You are on page 1of 36

การเตรียมความพร้อมเพือ่ รับเหตุการณ์แผ่นดิ นไหว

กรมโยธาธิการและผังเมือง

โดย
สานักควบคุมและตรวจสอบอาคาร
ความเสี่ยงภัยจากแผ่นดินไหว

(1) แผ่นดินไหวขนาดกลางที่มศี ูนย์ กลางภายในประเทศ


(2) แผ่นดิ นไหวขนาดใหญ่ที่มศ
ี ูนย์ กลางภายนอกประเทศ
ความเสี่ยงภัยจากแผ่นดินไหว

(1) แผ่นดินไหวขนาดกลางที่มศี ูนย์ กลางในประเทศ


กรมทรัพยากรธรณีได้สารวจข้อมูลรอยเลื่อนมีพลังในประเทศไทย
โดยแบ่งออกเป็ นกลุ่มรอยเลื่อนจานวน 13 กลุ่ม ครอบคลุมพื้นที่
จานวน 22 จังหวัด
ลาดับ กลุ่มรอยเลื่อน รายชื่อจังหวัด
1 รอยเลื่อนแม่จนั เชียงราย เชียงใหม่
2 รอยเลื่อนแม่ฮ่องสอน แม่ฮ่องสอน ตาก
3 รอยเลื่อนเมย ตาก กาแพงเพชร
4 รอยเลื่อนแม่ทา เชียงใหม่ ลาพูน เชียงราย
5 รอยเลื่อนเถิน ลาปาง แพร่
6 รอยเลื่อนพะเยา พะเยา เชียงราย ลาปาง
7 รอยเลื่อนปัว น่ าน
8 รอยเลื่อนอุตรดิตถ์ อุตรดิตถ์
9 รอยเลื่อนเจดียส์ ามองค์ กาญจนบุรี
10 รอยเลื่อนศรีสวัสด์ ิ กาญจนบุรี สุพรรณบุรี อุทยั ธานี ตาก
11 รอยเลื่อนระนอง ระนอง ชุมพร ประจวบคีรีขนั ธ์ พังงา
12 รอยเลื่อนคลองมะรุ่ย สุราษฎร์ธานี กระบี่ พังงา
13 รอยเลื่อนท่าแขก หนองคาย นครพนม
ตัวอย่างความเสียหาย

ความเสียหายของโรงพยาบาลพาน จังหวัดเชียงราย
เมือ่ วันที่ 11 กันยายน 2537 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 5.1 ริกเตอร์
มีศูนย์กลางอยู่ห่างจากตัวอาเภอพาน จังหวัดเชียงราย ประมาณ 20 กิโลเมตร
ตัวอย่างความเสียหาย

ความเสียหายของโรงเรียนและโรงพยาบาลในจังหวัดเชียงราย
เมื่อวันที่ 16 พฤษภาคม 2550
ศูนย์กลางห่างจากอาเภอเชียงแสน ประมาณ 60 กิโลเมตร
ลักษณะความเสี่ยงภัยจากแผ่นดินไหว

(2) แผ่นดินไหวขนาดใหญ่ท่ีมศี ูนย์ กลางภายนอกประเทศ แต่ส่งผลกระทบ


ต่ออาคารและสิ่งก่อสร้างในประเทศไทย โดยเฉพาะหากสภาพดินฐาน
รากเป็ นดินอ่ อนหนาจะทาให้อาคารในพื้นที่ นั้นมีความเสี่ยงสูงขึ้น เรียก
ความเสี่ยงในกรณีน้ ีว่า “ความเสี่ยงต่อแผ่นดินไหวขนาดใหญ่
ระยะไกล” รอยเลื่อนใหญ่ที่ส่งผลกระทบต่อประเทศไทยดังกล่าว ได้แก่
รอยเลื่อนสะแกง รอยเลื่อนสุมาตรา และรอยเลื่อนแม่น้าแดง
ตัวอย่างความเสียหาย

ความเสียหายของอาคารสุงในกรุงเทพมหานคร
เมือ่ วันที่ 22 กันยายน 2546 เกิดแผ่นดินไหวขนาด 6.6 ริกเตอร์
มีศูนย์กลางอยู่ในรอยเลื่อนสะแกง สหภาพพม่า
ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 850 กิโลเมตร
เหตุการณ์แผ่นดินไหว

Sagaing Fault
เมือ่ วันที่ 22 กันยายน 2546
ขนาด 6.6 ริกเตอร์

850 km.

