You are on page 1of 140

Man and Sea 01255101

หัวข ้อนำเสนอ
- บรรยำกำศ - น้ ำทะเลและควำมเค็ม
- ลม - ควำมหนำแน่นของน้ ำทะเล
- พำยุหมุนเขตร ้อน - แสงในน้ ำทะเล
- แผ่นดินไหว - คลืน่
- ภูเขำไฟ - กระแสน้ ำในมหำสมุทร
- วงแหวนแห่งไฟ - ปรำกฏกำรณ์น้ ำขึน
้ -น้ ำลง
- วัฏจักรน้ ำ, ฝน, อุทกภัย - ธำตุอำหำร
บรรยากาศ
 อากาศ คือ กลุ่มก๊าซที่ห่อหุ้มโลกเอาไว้
 ชัน้ อากาศที่ห่อหุ้มโลกเรียกว่า บรรยากาศ ซึ่ง
อยู่สงู ขึน้ ไปประมาณ 500 กิโลเมตร
 อากาศจาเป็ นต่อการดารงชีวิตของสัตว์และพืช
ช่วยดูดซับรังสีอลุ ตราไวโอเลตและช่วยให้
อุณหภูมิของโลกอบอุ่นจนสิ่งมีชีวิตอยูไ่ ด้
องค์ประกอบหลักของอากาศ
✓ ก๊าซ : ไนโตรเจน ออกซิเจน อาร์กอน
คาร์บอนไดออกไซต์ ฯลฯ
✓ ของเหลว: ไอน้า
✓ ของแข็ง : ฝุ่ นละออง ละอองเกสร ควัน

Composition of dry air (Source: https://en.wikipedia.org/wiki/Atmosphere_of_Earth)


Wind (ลม)
• อากาศที่มีความหนาแน่นสู ง (อากาศเย็น) เคลื่อนไปยังจุดที่อากาศมี
ความหนาแน่นต่ากว่า (อากาศร้อน)
ความหนาแน่นของอากาศและอุณหภูมิ ลมแบบต่างๆ

**ลักษณะของความเร็วลม ประกอบไปด้วย ความแรง(speed)และทิศทาง(direction)


HOT AIR
COLD AIR
ความเร็วลม
 ตรวจวัดได้จากเครื่องมือวัดความเร็วลม (Anemometer) หน่วย : กิโลเมตรต่อชั่วโมง เมตรต่อวินาที
ไมล์ต่อชั่วโมง น๊อต (knot) ฯลฯ

แบบถ้วย แบบ ultrasonic

 คาดคะเนความเร็วจากการสังเกตสิ่งแวดล้อมเช่น มาตราโบฟอร์ด
(Beaufort scale)
มาตราโบฟอร์ด Beaufort scale
ประเภทของลม

 ลมประจำปี (Prevailing winds)


