ้นจากน้ํา และ/หรือ
การขาดเสถียรภาพของเชิงลาด สํารวจระบบการเสริมแรงในเชิงลาดในปจจุบันวา
เกิ ด ความเสี ย หายหรื อ ไม อ ย า งไรและมี ค วามเหมาะสมกั บ สภาพพื้ น ที่ ห รื อ ไม
เพื่อใชเปนขอมูลสําหรับดําเนินการแกไขไดอยางถูกตองและทันทวงที ขอมูลสํารวจ
เบื้ อ งต น นี้ ส ามารถใช เ ป น แนวทางในการออกแบบแก ไ ข วางแผนการจราจรขณะ
ซอมแซมเชิงลาด หรือปรับปรุงระบบปองกันตอไป

การสํารวจความเสียหายประเภทการเคลื่อ นตัวของมวลดิ นเนื่องจาก


อิ ท ธิ พ ลของน้ํ า และ /หรื อ การขาดเสถี ย รภาพของเชิ ง ลาด มี ข อ พิ จ ารณา
ดังตอไปนี้

- ตรวจสอบปริมาณเศษวัสดุที่รวงไหลมากีดขวางการจราจร
- สํารวจดานธรณีวิทยา อุทกวิทยา และภูมิประเทศ
- ตรวจสอบระบบระบายน้ําผิวดินและใตดิน
- ตรวจสอบความเสียหายของคันทาง/ผิวทาง
- ตรวจสอบระบบการเสริมกําลังของเชิงลาด
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
สําหรับจุดตรวจสอบที่สําคัญไดแสดงไวในรูปที่ 3.3-2

Crest Ditch:
สํารวจการอุดตันและน้ําขัง

Interceptor Ditch:
สํารวจการอุดตันและขนาดความกวาง

Side Ditch:
สํารวจการอุดตันและขนาดความกวาง

Horizontal Drain: สํารวจน้ําใตดนิ ลอดใตคันทาง


สํารวจการอุดตัน สํารวจความเสียหายของคันทาง/ผิวทาง

รูปที่ 3.3-2 จุดแนะนําในการตรวจสอบความเสียหายในสนามประเภท


การเคลื่อนตัวของมวลดินเนื่องจากอิทธิพลของน้ํา และ/หรือ
การขาดเสถียรภาพของเชิงลาด
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)

สํารวจรองน้ําธรรมชาติ

สํารวจน้ํากัดเซาะบริเวณ
ิ 
สํารวจบริเวณเชิงลาดที่ชุมน้ํา

รูปที่ 3.3-2 จุดแนะนําในการตรวจสอบความเสียหายในสนามประเภท


การเคลื่อนตัวของมวลดินเนื่องจากอิทธิพลของน้ํา และ/หรือ
การขาดเสถียรภาพของเชิงลาด (ตอ)
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
3.3.1 การสํารวจการเคลื่อนตัวของมวลดินเนื่องจากอิทธิพลของน้ํา และ/หรือ
การขาดเสถียรภาพของเชิงลาด

1 งานตรวจสอบผลกระทบตอการจราจร

• ตรวจสอบปริมาณเศษวัสดุที่รวงไหลมากีดขวางการจราจร

• จัดทําปายเตือนแกผูใชทาง • ดิน/หินเคลื่อนตัวเขามาในบริเวณถนน
เปนจํานวนมาก
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)

2 งานสํารวจดานธรณีวิทยา อุทกวิทยา และภูมิประเทศ

• ตรวจหาชนิดของดิน / หิน ในบริเวณที่เสียหาย • สํารวจปริมาณและทิศทางไหลของน้ําผิวดิน

• พิจารณาสภาพแวดลอมโดยรวม เชน • สํารวจเชิงเรขาคณิต


แนวรองน้ํา ทิศทางการไหลของน้ําผิวดิน ปาไม
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)