400 km.
มาตรการในการเสริมสร้างความปลอดภัยจากการ
ก่อสร้างอาคารในพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว
ของกรมโยธาธิ การและผังเมือง
กฎกระทรวงกาหนดการรับน้าหนัก ความต้านทาน
ความคงทนของอาคารและพื้นดินที่รองรับอาคาร
ในการต้านทานแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว
พ.ศ. ๒๕๕๐
(แก้ไขและยกเลิกกฎกระทรวงฉบับที่ ๔๙ (พ.ศ. ๒๕๔๐)

ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ ๓๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๐


ประเด็นการแก้ไขที่สาคัญ
1. การเพิม่ เติมพื้นที่ควบคุมจากเดิม 10 จังหวัด
เป็ น 3 บริเวณ 22 จังหวัด
2. การจัดกลุ่มประเภทอาคารควบคุมให้ชัดเจน
ยิ่งขึ้น
3. ข้อควรคานึงในการออกแบบโครงสร้าง
4. การอ้ างอิ งมาตรฐานกรมโยธาธิ การและผังเมือง
บริเวณที่ 2 หมายความว่ า พืน้ ที่หรือ บริเวณที่ 1 หมายความว่ า
บริเวณที่อยู่ใกล้ รอยเลื่อนที่อาจได้ รับ พืน้ ที่หรือบริเวณที่เป็ นดิน
ผลกระทบจากแผ่ นดินไหว ได้ แก่ อ่ อนมาก ที่อาจได้ รับ
กาญจนบุรี เชียงราย เชียงใหม่ ผลกระทบจากแผ่ นดินไหว
ตาก น่ าน พะเยา แพร่ ระยะไกล ได้ แก่
แม่ ฮ่องสอน ลาปาง และ กรุ งเทพมหานคร นนทบุรี
ลาพูน ปทุมธานี สมุทรปราการ
และสมุทรสาคร

บริเวณเผ้ าระวัง หมายความว่ า พืน้ ที่


หรือบริเวณที่อาจได้ รับผลกระทบจาก
แผ่ นดินไหว ได้ แก่ กระบี่ ชุมพร
พังงา ภูเก็ต ระนอง สงขลา และ
สุราษฎร์ ธานี
“บริเวณเฝ้ าระวัง” รวม 7 จังหวัด ผู ค้ านวณออกแบบอย่างน้อยต้องกาหนดรายละเอียด
ของโครงสร้างให้มคี วามเหนียวตามมาตรฐานของกรมโยธาธิการและ ผังเมือง
“บริเวณ 1” รวม 5 จังหวัด ความรุนแรงของแผ่นดินไหวเทียบเท่า Zone 1 ตาม
Uniform Building Code (ความรุนแรงระดับ V และ VI ตามมาตราเมอร์ แคลลี
หรืออาคารมีความเสียหายบ้าง)
“บริเวณ 2” รวม 10 จังหวัด ความรุนแรงของแผ่นดินไหวเทียบเท่า Zone 2 ตาม
Uniform Building Code (ความรุนแรงระดับ VII ตามมาตราเมอร์ แคลลี หรือ
อาคารปรากฏความเสียหาย)
การดาเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้อง
ของสานักควบคุมและตรวจสอบอาคาร
(1) เผยแพร่กฎกระทรวงและแจ้งเวียนให้จังหวัดทุกจังหวัดทราบ
(2) จัดทามาตรฐานประกอบการออกแบบอาคารต้านทาน
การสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว มยผ. 1301-50
(3) จัดสัมมนาเรื่อง “กฎกระทรวงว่าด้ วยการออกแบบอาคาร
ต้านทานการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว”
(4) จัดทาโปรแกรมช่วยคานวณการออกแบบอาคารต้านทาน
แผ่นดินไหว
(5) จัดทาคู่มือปฏิ บัติเพือ่ ความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคาร
ในพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว
มาตรฐานประกอบการออกแบบอาคารเพือ่ ต้านทาน
การสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว
โปรแกรมช่วยคานวณการออกแบบอาคารต้านทานแผ่นดินไหว
คู่มือปฏิ บัติเพือ่ ความปลอดภัยและก่อสร้างอาคาร
ในพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว
คู่มอื ปฏิ บตั ิเพือ่ ความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคาร
ในพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวฉบับประชาชน

