You are on page 1of 28

Faculty of Education

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY

ธรณีพิบัติภัย
ผู้ช่วยศาสตราจารย์กรกมล ชูช่วย
ธรณีพิบัติภัย

แผ่นดินไหว

คลื่นสึนามิ

ภูเขาไฟ
แผ่นดินไหว (Earthquake)
แผ่นดินไหว (Earthquake)
แผ่นดินไหว (Earthquake) เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติซึ่ง
เกิดขึ้นเมื่อหินเปลือกโลกเคลื่อนที่หรือสั่นสะเทือนและคายพลังงานออกมา เมื่อ
แผ่นธรณีกระทบกัน แรงกดดันหรือแรงเสียดทานจะทาให้หินที่บริเวณขอบของ
แผ่นธรณีเกิดความเค้นและความเครียด สะสมพลังงานไว้ภายใน เมื่อหินแตกหรือ
หักก็จะปลดปล่อยพลังงานออกมา ทาให้เกิดการสั่นสะเทือนเป็นแผ่นดินไหว

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


แผ่นดินไหว (Earthquake)

แผ่น ดิ น ไหวมักเกิด ขึ้นในบริเ วณรอยต่ อ


ของแผ่นธรณี เนื่องจากเป็นบริเวณที่เกิด
กระบวนการธรณีแปรสัณฐาน 3 ลักษณะ

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


แผ่นดินไหว (Earthquake)

นอกจากบริเวณรอยต่อของแผ่นธรณีแล้ว
แผ่นดินไหวยังเกิดขึ้นที่บริเวณ จุดร้อน (Hot spot)
ที่ซึ่งหินหนืดร้อนลอยตัวขึ้นจากเนื้อโลกตอนล่างแล้ว
ทะลุเปลือกโลกขึ้นมากลายเป็นภูเขาไฟรูปโล่

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


แผ่นดินไหว (Earthquake)
คลื่นแผ่นดินไหว (Seismic wave)
แบ่งเป็น 3 ประเภท (1) P-waves หรือ Primary waves (คลื่นปฐมภูมิ)
(2) S-waves หรือ Secondary waves (คลื่นทุติยภูมิ)
(3) Surface waves (คลื่นพื้นผิว)

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


แผ่นดินไหว (Earthquake)
P-waves มีความเร็วสูง ส่งผลให้เกิดแรงบีบอัด และแรงกระแทก

S-waves มีความเร็วรองจาก P-waves ส่งผลให้เกิดแรงยกขึ้น-ลง

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


แผ่นดินไหว (Earthquake)
คลื่นพื้นผิว (Surface wave) เดินทางจากจุดเหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหว (Epicenter)
ไปทางบนพื้นผิวโลก คลื่นพื้นผิวเคลื่อนที่ช้ากว่าคลื่นในตัวกลาง ก่อให้เกิดความเสียหายมากที่สุด

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


แผ่นดินไหว (Earthquake)
ภาพรวมของแผ่นดินไหว

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


แผ่นดินไหว (Earthquake)
ความรุนแรงของแผ่นดินไหว

I มนุษย์ไม่รู้สึก ตรวจวัดได้เฉพาะเครื่องมือ
II รู้สึกได้เฉพาะกับผู้ที่อยู่นิ่งกับที่ สิ่งของแกว่งไกวเล็กน้อย
III คนอยู่ในบ้านรู้สึกได้เหมือนรถบรรทุกแล่นผ่าน มาตราเมอร์คัลลี (Mercalli scale)
IV คนส่วนใหญ่รู้สึกได้เหมือนรถบรรทุกแล่นผ่าน
V ทุกคนรู้สึกได้ สิ่งของขนาดเล็กเคลื่อนที่ กาหนดจากความรู้สึกหรือ
VI คนเดินเซ สิ่งของขนาดใหญ่เคลื่อนที่ การตอบสนองของผู้คน
VII คนยืนนิ่งอยู่กับที่ไม่ได้ อาคารเสียหายเล็กน้อย
VIII อาคารเสียหายปานกลาง
IX อาคารเสียหายอย่างมาก
X อาคารถูกทาลายพร้อมฐานราก
XI แผ่นดินแยกถล่มและเลื่อนไหล สะพานขาด รางรถไฟบิดงอ ท่อใต้ดินชารุดเสียหาย
XII สิ่งปลูกสร้างทั้งหมดถูกทาลาย พื้นดินเป็นลอนคลื่น

