You are on page 1of 17

ภูเขาไฟ

ภูเขาไฟ คือช่องระบายของเปลือกโลกท่ีให้หินหลอมเหลว
และผลจากภูเขาไฟต่าง ๆ แทรกซอนผ่านขึน ้ มาได้ ภูเขาไฟและ
ปรากฏการณ์ท่ีเก่ียวข้อง อาทิเช่น พุแก๊ส และ พุน้ำาร้อน ล้วน
เป็ นปรากฏการณ์ท่ีน่าสนใจหน่ ึงในบรรดากระบวนการทาง
ธรณีวิทยาทัง้หลายและรวมถึงปรากฏการณ์ท่ีได้เกร่ินไว้ในบทท่ี
ผ่านมาโดยทัว่ไปภูเขาไฟมีรูปทรงกรวยท่ีเรียกว่า ปากปล่อง
ภูเขาไฟ รูปกรวยอยู่เหนือปล่องภูเขาไฟได้ผ่านต่อลงไปทางลำา
ปล่องหรือรางท่อถึงห้องโถงหินหนืดใต้โลก และในช่วงท่ีปะทุ ไอ
น้ำา ฝ่ ุน เถ้าธุลีภูเขาไฟ ก้อนหิน หินหลอมเหลว เรียกว่า ลาวา
พวยพุ่งคละคลุ้งขึ้นจากปล่อง ซ่ ึงห้องโถงหินหนืดอยู่ลึกลงไปใต้
ผิวโลกเป็ นแอ่งท่ีบรรจุวัสดุหินหลอมเหลวร้อนระอุ ซ่ ึงอาจทัง้
แทรกซอนสู่เปลือกโลกหรือปะทุขึ้นมาบนพ้ืนผิว มีลักษณะ คือ
ปะทุพ่น และ ปะทุระเบิด)
การเกิดระเบิดของภูเขาไฟ

ภูเขาไฟระเบิด เป็ นภัยพิบัตท


ิ างธรรมชาติท่ีร้ายแรงอย่างหน่ ึงการ
ระเบิดของภูเขาไฟนัน้ แสดงให้เห้นว่าใต้ผิวโลกของเราลงไประดับหน่ ึงมี
ความร้อนสะสมอยู่มากโดยเฉพาะท่ีเรียกว่า"จุดร้อน" ณบริเวณนีม ้ ีหิน
หลอมละลายเรียกว่า แมกมาและเม่ ือมันถูกพ่นขึ้นมาตามรอยแตกหรือ
ปล่องภูเขาไฟ เราเรียกว่า ลาวา
สาเหตุของการเกิดภูเขาไฟระเบิด

กระบวนการระเบิดของภูเขานัน ้ ยังไม่เป็ นท่ีเข้าใจกระจ่างชัดนักนัก


ธรณีวิทยาคาดว่ามีการสะสมของความร้อนอย่างมากบริเวณนัน ้ ทำาให้มี
แมกมา ไอน้ำาและแก๊ส สะสมตัวอยู่มากขึ้นเร่ ือยๆ ซ่ ึงก่อให้เกิดความดัน
ความร้อนสูงเม่ ือถึงจุดหน่ ึงมันจะระเบิดออกมา อัตราความรุนแรงของ
การระเบิดขึน
้ อยู่กับความรุนแรงของการระเบิด รวมทัง้ขึ้นอยู่กับความ
ดันของไอและความหนืดของลาวา ถ้าลาวาข้นมากๆ อัตราการรุนแรง
ของการระเบิดจะรุนแรงมากตามไปด้วยเวลาภูเขาไฟระเบิด มิใช่มีแต่
เฉพาะลาวาท่ีไหลออกมาเท่านัน ้ ยังมีแก๊สไอน้ำาฝ่ ุนผงเถ้าถ่านต่างๆ ออก
มาด้วย มองเป็ นกลุ่มควันม้วนลงมาพวกไอน้ำาจะควบแน่นกลายเป็ นน้ำา
นำาเอาฝ่ ุนละอองเถ้าต่างๆ ท่ต ี กลงมาด้วยกันไหลบ่ากลายเป็ นโคลนท่วม
ในบริเวณเชิงเขาต่ำาลงไป ย่ิงถ้าภูเขาไฟนัน ้ มีหิมะคลุมอยู่มันจะละลาย
หิมะ นำาโคลนมาเป็ นจำานวนมากได้ เช่นในกรณีของภัยพิบัติท่ีเกิดใน
ประเทศโคลัมเบียเม่ ือไม่นานนี้
ส่ิงท่ไี ด้จากการปะทุของภูเขาไฟ
หลายคนเช่ ือว่าลาวาเป็ นวัตถุชิน
้ แรกท่ีถูกปล่อยออกมาจากภูเขาไฟ
ซ่ ึงนัน
่ ไม่เป็ นความจริงเสมอไปทัง้นีใ้นระยะแรกอาจพ่นเอาเศษหินขนาด
ใหญ่ออกมาจำานวนมากเรียกว่า"ลาวา บอมบ์"(  ส่วนเถ้า
ถ่านและฝุ่นละอองเกิดขึ้นต่อมาอย่างปกตินอกจากนัน ้ การเกิดระเบิด
ของภูเขาไฟยังปล่อยเอาก๊าซออกมาอีกด้วยดังจะกล่าวในราย
ละเอียดตามลำาดับดังนี้ลาวาหลาก (  