- พื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว
- หากเกิดแผ่นดินไหวรุนแรงจะเกิดผลกระทบอะไรได้บ้าง
- หลักปฏิ บัติเพือ่ ความปลอดภัย
- การตรวจสอบบ้านเรือนว่ามีความเสี่ยงภัยหรือไม่
หลักปฏิ บัติเพือ่ ความปลอดภัย

- ก่อนเกิดแผ่นดินไหว
- ขณะเกิดแผ่นดินไหว
- หลังเกิดเหตุแผ่นดินไหว
หลักปฏิ บตั ิสาหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

สารวจอาคาร
สาธารณะที่จะใช้เป็ น
อาคารบรรเทาภัย
หลังเกิดแผ่นดินไหว
จัดเตรียมอุปกรณ์ช่วยชีวิต

จัดเตรียมเครื่องปฐมพยาบาลและสิ่ง
อานวยความสะดวกพื้นฐาน
การตรวจสอบว่าบ้านเรือนของท่านมีความเสี่ยงภัยหรือไม่

 บ้านเรือนของท่านตั้งอยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวใช่หรือไม่
 บ้านเรือนของท่านไม่ได้รับการออกแบบให้สามารถต้านทานแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหวใช่หรือไม่
 บ้านเรือนของท่านตั้งอยู่ในบริเวณที่เสี่ยงต่อการวิบัติในรูปแบบต่างๆ ใช่หรือไม่
 โครงสร้างบ้านเรือนของท่านมีการเสื่อมสภาพหรือความเสียหายเกิดขึ้นใช่หรือไม่
 ข้อต่อของส่วนต่างๆ ของบ้านเรือนของท่านมีความไม่มั่นคงแข็งแรงเพียงพอใช่หรือไม่
 รูปทรงและลักษณะของอาคารมีความไม่สม่าเสมอใช่หรือไม่
 ฐานรากของบ้านท่านเป็ นฐานรากที่ไม่มีการเสริมเหล็กใช่หรือไม่
คู่มอื ปฏิ บตั ิเพือ่ ความปลอดภัยและการก่อสร้างอาคาร
ในพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวฉบับวิศวกร

รวบรวมรายละเอี ยดด้านความรู้พ้นื ฐานเกี่ยวกับ


แผ่นดินไหว หลักปฏิ บัติเพือ่ ความปลอดภัย และ
ข้อแนะนาเบื้องต้นสาหรับการก่อสร้างและปรับปรุงอาคาร
ให้มีความมั่นคงแข็งแรงเพียงพอเพือ่ ต้านทาน
แรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดินไหว
ความรู้พ้นื ฐานเกี่ยวกับแผ่นดินไหว

การเกิดแผ่นดินไหว ประเภทของรอยเลื่อน
ตามทฤษฎีการคืนตัวแบบยืดหยุ่น
รูปทรงของอาคาร

ชัน้ ทีม่ สี ติฟ เนสทางด้ า นข้า ง (Lateral


Stiffness) มีค่าน้อยกว่ าร้ อยละ 70
ของชัน้ ทีเ่ หนือถัดขึน้ ไปหรือน้อยกว่าร้อยละ
80 ของสติฟเนสเฉลีย่ ของสามชัน้ ทีเ่ หนือ
ขึน้ ไปอาคารทีม่ คี วามสูงของแต่ละชัน้

ชั้นที่อ่อน (Soft Story)


ระบบโครงสร้างอาคาร
ในการต้านทานแรงสั่นสะเทือนจากแผ่นดิ นไหว

ระบบต้านแรงด้านข้าง
ระบบต้านแรงในแนวราบ
ตัวอย่างการให้รายละเอี ยดโครงสร้างอาคาร
การปรับปรุงอาคารในพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหว
ขอบคุณครับ

You might also like