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


แผ่นดินไหว (Earthquake)
เป็นตัวเลขที่ทาให้สามารถเปรียบเทียบขนาดของแผ่นดินไหวต่างๆ
มาตราริกเตอร์ (Richter) กันได้ โดยคานวณจากสูตรทางคณิตศาสตร์

ขนาด ความสั่นสะเทือน
1 - 2.9 สั่นไหวเล็กน้อย
3 - 3.9 ผู้คนในอาคารรู้สึกเหมือนรถไฟวิ่งผ่าน
4 - 4.9 สั่นไหวปานกลาง ผู้คนทั้งในและนอก
อาคารรู้สึก วัตถุห้อยแขวนแกว่งไกว
5 - 5.9 สั่นไหวรุนแรง เครื่องเรือน วัตถุมีการเคลื่อนที่
6 - 6.9 สั่นไหวรุนแรงมาก อาคารเริ่มพังเสียหาย
7.0 ขึ้นไป สั่นไหวร้ายแรง อาคารพังเสียหายมาก
แผ่นดินแยก วัตถุถูกเหวี่ยงกระเด็น

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


แผ่นดินไหว (Earthquake)
เครื่องมือตรวจวัดแผ่นดินไหว หรือเครื่องบันทึกการไหวสะเทือน
(Seismograph) จะตรวจวัดและบันทึกคลื่นไหวสะเทือนออกมาเป็นกราฟ
การไหวสะเทือน (Seismogram)

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


คลื่นสึนามิ (Tsunami)
คลื่นสึนามิ (Tsunami)
คลื่นสึนามิ (Tsunami) เป็นคลื่นที่เกิดขึ้นจากแผ่นดินไหว

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


คลื่นสึนามิ (Tsunami)

ระบบแจ้งเตือนคลื่นสึนามิ

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


ภูเขาไฟ (Volcano)
ภูเขาไฟ (Volcano)
ภูเขาไฟระเบิด
ภู เ ขาเกิ ด จากการเปลี่ ย นแปลงลั ก ษณะ
ของเปลือกโลก ซึ่งแผ่นธรณีทวีปดันกันทาให้ชั้นหิน
คดโค้ง (Fold) เป็นรูปประทุนคว่าและประทุนหงาย
สลับกัน ภูเขาที่มียอดแบนราบอาจเกิดจากการยก
ตัว ของเปลื อ กโลกตามบริ เ วณรอยเลื่ อน (Fault)
แต่ภูเขาไฟ (Volcano) มีกาเนิดแตกต่างจากภูเขา
ทั่ ว ไป ภู เ ขาไฟเกิ ด จากการยกตั ว ของแมกมาใต้
เปลือกโลก

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


ภูเขาไฟ (Volcano)

ที่ราบสูงลาวา (Basalt Plateau) ภูเขาไฟกรวยสลับชั้น (Composite cone volcano)

กรวยกรวดภูเขาไฟ (Cinder cone) ภูเขาไฟรูปโล่ (Shield volcano):

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


ภูเขาไฟ (Volcano)
การประทุของภูเขาไฟ

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


ดินถล่ม (Landslide)

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


ดินถล่ม (Landslide)

ดินถล่มหรือ Soil Side เป็นพิบัติภัยทาง


ธรณีวิทยาในกลุ่มของการเสียเสถียรภาพของที่ลาด
เอียง (Slope Stability) ชนิดที่การวิบัติ (Failure)
เป็ น ไปอย่ า งรวดเร็ว กล่ าวคื อ สั ง เกตเห็ น การถล่ ม
ในทันที หรือในระยะเวลาสั้น ๆ เพียงไม่กี่วันและมัก
มีร่องรอยของการถล่มเหลืออยู่
4 ก.ค.2564 เมืองอาตามิ จังหวัดชิซโู อกะ
ที่มา : https://www.pptvhd36.com/

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


ดินถล่ม (Landslide)

พิบั ติ ภั ย ที่ มี ค วามคล้ า ยคลึง กั บ ดิ น ถล่ ม


ไ ด้ แ ก่ หิ ม ะ ถ ล่ ม ( Avalanche) บ น
เทือกเขาสูงที่มีหิมะตกใหม่หนาปกคลุม
หรือหินถล่ม (Rock Avalanche) ที่เกิด
กับมวลหินที่แดกหักเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


ดินถล่ม (Landslide)

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


แผ่นดินทรุด
(Land Subsidence

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


แผ่นดินทรุด (Land Subsidence)

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY


แผ่นดินทรุด (Land Subsidence)

SUAN SUNANDHA RAJABHAT UNIVERSITY

You might also like