เน่ ืองด้วยลาวาท่ีมี ปริมาณซิลิกาต่ำาหรือลาวาท่ี


มีองค์ประกอบเป็ นบะ ซอลต์ปกติจะมีความเหลว
มากและไหลเป็ นชัน ้ บางๆแผ่เป็ นแผ่นกว้าง
เหมือนลิน ้ ตัวอย่างบนเกาะฮาวายลาวาจะไหลออกมาด้วยความเร็ว
  บนพ้ืนท่ีท่ช ี ันมากอย่างไรก็ตามความเร็วแบบนีเ้กิดขึ้นได้น้อยมาก
โดยปกติพบว่ามีความเร็ว   ในทางกลับกันการเคล่ ือนท่ีของลาวาท่ีมี
ซิลิกาสูงจะช้ากว่าเม่ ือลาวาบะซอลต์ของการปะทุแบบฮาวายเอียนแข็งตัว
มันจะมีผิวเรียบบางทีเป็ นคล่ ืน( ในขณะท่ีลาวาด้านในใต้พ้ืน
ผิวซ่ ึงยังหลอมอยู่จะเคล่ ือนท่ีต่อไปลักษณะนีเ้รียกว่า "การไหลแบบ ปา
ฮอยฮอย (  ซ่ึงมีลักษณะคล้ายกับริว้เชือกบิดลาวาบะ
ซอลตืทัว่ๆไปจากแหล่งอ่ ืนมักมีผิวขรุขระเป็ นแท่งขอบไม่เรียบแหลมคม
หรือมีหนามย่ ืนออกมาเรียกว่า"อาอา( ซ่ึงเกิดจากลาวาประเภทนีเ้ช่น
กันอาอาท่ีกำาลังไหลออกมาจะเย็นและหนาขึ้นอยู่กับความชัน
ของภูมิประเทศท่ีมันไหลมามีความเร็วของการไหลประมาณ   
นอกจากนัน ้ ก๊าซท่ีออกมาจะทำาให้ผิวของลาวาท่ีเย็นแตกออกและให้รู
หรือช่องว่างขนาดเล็กท่ม ี ีปากรูเป็ นหนามแหลมคมเม่ ือลาวาแข็งตัวแล้ว
ก๊าซ( 

ก๊าซละลายอยู่ในหินหนืดในปริมาณต่างๆกันและอยู่ได้เพราะความ
ดันของมวลหินโดยรอบเปรียบเหมือนคาร์บอนไดออกไซด์ท่ีอยู่ในเคร่ ือง
ด่ ืมซ่ ึงเม่ ือความดันลดลงก๊าซก็เร่ิมหนีออกมาเป็ นฟองการศึกษาสภาพ
จริงจากการระเบิดของภูเขาไฟเป็ นส่ิงท่ียุ่งยากและอันตรายมากดังนัน ้ นัก
ธรณีวิทยาจึงประมาณการปริมาณก๊าซท่ข ี ึ้นมาจากก๊าซเร่ิมต้นท่ีละลายอยู่
ในหินหนืดไม่ได้เช่ ือกันว่าหินหนืดส่วนใหญ่มีก๊าซละลายอยู่
ประมาณของน้ำาหนักทัง้หมดและก๊าซท่ีออกมามีมากกว่าตันต่อวันองค์
ประกอบของก๊าซก็เป็ นส่ิงท่ีนักวิทยาศาสตร์สนใจมากเช่นกันทัง้นีเ้พราะ
ปรากฏการณ์เหล่านีเ้ป็ นแหล่งกำาเนิดของมหาสมุทรและบรรยากาศของ
โลกการวิเคราะห์ตัวอย่างท่ีเก็บจากการระเบิดของภูเขาไฟท่ฮ ี าวายชีใ้ห้
เห็นว่าก๊าซท่ีถูกปล่อยออกมาประกอบด้วยไอน้ำา
ประมาณคาร์บอนไดออกไซด์สารประกอบไนโตรเจนและซัลเฟอร์
อย่างละก๊าซอ่ ืนๆท่ม ี ีปริมาณน้อยกว่าได้แก่คลอรีนไฮโดรเจนและ
อาร์กอนสารประกอบซัลเฟอร์จะทดสอบได้ง่ายโดยกล่ินฉุนของมันซ่ ึง
อาจกลายเป็ นกรดซัลฟิ วริกและมีอันตรายเม่ ือได้สูดดมเข้าไปในปอด