 ลมประจำเวลำ (Periodic wind)
 ลมประจำฤดูกำล (Monsoon)
 ลมประจำท้ องถิ่น (Local wind)
 พำยุหมุนเขตร้ อน (Tropical cyclone)
ลมประจาปี Prevailing winds
เป็ นลมที่พดั ไปในทิศทางคงที่ตลอดปี
เกิดจากการไหลเวียนถ่ายเทของอากาศระหว่างเขตร้อนกับเขตหนาว
 ลมสินค้า (Trade wind) พัดมาจากทิศตะวันออก มีทิศทางแน่ นอนและคงที่
พัดจากเขตละติจดู 30-35 องศามาเส้นศูนย์สูตร ใช้ในการเดินเรือสมัย
โบราณ
 ลมตะวันตก (Westerlies wind) พัดจากเขตละติจดู 30-35 องศาไปยัง 60-
65 องศา พัดแรงแต่ไม่สมา่ เสมอ ทิศทางไม่แน่ นอนแต่ส่วนใหญ่มาจากทิศ
ตะวันตก
 ลมขัว้ โลก (Polar wind) พัดพาความหนาวเย็นจากขัว้ โลกมายังเขต
ละติจดู 60-65 องศา
Prevailing winds
ลมประจาเวลา (Periodic wind)
ลมที่พดั เป็ นประจาช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ งในรอบวันอย่างเด่นชัด
ทิศทางสมา่ เสมอ รุนแรงไม่มากจึงเรียกว่า ลมพัดเบา (Breeze)
เกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิอากาศหรือพืน้ ดิน พืน้ น้า
 ลมภูเขา-ลมหุบเขา เกิดในบริเวณเทือกเขา
 ลมทะเล (Sea breeze) เกิดเวลากลางวัน พืน ้ ดินร้อนกว่าพืน้ น้า ลอยสูงสู่
เบือ้ งบน อากาศจากพืน้ น้าจึงพัดเข้าแทนที่ ลมจากทะเลพัดเข้าแผ่นดิน
 ลมบก (Land breeze) เกิดเวลากลางคืน พืน ้ ดินคายความร้อนเร็วกว่าพืน้
น้า จึงมีอณุ ภูมิตา่ กว่า พืน้ น้าที่รอ้ นกว่า อากาศจึงลอยสู่ด้านบน อากาศ
จากแผ่นดินจึงพัดเข้าแทนที่ ลมพัดจากแผ่นดินสู่ทะเล
ลมประจาเวลา (Periodic wind)
ลมทะเล

ลมบก
ลมประจาฤดูกาล : ลมมรสุม (Monsoon)
ลมที่พดั เป็ นประจาฤดูกาล
ทิศทางสมา่ เสมอ พัดทิศทางตรงกันข้ามเมื่อเปลี่ยนฤดู
ประเทศไทยมีลมมรสุม 2 ชนิด
 ลมมรสุมตะวันตกเฉี ยงใต้ (พ.ค.–ต.ค.) ฤดูฝน พัดจากมหาสมุทรอินเดียสู่
แผ่นดิน หอบเอาน้า ความชื้นสู่แผ่นดิน พัดจากทฺสตะวันตกเฉี ยงใต้สู่
แผ่นดินไทย
 ลมมรสุมตะวันออกเฉี ยงเหนื อ (ต.ค.–ก.พ.) ฤดูหนาว พัดจากแผ่นดินจีนสู่
ประเทศไทย พัดเอามวลอากาศเย็น ความแห้งแล้งจากทิศ
ตะวันออกเฉี ยงเหนื อลงมา พัดผ่านอ่าวไทยสู่ภาคใต้กจ็ ะมีฝนหนาวเย็น
เกิดขึน้
Monsoon in Thailand

ลมมรสุมตะวันตกเฉี ยงใต้ ลมมรสุมตะวันออกเฉี ยงเหนื อ


ลมประจาท้องถิ่น (Local wind)
ลมที่เกิดขึ้นภายในท้องถิ่นบริเวณใดบริเวณหนึ่ งโดยเฉพาะ
 ลมตะเภา พัดจากทิศใต้ไปทิศเหนือ พัดจากอ่าวไทยสู่ภาคกลาง
ตอนล่าง (ก.พ. –เม.ย.) นาความชืน้ สู่ภาคกลาง สมัยโบราณจะช่วย
พัดเรือสาเภามาค้าขายในแม่น้าเจ้าพระยา
 ลมว่าว ลมเย็นทีพ่ ดั จากภาคเหนือมาตามลุ่มแม่น้ าเจ้าพระยา (ก.ย.-
พ.ย.) ชาวบ้านเรียก ลมข้าวเบา เพราะพัดในช่วงข้าวเบากาลังออก
รวง
 ลมพัทยา ลมร้อนและชุ่มชืน้ จากทิศตะวันตกเฉียงใต้ไปทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือ (ต้น พ.ค.)
www.windyty.com
พำยุหมุนเขตร้ อน (Tropical cyclone)