3 งานตรวจสอบระบบระบายน้ําผิวดิน และใตดิน

• สํารวจความเสียหายของระบบระบาย • ตรวจสอบ Side Ditch เชน การอุดตัน


น้ําผิวดิน ระบบรางระบายน้ํา

• สํารวจระบบควบคุมการไหลของน้ํา เชน • ตรวจสอบลําน้ําขางทาง มีการกัดเซาะ


Barrier ทําใหเกิดการเคลื่อนตัวหรือไม
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
• ตรวจสอบระบบปองกันการชะลางผิวหนา • สํารวจการทํางานโดยรวมของ Subdrain
เชน หญาแฝก ถั่วบราซิล Plastic Net ตรวจสอบวัชพืช (มีการตัดหญาหรือไม)
และ Geonet เปนตน ประเมินชนิด/คุณสมบัติของวัสดุที่ใช
กอสราง Subdrain

• สํารวจประสิทธิภาพโดยรวม • ตําแหนง/จํานวน/ความยาว/ขนาดของทอ
และ วัสดุกรอง

• สํารวจการอุดตัน • สํารวจการกีดขวางระบบระบายน้ํา
จากวัชพืช
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
• ระบบระบายน้ําใตดินสามารถนําน้ํามาสู • ระบบระบายน้ําใตดินไมสามารถนําน้ํา
รางระบายน้ําไดดี มาสูรางระบายน้ําไดทําใหเกิดการกัดเซาะ

• ขาดระบบควบคุมการไหลและ • ขนาดรางระบายน้ําไมเหมาะสมสราง
Drain Chute ความเสียหายใหกับผิวหนาเชิงลาด

4 งานตรวจสอบความเสียหายของคันทาง / ผิวทาง
• สังเกตน้ําใตดินจากผิวทางซึ่งมีน้ําซึม • วัดขนาดพื้นที่เสียหาย
ออกมา
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
• ตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบกําแพงกันดินของลาดคันทาง

5 งานตรวจสอบระบบการเสริมกําลังของเชิงลาด (Slope Reinforcement)

• สํารวจสภาพโครงสรางและพื้นที่กอสราง • ตรวจสอบหมุดยึด
โดยรวมของระบบเสริมกําลังเชิงลาด

• ตรวจสอบระบบปองกันผิวหนา (ถามี) เชน • สํารวจสภาพโดยรวมของระบบ


การปลูกหญา
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
• ตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรงของวัสดุเสริม • สํารวจการเกิดปูดตัวบริเวณปลายของ
กําลังเชิงลาด เชิงลาด

• การเคลื่อนตัวในแนวราบ (Sliding)

แนวการเคลื่อนตัว

• การทรุดตัวของดินฐานราก (Bearing Capacity)

สังเกตเห็นแนวการทรุดตัว
ที่ฐานรากเปนแนวโคง
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)

• การลมคว่ํา (Overturning)

• การเคลื่อนตัวแบบสวนโคงวงกลม (Circular Slip)


แนวคันทางกอนเกิด
การเคลื่อนตัว

แนวการเคลื่อนตัว

• สังเกตระบบปองกันผิวหนาเชิงลาด เชน • การตัดถางวัชพืช


การปลูกหญา การใชวัสดุคลุมดิน
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
3.4 หินรวงและเชิงลาดดิน-หินเคลื่อนตัว

หินรวงและเชิงลาดดิน-หิน เคลื่อนตัว เปน รูปแบบความเสียหายที่เกิดกับ


เชิงลาดที่มีสาเหตุจากปจจัยหลายประการ เชน สภาพทางธรณีวิทยาและธรณีวิทยา
โครงสร า งของพื้ น ที่ ลั ก ษณะรูป รา งของเชิ ง ลาดและสภาพทางอุท กวิ ท ยา เป น ต น
ลักษณะความเสียหายที่พบสามารถแบงออกไดเปน 4 รูปแบบ ดังแสดงในรูปที่ 3.4-1