ของเหลว( )

ของเหลวท่ีได้จากภูเขาไฟคือ ลาวา ปริมาณของหินหลอมเหลวร้อนระอุ


โดยทัว่ไปลาวา
ปะทุจากปากปล่องบนยอดภูเขาไฟ แต่พบไม่บ่อยท่ีลาวาได้แตกทะลัก
ออกมาทางด้านข้างปล่องและเล็ดลอดออกมาตามรอยแตกท่ีได้พัฒนาตัว
มาตามเขตพังทลายง่ายในเหล่าบรรดาลาวามีสมบัตท ิ างเคมีและทาง
กายภาพต่างกัน และสมบัติเหล่านีอ ้ าจสะท้อนถึงรูปแบบภูเขาไฟปะทุ
นอกจากนีอ ้ งค์ประกอบทางเคมีขอ ลาวาก็มีอิทธิพลต่อความหนืด
ซ่ ึงส่งผลกระทบอัตราและระยะทางในการไหลหลาก และยังผลต่อถึงรูป
ทรงกรวยภูเขาไฟได้เช่นกัน และจะทำาให้มีบางส่ิงบนโครงสร้างผิวของ
หินท่ีเกิดขึ้น เม่ ือหินท่ีหลอมเหลว
ของแข็ง( )

หินอัคนีพุ โดยทัว่ไปพบในรูป ลาวาหลาก   ตาม


ธรรมชาติคล้ายแผ่นหินแบน
อาจแผ่ปกคลุมได้หลายร้อยตารางกิโลเมตร และลึกเกือบกิโลเมตร ลาวา
หลากเกิดร่วมกับภูเขาไฟและส่วนอ่ ืนได้ไหลขึ้นมาตามรอยแตก มัก
แสดง แนวแตกเสาเหล่ียม    และยังมี
ก้อนขรุขระของตะกรันภูเขาไฟ นอกจากนีว้ัสดุแข็งหลากหลาย ซ่ ึงอาจ
พ่นมาจากภูเขาไฟปะทุระเบิดและสสารนีอ ้ าจมีขนาดตัง้แต่ฝุ่นละเอียด
มากไปจนถึงก้อนหินมหึมาหนักหลายตัน หากของแข็งเหล่านีแ ้ ข็งตัวขึ้น
เป็ นหิน เรียกว่า ตะกอนภูเขาไฟ  และหากอนุภาคลาวา
ปลิวว่อนในอากาศ จับตัวกันขึ้นเป็ น เถ้าธุลีภูเขาไฟ   
ฝ่ ุนภูเขาไฟ จนถึงก้อนวัสดุร่วน เรียกว่า ชิน ้ ส่วนภูเขาไฟ  ซ่ึง
ลาวาแข็งได้หมุนควงแหวกอากาศ มีลักษณะวัตถุทรงกลมหรือยาวร่ี
คล้ายลูกสาลี ขนาดใหญ่กว่ามมเรียกว่า บอมบ์ภูเขาไฟ
  พบกระจัดกระจายตามเชิงเขาในภาคอีสานตอนใต้
ของประเทศไทย เช่น เขาพนมรุ้ง เขากระโดง ภูอังคาร จังหวัดบุรีรัมย์
และหากมีลักษณะสะเก็ดเหล่ียม เรียกว่า บล็อกภูเขาไฟ
  หากมีขนาดประมาณมมเรียกว่า มูลภูเขาไฟ
 ภาพ ขและเป็ นเน้ือแก้วชนิดด่าง เรียกว่า กรวดภูเขาไฟ
  
โทษของภูเขาไฟระเบิด ทำาให้เกิด

1. แรงสัน่ สะเทือน มีทัง้การเกิดแผ่นดินไหวเตือน แผ่นดิน


ไหวจริงและแผ่นดินไหวติดตามถ้าประชาชนไปตัง้ถ่ินฐาน
อยู่ในเชิงภูเขาไฟอาจหนีไม่ทันเกิดความสูญเสียแก่ชีวิตและ
ทรัพย์สิน