 พำยุทมี่ ลี มพัดหมุนเวียนเข้ ำหำศู นย์ กลำงทีม่ คี วำมกดอำกำศตำ่ กว่ ำ


 เกิดเฉพำะบริเวณมหำสมุทรในเขตร้ อน อุณหภูมขิ องผิวนำ้ ทะเล สู งกว่ ำ 26.5 องศำ
 ศูนย์กลางมีความกดอากาศตา่ กว่าบริเวณรอบมาก ทาให้อากาศเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง และ
พัดโค้งเข้าหาศูนย์กลาง
 ซีกโลกเหนื อ: พัดทิศทวนเข็มนาฬิกา
 ซีกโลกใต้: พัดทิศตามเข็มนาฬิกา
พายุหมุนเขตร้อน (Tropical cyclone)

Haiyan Typhoon 2013


ประเภทของพายุหมุนเขตร้อน ความเร็วลม ( km/h )

พายุดเี ปรสชัน่ (Depression) ไม่เกิน 63


พายุโซนร้อน (Tropical storm) 63-118
พายุไต้ฝนุ่ (Typhoon) * มากกว่า 118

ตาพายุ

Typhoon
Saffir-Simpson Hurricane Scale
Haiyan Typhoon 2013
It is the deadliest Philippine
typhoon on record, killing at least
6,300 people.
ชื่ อนั้นสำคัญไฉน ?
แหล่งกำเนิด ชื่ อท้องถิ่น
มหำสมุทรแอตแลนติก เฮอร์ ริเคน (Hurricane)
มหำสมุทรแปซิฟิกตะวันออก
มหำสมุทรแปซิฟิกตะวันตก ไต้ ฝุ่น (Typhoon)
มหำสมุทรอินเดีย อ่ ำวเบงกอล ไซโคลน (Cyclone)
กำรตั้งชื่ อพำยุหมุนเขตร้ อนในแอตแลนติก
 เดิมใช้ ชื่อสตรี เรียงตำมอักษร A-Z
 ปัจจุบันใช้ ชื่อบุรุษร่ วมด้ วยเพื่อควำมเสมอภำค
กำรตั้งชื่ อพำยุหมุนเขตร้ อนในแปซิฟิกตะวันตก
 ตั้งชื่ อโดยประเทศทีอ่ ยู่ในแถบแปซิฟิกด้ ำนตะวันตกตอนบน และทะเล
จีนใต้ 14 ประเทศ
 ใช้ ภำษำพืน้ เมืองของแต่ ละประเทศ
 เสนอชื่ อพำยุมำประเทศละ 10 ชื่ อรวม 140 ชื่ อ แล้ วแบ่ งเป็ น 5 กลุ่ม ๆ ละ
28 ชื่ อ เมื่อเกิดพำยุกจ็ ะใช้ ชื่อกลุ่มแรกไปเรื่ อยจนหมดจึงใช้ กลุ่มต่ อไป
ชื่ อพำยุหมุนเขตร้ อนในแปซิฟิกตะวันตก (กลุ่ม 1)
ชื่ อพำยุหมุนเขตร้ อนในแปซิฟิกตะวันตก (กลุ่ม 2)
Pabuk 2019 track