(ก) หินเคลื่อนถลมเนื่องจาก (ข) ดินปนหินเคลื่อนถลม


รอยแตกในมวลหิน

(ค) หินรวงจากดินตัดที่มี (ง) หินรวงจากเชิงลาดแบบ


กอนหินฝงอยู หินแข็งวางสลับหินผุ

รูปที่ 3.4-1 รูปแบบความเสียหายที่มีสาเหตุมาจากหินรวงและเชิงลาดดิน-หิน


เคลื่อนตัว
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
จากการเก็ บ รวบรวมข อ มู ล สามารถสรุ ป ได ว า ป ญ หาในลั ก ษณะนี้
มั ก สร า งป ญ หาด า นการกี ด ขวางการจราจรและก อ ให เ กิ ด อั น ตรายต อ ผู ใ ช ถ นน
เปนอยางยิ่ง ทั้งนี้เปนเพราะมวลหินเปนกอนวัสดุขนาดใหญและมีความแข็งมากกวา
มวลดินทั่วไปจึงไมเกิดการแยกตัวเปนมวลขนาดเล็ก เมื่อเกิดการรวงหลนจากที่สูง
จึงทําใหมีคาพลังงานจลนมากเปนผลใหสามารถกลิ้งมาขวางทางจราจรได การปองกัน
ในกรณีนี้สามารถทําไดหลายรูปแบบ เชน การออกแบบตาขายปองกันหิน รวงหรือ
ออกแบบเชิงลาดใหมีมุมลาดนอย เปนตน

จุดประสงคของการสํารวจ

เพื่ อ ตรวจสอบสภาพความเสี ย หายของเขตทางที่ เ กิ ด ขึ้ น จากหิ น ร ว งและ


ดิน – หิน เคลื่อนตัว สํารวจระบบปองกันหินรวงในปจจุบันวาเกิดความเสียหายหรือไม
อย า งไร เพื่ อ ใช เ ป น ข อ มู ล และดํ า เนิ น การแก ไ ขได อ ย า งถู ก ต อ งและทั น ท ว งที
ขอ มูลสํา รวจเบื้อ งต น นี้ สามารถใชเปน แนวทางในการออกแบบแกไ ขหรือ ปรับ ปรุง
ระบบปองกันตอไป

การสํารวจความเสียหายเนื่องจาก หินรวงและเชิงลาดดิน-หิน เคลื่อนตัว


มีขอพิจารณาดังตอไปนี้

- สํารวจระบบปองกันหินรวงที่มีอยู
- สํารวจความเสียหายที่มีผลตอการจราจร ขนาดความเสียหาย
- สํารวจสภาพทางธรณีวิทยา
- สํารวจดานอุทกวิทยา
- สํารวจภูมิประเทศ
- สํารวจลักษณะรูปทรงเรขาคณิตของเชิงลาด
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
สําหรับจุดตรวจสอบที่สําคัญไดแสดงไวในรูปที่ 3.4-2

สํารวจความลาดชันของพืน้ ที่

สํารวจสภาพการใชงานระบบปองกันหินรวง เชน
Rockfall Netting หรือ Shotcrete

รูปที่ 3.4-2 จุดแนะนําในการตรวจสอบความเสียหายประเภทหินรวง


และเชิงลาดดิน-หิน เคลือ่ นตัว
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)

สํารวจการอุดตันของ Horizontal

สํารวจขนาดพื้นที่เสียหาย ปริมาตรมวลหินที่พงั ทลาย


ระยะหินทีร่ วงเขามาในผิวจราจร

รูปที่ 3.4-2 จุดแนะนําในการตรวจสอบความเสียหายประเภทหินรวง


และเชิงลาดดิน-หิน เคลือ่ นตัว (ตอ)
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
3.4.1 การสํารวจหินรวงและเชิงลาดดิน-หินเคลื่อนตัว