2. การเคล่ ือนท่ขี องลาวา อาจไหลออกมาจากปากปล่อง


ภูเขาไฟเคล่ ือนท่ีรวดเร็วถึง กิโลเมตรต่อชัว่โมง มนุษย์และ
สัตว์อาจหนีภัยไม่ทันเกิดความสูญเสียอย่างใหญ่หลวง

3. เกิดฝ่ ุนภูเขาไฟ เถ้า มูล บอมบ์ภูเขาไฟ ระเบิดขึ้นสู่


บรรยากาศครอบคลุมอาณาบริเวณใกล้ภูเขาไฟและลมอาจ
พัดพาไปไกลจากแหล่งภูเขาไฟระเบิดหลายพันกิโลเมตรภู
เขาไฟพินาตูโบระเบิดท่เี กาะลูซอนประเทศฟิ ลิปปิ นส์ฝุ่น
ภูเขาไฟยังมาตกทางจังหวัดภาคใต้ของประเทศไทย เช่น
จังหวัดสงขลา นราธิวาสและปั ตตานี เกิดมลภาวะทาง
อากาศ และแหล่งน้ำากินน้ำาใช้ของประชาชนรวมทัง้ฝ่ ุน
ภูเขาไฟได้ขึ้นไปถึงบรรยากาศชัน ้ สตราโตสเฟี ยร์ ใช้เวลา
นานหลายปี ฝุ่นเหล่านัน ้ ถึงจะตกลงบนพ้ืนโลกจนหมด

4. เกิดคล่ ืนซึนามิ ขณะเกิดภูเขาไประเบิด โดยเฉพาะภูเขาไฟ


ใต้ท้องมหาสมุทรคล่ ืนนีจ้ะโถมเข้าหาฝั่ งสูงขนาดตึก ชน ั้
ขึน
้ ไปกวาดทุกส่ิงทัง้ผู้คนและส่ิงก่อสร้างลงสู่ทะเล เป็ นท่ีน่า
หวาดกลัวย่ิงนัก
5. หลังจากภูเขาไฟระเบิด มีฝุ่นเถ้าภูเขาไฟตกทับถมอยู่ใกล้
ภูเขาไฟ เม่ ือฝนตกหนักอาจจะเกิดน้ำาท่วมและโคลนถล่ม
ตามมาจากฝ่ ุนและเถ้าภูเขาไฟเหล่านัน ้ 

ประโยชน์ของภูเขาไฟระเบิด

1. การระเบิดของภูเขาไฟช่วยปรับระดับของเปลือกโลกให้อยู่ในภาวะ
สมดุล

2. การเคล่ ือนท่ีของลาวาจากการระเบิดของภูเขาไฟทำาให้หินอัคนีและ
หินชัน
้ ใต้ท่ีลาวาไหลผ่านเกิดการแปรสภาพ เช่นหินแปรท่ี
แข็งแกร่งขึ้น

3. แหล่งภูเขาไฟระเบิด ทำาให้เกิดแหล่งแร่ท่ส
ี ำาคัญขึ้น เช่น เพชร
เหล็กและธาตุอ่ืนๆ อีกมาก

4. แหล่งภูเขาไฟจะเป็ นแหล่งดินดีเหมาะแก่การเพาะปลูก เช่น ดินท่ี


อำาเภอท่าใหม่จังหวัดจันทบุรี เป็ นต้น

5. แหล่งภูเขาไฟ เป็ นแหล่งท่องเท่ียวท่ีสำาคัญ เช่น อุทยานแห่งชาติ


ฮาวายในอเมริกา หรือแหล่งภูกระโดง ภูอังคาร ในจังหวัดบุรีรัมย์
ของไทย เป็ นต้น

6. ฝ่ ุน เถ้าภูเขาไฟท่ีล่องลอยอยู่ในอากาศชัน
้ สตราโตสเฟี ยร์ทำาให้
บรรยากาศโลกเย็นลงปรับระดับอุณหภูมิของบรรยากาศชัน ้ โทร
โพสเฟี ยร์ของโลกท่ีกำาลังร้อนขึ้นแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์หรือการ
เกิดปฏิกิริยาเรือนกระจกและการเปล่ียนแปลงของกระแสน้ำาแอลนิ
โนท่ท
ี ำาให้อุณหภูมิในบรรยากาศของโลกสูงขึ้นนัน
้ ลดต่ำาลง