ความเร็ วลม 65-95 km/h


พายุนาคเล่นน้า พายุงวงช้าง (Waterspout)
หัวข ้อนำเสนอ
- บรรยำกำศ - น้ ำทะเลและควำมเค็ม
- ลม - ควำมหนำแน่นของน้ ำทะเล
- พำยุหมุนเขตร ้อน - แสงในน้ ำทะเล
- แผ่นดินไหว - คลืน่
- ภูเขำไฟ - กระแสน้ ำในมหำสมุทร
- วงแหวนแห่งไฟ - ปรำกฏกำรณ์น้ ำขึน
้ -น้ ำลง
- วัฏจักรน้ ำ, ฝน, อุทกภัย - ธำตุอำหำร
แผ่นดินไหว (Earthquake)
คือ ปรากฏการณ์ ทางธรณี วิทยาที่เกิดจากการเคลื่อนที่ ของแผ่น
เปลือกโลกอย่างผิดปกติในทันทีทนั ใด อาจเคลื่อนไหวเพียง
เล็กน้ อยหรือเฉี ยบพลัน
แบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
 แผ่นดินไหวตามธรรมชาติ เช่น การเคลื่อนตัวอย่างเฉี ยบพลัน
ของเปลือกโลก การระเบิดของภูเขาไฟ อุกาบาตตก อุโมงค์ใต้ดิน
ยุบตัว
 แผ่นดินไหวจากการกระทาของมนุษย์ เช่น การระเบิดนิวเคลียร์
ใต้ดิน การยุบตัวของเขื่อน การยุบตัวของเหมืองแร่
การเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกอย่างผิดปกติในทันทีทนั ใด
ระดับของแผ่นดินไหว
 ระดับความรุนแรงแผ่นดินไหวสามารถวัดได้ด้วยเครื่องวัด
ความสันสะเทื
่ อน (Seismograph)
ระดับของแผ่นดินไหว
มาตรวัดความรุนแรงของแผ่นดินไหว แบ่งได้เป็ น
 แบ่งตามความรุนแรง (Intensity scale)
 มาตราเมร์กลั ลี (Mercalli scale)
 มาตรายุโรป (European macroseismic scale)
 แบ่งตามขนาด (Magnitude scale)
 มาตราริคเตอร์ (Richter magnitude scale)
 มาตราโมเมนต์แมกนิจดู (Moment magnitude scale)
มาตราริคเตอร์ (Richter magnitude scale)
สิ่งที่ควรระวัง