1 สํารวจระบบปองกันหินรวงที่ติดตั้งอยูในปจจุบัน

• ตรวจดูสภาพการใชงานทั่วไปของตาขาย • ตรวจสอบการทํางานหมุดยึดตาขาย เชน


หากพบรอยการฉีกขาดหรือหลุดจะตอง ทดลองดึงดวยมือเปลา
บันทึก

• สํารวจบริเวณหินทีร่ วงลงมา • ตรวจสอบและบันทึกขนาดของกําแพง


หินเรียง และสภาพการใชงานในปจจุบัน
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
• สํารวจสภาพโดยทั่วไปของคอนกรีตดาด • สํารวจสภาพของระบบระบายน้ําใตดิน
บันทึกตําแหนงรอยแตกราว รอยแยก ตรวจสอบการอุดตัน

2 สํารวจความเสียหายที่มีผลตอการจราจร ขนาดความเสียหาย
• เมื่อพบความเสียหายตองวัดขนาดขอบเขต • สํารวจแนวโนมของหินดานบนที่จะรวง
ความเสียหาย ในอนาคตเขามาในเขตทาง

• สํารวจมีหินรวงในเขตทางหรือไม หากมี • จัดทําสัญญาณเตือนใหกับผูใชถนน


ใหรีบติดตั้ง ปายเตือน ระมัดระวัง
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
• ตรวจวัดขนาดของความเสียหายที่จะมี • บันทึกแนวการวางตัวของชั้นหินที่มีโอกาส
ผลกระทบตอผิวการจราจร พรอมทํา รวงหลนเขามาในถนน
สัญญาณเตือน

• บันทึกชนิดของหิน ระดับความผุกรอน รูปรางของกอนหินที่รวงหลน

3 สํารวจสภาพทางธรณีวิทยา
• ศึกษาแผนที่ทางธรณีวิทยาของพื้นที่ทเี่ กิด • สํารวจภาคสนามเพื่อตรวจดูชนิดหินหรือ
ความเสียหาย ดินที่รวงหลนหรือเคลื่อนถลมลงมา
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)
• วัดมุมเทหนาเชิงลาด และชั้นหินโดยใช • ประเมินรูปแบบการวางตัวของชั้นหิน
เข็มทิศโดยเฉพาะบริเวณที่มีแนวโนม พิจารณาความเสี่ยงตอการรวงหลน
เกิดการเคลื่อนตัว จะมีขึ้นอีกหรือไม

4 สํารวจดานอุทกวิทยา

• สํารวจการกัดเซาะของน้ําที่อาจสงผล • สํารวจประสิทธิภาพของระบบระบายน้ํา
กระทบตอการรวงหลนของหิน ตรวจดูรองรอยการไหลของน้ํา

• สํารวจการอุดตันของระบบระบายน้ํา • สํารวจความชุมน้ําผิวหนาเชิงลาด และ


แหลงที่มาของน้ําทีพ่ บเห็นไดในขณะนั้น
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)

5 สํารวจภูมิประเทศ

• ศึกษาสภาพภูมิประเทศจากแผนที่ • ตรวจสอบสภาพภูมิประเทศจริง
ภูมิประเทศ สํารวจรองน้ํา พื้นที่รับน้ํา แนวการไหลของน้ํา พื้นที่รับน้ํา ปริมาณ
ความชันของพื้นที่รอบขางและบริเวณ พืชคลุมดิน
พื้นที่เสียหาย

• สํารวจสภาพภูมิประเทศ บันทึกตําแหนง • สํารวจโครงสรางอื่น ๆ ที่อาจไดรับผลกระทบ


ที่มีแนวโนมตอการเกิดการพังทลาย หากเชิงลาดเกิดการพังทลาย เชน เสาไฟฟา
คูมือการสํารวจ วิเคราะหความเสียหายของการชะลางพังทลาย
และเคลื่อนตัวของเชิงลาด (ฉบับสนาม)

6 สํารวจลักษณะรูปทรงเรขาคณิตของเชิงลาด

• วัดขนาดความเสียหายและมุมเทหนา • วัดมุมเอียงของชั้นหินที่มีความเสี่ยงตอ
เชิงลาดโดยการใชเข็มทิศ การรวงหลนโดยการใชเข็มทิศวัดมุม

• บันทึกภาพถายโดยการถายรูปหรือสเก็ต

You might also like