สถิติการเกิดภูเขาไฟระเบิดครัง้สำาคัญ
การระเบิดของภูเขาไฟครัง้สำาคัญได้ทำาลายชีวิตผู้คนไปแล้วเกือบ
แสนคนนับว่าเป็ นจำานวนไม่น้อยในปี ค.ศ. ประชาชนชาว
โคลัมเบียสูญเสียชีวิตเป็ นหม่ ืนเช่นกัน ใน ครัง้ ครัง้เป็ นการระเบิด
ของภูเขาไฟซ่ ึงอยู่ในประเทศเขตร้อน ได้แก่ดินแดนประเทศอินโดนีเซีย
ฟิ ลิปปิ นส์ นิวกีนี เกาะมาร์ตินีกอยู่ในหมู่เกาะอินดีสตะวันตกและ
กัวเตมาลา (ละติจูด  เหนือ) ประเทศโคลัมเบียละติจูด  เหนือ) และ
ประเทศแคเมอรูน (ละติจุด  เหนือ)เป็ นท่ีน่าสังเกตว่าประเทศในเขต
ร้อนมักจะประสบภัยจากธรรมชาติหลายประเทศตลอดจนภูเขาไฟระเบิด
ด้วย ซ้ำาประเทศเหล่านีเ้ป็ นประเทศกำาลังพัฒนาสถิติประชากรประสบภัย
ยังอยู่ในอัตราสูงเพราะขาดการเตือนภัยท่ีดีและการอพยพประชากรทำาได้
ลำาบากเพราะความไม่สะดวกของเส้นทางคมนาคมตลอดจนการ
พยากรณ์ภัยพิบัติไม่ค่อยได้รับความเช่ ือถือเท่าท่ค ี วรหรือขาดการ
ประชาสัมพันธ์ท่ีดีเปรียบเทียบกับประเทศท่ีเจริญแล้ว เช่นสหรัฐอเมริกา
กลับมีผู้เสียชีวิตเพียง คน
 เท่านัน
้ แตกต่างกันอย่างสิน ้ เชิงดังนัน
้ ถ้า
การพยากรณ์และเตือนภัยภูเขาไฟระเบิดกระทำาอยู่อย่างมี
ประสิทธิภาพอาจทำาให้จำานวนผู้เสียชีวิตลดลงอย่างมาก ภูเขาไฟบางลูก
อาจทำาลายชีวิตผู้คนหลายหม่ ืนคนในการระเบิดเพียงครัง้เดียว ถ้ามีการ
ตายจำานวน พน ั คนจากการระเบิดของภูเขาไฟมักจะเกิดขึ้นโดยต่างปี 
ต่างสถานท่ีกันและอีกหลายปี ผ่านไปอาจไม่มีใครเสียชีวิตจากภูเขาไฟ
ระเบิดเลยก็ได้ต่างจากแผ่นดินไหวท่ีแต่ละปี มีคนตายเป็ นพันๆ คน
เกือบทุกปี เช่นแผ่นดินไหวท่ีเคยเกิดเม่ ือปี ค.ศ.และ ท่ม ี ีคน
ตายถึง คนการเกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิด ท่ท ี ำาให้เกิดภัยพิบัติ
อย่างมหาศาลประชาชนทัง้หลายย่อมได้ฟังมามากมายแต่เพราะเหตุใด
เขาเหล่านัน ้ ยังคงเลือกท่ีจะอยู่ในสถานท่ีอันตรายทัง้ท่ีรู้แล้วว่าอีกไม่นาน
อาจเกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดท่ท ี ำาลายบ้านเรือนหรือแม้แต่ชีวิต
ของตนเองได้เม่  ือเหตุการณ์เหล่านีเ้กิดขึ้นคงมีแต่ความเลวร้าย เพราะ
เหตุใด คำาตอบมีดังนี้
 ประชาชนรู้จากประสบการณ์ว่าแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดเกิดใน
เขตเดียวกันของโลก และจะนำามาซ่ ึงความเสียหายอย่างใหญ่หลวงเขา
เช่ ือว่าความสูญเสียยังคงเหลือคนดีอยู่บ้าง คงไม่เสียหายจนหมด
 ประชาชนรักถ่ินท่ีอยู่มีความรู้สึกผูกพันถ้าจะต้องอพยพย้ายถ่ินด้วย
เหตุทางเศรษฐกิจหรือเหตุผลอ่ ืนใด ย่อมมีความเสียใจพอๆกับบ้านเรือน
ถูกทำาลายทีเดียว
 ประชาชนชอบอยู่ในท่ีเดิม เว้นแต่ว่าตัง้ใจออกไปหาท่อ ี ยู่ใหม่ท่ีมัน
่ คง
กว่าได้ดั งนัน
้ ผู้คนจำานวนหลายร้อยล้านคนยังคงอาศัยอยู่ในพ้ืนท่ีท่ีล่อ
แหลมต่ออันตรายของเขตเกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดทัง้ๆ ท่รี ู้
โดยไม่เปล่ียนแปลง ถึงแม้ว่าจะต้องการพ้ืนท่ีก็ไม่สามารถย้ายออกไปได้
เพราะพ้น ื ท่ีโลกท่ีเหมาะแก่การอยู่อาศัยมีจำากัด แผ่นดินโลกร้อนเกินไป
เสียแล้ว