 After chock
 โคมไฟฟ้ า
Sichuan earthquake 2008
7.9 Moment magnitude scale
Kumamoto earthquake 2016
7.0 Moment magnitude scale
Kumamoto earthquakes 2016
ปัจจัยที่มีผลต่อความรุนแรงของแผ่นดินไหว
 ระดับของแผ่นดินไหว
 ความลึกของศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (focus)
 ระยะห่างจากจุดเหนื อศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (epicenter)
 แนวแตกของรอยเลื่อน (surface rupture)
ภูเขาไฟ (Volcano)
คือ ลักษณะทางธรณี สณั ฐานที่เกิดขึ้นจากการปะทุของหินหลอมเหลว
แรงดันสูงภายใต้เปลือกโลก (magma) ดันตัวผ่านผิวโลกขึ้นมา
พบบ่อยตามแนวรอยต่อของแผ่นเปลือกโลกและตามจุดศูนย์รวม
ความร้อน (hot spot) ใต้พื้นมหาสมุทรที่ปะทุเป็ นเกาะภูเขาไฟ
Major volcanoes
ภูเขาไฟระเบิด
เป็ นภัยพิบตั ิ ทางธรรมชาติที่รา้ ยแรงอย่างหนึ่ ง ก่อให้เกิด
 ลาวา
 เถ้าถ่านและฝุ่ น
 แผ่นดินไหว
 คลื่น Tsunami
 การระเบิดของภูเขาไฟ
Krakatoa ในประเทศ
อินโดนีเซีย เมือ่ วันที่ 26-27
สิงหาคม 1883
 การระเบิดครัง้ นัน้ รุนแรงมาก มี
เถ้าภูเขาไฟกระจายออกมาอย่าง
มากมาย และฟุ้งกระจายไปทัวโลก ่
เนื่องจากกระแสลม
การปกคลุมของเถ้าภูเขาไฟ จาก
การระเบิดในครัง้ นัน้ ส่งผลต่อ
สภาพอากาศทัวโลก ่ หลังจากนัน้
ไปอีกหลายปี
 อุณหภูมเิ ฉลีย่ ในหน้าร้อน ของซีกโลกเหนือ ในปี ถดั ๆมา ลดลงถึง 1.2 องศาC และใช้
เวลาถึง 5 ปี กว่าจะกลับสูส่ ภาวะปกติในปี 1888
 ผลพวงจาก อนุภาคในเถ้าภูเขาไฟ ทาให้ทอ้ งฟ้ าในช่วงตะวันตกดิน กลายเป็ นสีแดง
ราวกับเพลิงไหม้ มีรายงานว่า ใน New York ผูค้ นพากันเรียกรถดับเพลิง เพราะ
ต่างเข้าใจผิดคิดว่าไฟไหม้จริงๆ
 เมื่อไม่นานมานี้ เพิง่ มีการตัง้ ข้อ
สันนิษฐานว่า ท้องฟ้ าสีแดงเพลิง
ในภาพเขียนชื่อดัง The
Scream ของ Edvard
Munch ซึง่ อยูท่ ป่ี ระเทศ
Norway และวาดภาพนี้ในปี
1893 ก็น่าจะเกิดจาก เถ้าภูเขา
ไฟจากการระเบิดในครัง้ นัน้
นั ่นเอง
Eruption of Mount Vesuvius
Pompeii
Pompeii
วงแหวนแห่งไฟ (Ring of fire)
➢ หรือวงแหวนแห่งไฟแห่งแปซิฟิก (Pacific ring of fire)
➢ คือบริเวณรอยต่อของแผ่นเปลือกโลกและแนวร่องลึกมหาสมุทรในสมุทร
แปซิฟิก
➢ รูปร่างคล้ายเกือกม้าโค้งไปตามขอบมหาสมุทร ยาวกว่า 4,000 km
➢ เกิดแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดบ่อยที่สุดในโลก
➢ บริเวณนี้ มีภเู ขาไฟ 425 ลูก 75% เป็ น active volcano (ภูเขาไฟมีพลัง)
➢ ประเทศที่ตงั ้ อยู่ในแนววงแหวนไฟ คือ บราซิล เปรู ชิลี เม็กซิโก
สหรัฐอเมริกา แคนาดา รัสเซีย ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ อินโดนี เซีย ติมอร์
ตะวันออกและนิวซีแลนด์ เป็ นต้น
หัวข ้อนำเสนอ
- บรรยำกำศ - น้ ำทะเลและควำมเค็ม
- ลม - ควำมหนำแน่นของน้ ำทะเล
- พำยุหมุนเขตร ้อน - แสงในน้ ำทะเล
- แผ่นดินไหว - คลืน่
- ภูเขำไฟ - กระแสน้ ำในมหำสมุทร
- วงแหวนแห่งไฟ - ปรำกฏกำรณ์น้ ำขึน
้ -น้ ำลง
- วัฏจักรน้ ำ, ฝน, อุทกภัย - ธำตุอำหำร
WATER
H2 O
วัฏจักรของน้า
ฝน (Rain)
เป็ นปรากฏการณ์ ที่เกิดจากไอน้าในอากาศหรือเมฆจับตัวกันจนมี
น้าหนักและตกลงมาเป็ นหยดน้าขนาดใหญ่ หิมะ ลูกเห็บหรือน้าค้าง
ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดฝน
 ปริมาณไอน้าในอากาศ - ยิ่งมีไอน้ามาก น้าฝนก็ยิ่งมากและตกบ่อย
 อุณหภูมิ - อุณหภูมิสงู น้ากลายเป็ นไอมากขึ้น อุณหภูมิลดตา่ ไอน้า
รวมตัวกันเป็ นเมฆและหยดน้า
 ลม - พัดพาละอองน้าไปรวมตัวกันตามบริเวณต่างๆ
 ภูเขาและป่ าไม้ - ภูเขาสูงเปรียบเสมือนกาแพงกัน้ ให้ไอน้ามารวมตัว
กัน ในขณะที่ป่าไม้จะคายไอน้า ทาให้อณุ หภูมิลดตา่ ลง ไอน้ารวมกัน
เป็ นหยดน้าตกลงสู่พื้นโลก
สัดส่วนของน้าในโลก
ความเค็ม (Salinity)