หินภูเขาไฟ
หินภูเขาไฟ (  หรือ หินอัคนีพุ
(   เกิดขึ้นเม่ อ
ื หินร้อนเหลวหรือแมกมาถูก
ดันและปะทุออกมานอกเปลือกโลก ซ่ ึงอาจจะออกมาตามรอย
แตก หรือระเบิดออกมาเป็ นภูเขาไฟกลายเป็ นลาวา ลาวาจะเย็น
ตัวอย่างรวดเร็ว และแข็งตัวเป็ นหินซ่ ึงมีผลึกขนาดเล็กถึงเล็กมาก
ส่วนใหญ่จะมองไม่เห็นรูปของผลึกด้วยตาเปล่า ลาวาท่ีถูกขับมา
จากส่วนลึกของเปลือกโลกจะประกอบด้วยแร่ท่ีมีธาตุเหล็กและ
แมกนีเซียมสูง เม่ อ
ื แข็งตัวก็จะได้หินภูเขาไฟสีดำา ลาวาท่ีถูกขับ
ออกมาจากเปลือกโลกในระดับความลึกไม่มากนัก จะกลายเป็ น
หินภูเขาไฟสีอ่อน การปะทุขึ้นมาของแมกมาเกิดขึ้นได้หลายรูป
แบบ ได้แก่
• การปะทุแบบไม่รุนแรง
• การปะทุแบบรุนแรง
การปะทุแบบไม่รุนแรง
การปะทุแบบไม่รุนแรง เป็ นการปะทุตามปล่องหรือรอยแตก รอย
แยกของแผ่นเปลือกโลกลาวาไหลหลากเอ่อล้นไป ตามลักษณะ
ภูมิประเทศ ลาวาจะถ่ายโอนความร้อนให้กับบรรยากาศภายนอกอย่าง
รวดเร็ว ทำาให้อะตอมของธาตุ ต่าง ๆ มีเวลาน้อยในการจับตัวเป็ นผลึก
หินลาวาหลากจึงประกอบด้วยแร่ท่ีมีผลึกขนาดเล็กหรือเล็กมาก ไม่
สามารถมองเห็นและจำาแนกผลึกได้ด้วยตาเปล่า เช่น
หินไรโอไลต์ ( เป็ นหินอัคนีพุซ่ึงเกิดจากการเย็นตัวของลาวาท่ีมี
ความหนืดมาก มีปริมาณซิลิกามากกว่า 66 เปอร์เซ็นต์ มีเน้ือละเอียดซ่ ึง
ประกอบด้วยผลึกแร่ขนาดเล็ก มีแร่องค์ประกอบเหมือนกับหินแกรนิต แต่ทว่า
ผลึกเล็กมากจนไม่สามารถมองเห็นได้ ส่วนมากมีสีชมพู และสีเหลือง

หินแอนดีไซต์ ( เป็ นหินอัคนีพุซ่ึงเกิดจากการเย็นตัวของลาวา


ท่ีมีความหนืดปานกลาง มีปริมาณซิลิกาอยู่ในช่วง 52-66 เปอร์เซ็นต์ เกิดใน
ลักษณะเดียวกับหินไรโอไรต์ แต่มีองค์ประกอบของแมกนีเซียมและเหล็ก
มากกว่า จึงมีสีเขียวเข้ม

หินบะซอลต์ ( เป็ นหินอัคนีพุ เน้ือละเอียด เกิดจากการเย็นตัว


ของลาวาท่ีมีความหนืดน้อย มีปริมาณซิลิกาอยู่ในช่วง 45-52 เปอร์เซ็นต์ มีสี
เข้มเน่ ืองจากประกอบด้วยแร่ไพร็อกซีนเป็ นส่วนใหญ่ อาจมีแร่โอลิวีนปนมาด้วย
เน่ ืองจากเกิดขึ้นจากแมกมาใต้เปลือกโลก หินบะซอลต์หลายแห่งในประเทศไทย
เป็ นแหล่งกำาเนิดของอัญมณี (พลอยชนิดต่างๆ) เน่ ืองจากแมกมาดันผลึกแร่ซ่ึง
อยู่ลึกใต้เปลือกโลก ให้โผล่ขึ้นมาเหนือพ้ืนผิว

หินออบซีเดียน (  เป็ นหินอัคนีพุชนิดหน่ ึงท่ีเกิดจากการเย็น


ตัวอย่างรวดเร็วจนผลึกมีขนาดเล็กมากจนถึงไม่มีเลย หินออบซีเดียนเป็ น
หินอัคนีพุท่ีมีเน้ือแก้วสีดำา

การปะทุแบบรุนแรง
การปะทุแบบรุนแรง เป็ นการปะทุแบบระเบิด เกิดตามปล่อง
ภูเขาไฟ ขณะท่ีแมกมาเกิดปะทุพ่นขึ้นมาด้วยแรง ระเบิดพร้อมกับฝ่ ุน
ก๊าซ เถ้า ไอน้ำา และชิน ้ วัตถุท่ีมีรูปร่างขนาดต่างๆ กันกระเด็นขึ้นไปบน
อากาศ ชิน ้ วัตถุเหล่านีอ ้ าจเป็ นเศษหินและแร่ เย็นตัวบนผิวโลกตกลงมา
สะสมตัวทำาให้เกิดแหล่งสะสมชิน ้ ภูเขาไฟ เม่ ือแข็งตัวจะเป็ นหินชิน ้
ภูเขาไฟหรือหินตะกอนภูเขาไฟ (  ได้แก่ หิน
ทัฟฟ์ ( หิ
 นแอกโกเมอเรต ( หินพัมมิซ
( หิ
 นสคอเรีย ( หินออบซีเดียน( เป็ นต้น
หินทัฟฟ์ ( เป็ นหินเถ้าภูเขาไฟ พบมากในบริเวณท่ีราบภาค
กลาง โดยพบเป็ นบริเวณแคบทางด้านตะวันตกตัง้แต่ด้านตะวันตกของ
จังหวัดอุทัยธานี จนถึงด้านตะวันออกของจังหวัดนครสวรรค์บริเวณ
เทือกเขาเพชรบูรณ์ และบริเวณฝั่ งทะเลภาคตะวันออก
หินแอกโกเมอเรต( 

หินพัมมิซ ( เป็ นหินแก้วภูเขาไฟชนิดหน่ ึงซ่ ึงมีฟองก๊าซ


เล็กๆ อยู่ในเน้ือมากมายจนโพรกคล้ายฟองน้ำา มีส่วนประกอบเหมือน
หินไรโอไลต์ มีน้ำาหนักเบา ชาวบ้านเรียกว่า หินส้ม ใช้ขัดถูภาชนะทำาให้
มีผิววาว

หินสคอเรีย ( เป็
 นหินแข็ง สาก เปราะ เบา และมีรูพรุน ไม่ทน
ต่อการสึกกร่อน ใช้ทำาหินสำาหรับขัด

ภูมิลักษณ์จากปรากฏการณ์ภูเขาไฟ

ปรากฏการณ์ภูเขาไฟและการปะทุของลาวายังผลให้เกิดภูมิลักษณ์หลัก
แบบคือ ท่ีราบสูง
บะซอลต์หรือท่ีราบลาวา เทือกเขาภูเขาไฟ ก้อนกรวดภูเขาไฟและแอ่ง
ภูเขาไฟรูปกระจาด 

 ท่ีราบสูงบะซอลต์ หรือท่ีราบ


ลาวา     
เกิดจากการปะทุลาวามหาศาลขึ้นมาตามรอยแตกและไหล่แผ่ซ่านเป็ นชัน

เหนือพ้ืนผิวโลก
กลายเป็ นท่ีราบบะซอลต์กว้างไพศาล มีการสะสมหนา บางแห่งหนา
กว่าเมตร เช่น ท่ีราบสูงแม่น้ำาโคลัมเบีย ปกคลุมหลายมลรัฐในตะวันตก
เฉียงเหนืออเมริกาภาพท่ีท่รี าบสูงเดคคาน ของ
อินเดีย และทีราบสูงปาราเน ในทวีปอเมริกาใต้


  เทือกภูเขาไฟ
เทือกเขาเหล่านีป ้ ระกอบด้วย ผลผลิตภูเขาไฟท่ีปะทุออกจากกลางปล่อง
และจำาแนกออก
เป็ นกรวยภูเขาไฟระเบิดหรือ กรวยกรวดภูเขาไฟ   กรวย
ภูเขาไฟสลับชัน ้
     
และ โดมลาวาภูเขาไฟ   หรือ กรวยลาวาภูเขาไฟ
  หรือ ภูเขาไฟรูปโล่   กรวยภูเขาไฟ
ระเบิดทัง้หลายเกิดขึ้นจากการปะทุระเบิดสืบต่อกันมาครัง้แล้วครัง้เล่า
ชัน
้ เอียงเทของตะกอนภูเขาไฟทับถมรอบปากปล่องภูเขาไฟ ทำาให้กรวย
แบบนีส ้ ูงกว่าเมตร และมักเป็ นผลจากการระเบิดภูเขาไฟเพียงครัง้เดียว
กรวยภูเขาไฟสลับชัน ้ เป็ นภูเขาไฟท่ม
ี ีความชัน ประกอบด้วยลาวาและ
วัสดุตะกอนภูเขาไฟท่ผ ี ุพัง
แบบผิวแผ่น เป็ นหลักฐานแสดงถึงช่วงท่ีมีการสงบลงและการปะทุ
ระเบิดสลับกัน ประกอบด้วย
หินหนืดพวกแอนดีไซต์ท่ีแทรกซอนขึ้นมาจากเปลือกโลกเช่น ภูเขาไฟวิ
สุเวียส ในอิตาลีและฟูจิยามาในญ่ีปุ่น


ภาพ หินหนืดท่แ
ี ทรกขึ้นมาทำาให้เกิดปรากฏการณ์ภเู ขาไฟชนิดรูปโล่และสลับชัน

จาก   
ปากปล่องภูเขาไฟ
คือท่ีลุ่มรูปปล่องบนยอดภูเขาไฟทะลุไปถึงใจกลางท่ีเกิดการระเบิดขึ้น
ปากปล่องส่วน
มากเกิดมาจากผลของปรากฏการณ์ภูเขาไฟระเบิด และเส้นผ่าศูนย์กลาง
ไม่ควรเกินกิโลเมตร หรือมีความลึกเกินกว่าร้อยเมตรโดมลาวาภูเขาไฟ
หรือภูเขาไฟรูปโล่กว้างไพศาล มีความลาดน้อย ลักษณะแสดงผิวบนนูน
มนน้อย ภูเขาไฟชนิดนีป ้ ระกอบด้วยหินหนืดบะซอลต์หลากชนิดท่ีคลุก
เคล้ากันมาก เกิดจากกลางปล่องหรือปะทุออกมาด้านข้างผ่านรอยแตก
ขึ้นมาจากชัน้ เน้ือโลก ได้แก่ ภูเขาไฟลูกใหญ่ของเกาะฮาวาย

 แอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด
เกือบเป็ นรูปวงกลม ท่ีลุ่มรูปแอ่งอยู่บนยอดภูเขาไฟและใหญ่กว่าปล่อง
ภูเขาไฟมาก มีด้วยกัน
ชนิด คือ ชนิดแรกเป็ นผลพวงมาจากปรากฏการณ์ระเบิดและอีกชนิด
เป็ นผลจากการยุบตัวหรือจม
ตัวลง แอ่งภูเขาไฟรูปกระจาดชนิดระเบิดมาจากผลของการระเบิดภูเขาไฟ
อย่างรุนแรง ทำาให้ปริมาณหินมหาศาลเคล่ ือนย้าย แอ่งภูเขาไฟรูป
กระจาดท่ย ี ุบตัวหรือจมตัวลงเป็ นผลจากท่ีส่วนบนของภูเขาไฟยุบตัวลง
เน่ ืองจากหินหนืดท่พ ี ยุงไว้ได้อ่อนตัวลงทันควัน เช่ ือว่าแอ่งภูเขาไฟรูป
กระจาดอาจเกิดจากทัง้ผลการระเบิดและยุบตัวลงก็ได้
และนานวันมีน้ำาขังก็กลายมาเป็ นทะเลสาบ ดังภาพ

ภาพ ทะเลสาบโอริกอน อยู่ในแอ่งภูเขาไฟรูปกระจาด ท่ีกว้าง กิโลเมตร บนยอดภูเขาไฟ


สลับชัน
้ จาก   
ภูเขาไฟฟูจิยามาท่ีสงบจาก   

ภูเขาไฟรูปโล่ในฮาวายจาก  

เอกสารอ้างอิง
http://tc.mengrai.ac.th/sinuan/li
nk/Se/p9.htm

www.lesa.in.th/geo/rocks/rocks.
htm

www.ipst.ac.th/science/vocano.h
tml

http://www.environnet.in.th/evd
b/info/diaster/disaster06.html

You might also like