Sea water : 3.5% salinity


ความเค็ม (Salinity)
 ความเค็มของน้ าทะเล วัดได้จากปริมาณของเกลือ (โดยน้ าหนัก)
ทีล่ ะลายอยูใ่ นน้ าทะเล
 น้ าทะเล 1,000 g มีเกลืออยู่ 35 g สามารถแสดงในหน่วย
 35 ppt (parts per thousand = ส่วนต่อพันส่วน = %๐)
 3.5% (percent = ส่วนต่อร้อยส่วน)
 35 PSU (practical salinity units = การวัดจากค่าความนาไฟฟ้ า)
ที่มำของเกลือในทะเล
Volcanic activity:
Chemical weathering of rocks (dissolved load) outgassing
What factors may change the salinity?

Precipitation
ความเค็ม (Salinity) มีผลต่อความหนาแน่ น(density)
เค็มมาก → หนาแน่นมาก

น้าทะเลมีแร่ธาตุละลายอยู่
จึงมีความหนาแน่ นกว่าน้า
จืด ทาให้วตั ถุที่มีความ
หนาแน่ นน้ อยกว่าน้าทะเล
สามารถลอยอยู่ได้
Blue whale
วาฬสีน้าเงิน มีความยาว 30 เมตร และหนักได้ถงึ 180 เมตริกตัน
The Dead Sea ทะเลแห่งมรณะ
337 ppt salinity with greater density

อิสราเอลและจอร์แดน
แสงในน้าทะเล

โลกสีคราม
OCEAN WAVE คลื่นในมหาสมุทร
ต้นกาเนิดของคลื่น
คลื่นลม

• ลม พายุ แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิด แผ่นดินใต้น้าถล่ม


• การเปลี่ยนแปลงความกดอากาศอย่างรวดเร็ว
 เมื่อคลื่นเข้าสู่บริเวณน้าตื้นกว่าฐานคลื่น ฐานคลื่นจะสัมผัสพื้น
ทะเลทาให้ความเร็วลดลง มวลน้าเคลื่อนที่เป็ นรูปวงรี เกิดการ
เคลื่อนไหวไปมาของพื้นก่อให้เกิดรอยริ้วคลื่น (ripple)
พลังงานจากคลื่น
พลังงานจากคลื่น
Storm surge (คลื่นพายุซดั ฝัง่ )
before

after
Tsunami
 เป็ นคลื่นทีเ่ กิดจากแผ่นดินไหวใต้น้ า หรือแผ่นดินถล่มใต้น้ า
 จุดเกิดแผ่นดินไหวคือ รอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลก เมือ่ เกิดแล้ว
สามารถทานายได้ว่าจะเกิดคลื่นซึนามิเคลื่อนทีไ่ ปทางใด
 ในบริเวณน้ าลึกคลื่นมีความเร็วประมาณ 750 กม./ชม. ความยาวคลื่น
ประมาณ 150 กม. ในขณะทีค่ วามสูงของคลื่น 30-40 ซม. เท่านัน้
 คลื่นเมือ่ ถึงน้ าตืน้ ความสูงจะเพิม่ ขึน้ มากถึง 10-20 เมตร สามารถทา
ความเสียหายกับชีวติ และสิง่ ปลูกสร้างชายฝั ง่ ได้มาก
TSUNAMI
ก่อนคลื่นมา น้ าทะเลจะลดระดับลงอย่างรวดเร็ว
(Tsunami 2004, Thailand)
Touhoku earthquake 2011, Magnitude 9.0–9.1, Depth 29 km
Sulawesi earthquake, Indonesia
October 2, 2018
Magnitude 7.5
Depth 20.0 km
Anak Krakatau volcano eruption, 24 December 2018
กระแสน้าในมหาสมุทร
กระแสน้าผิวหน้ามหาสมุทร (Surface ocean currents) เกิดจากกระแสลมทาให้เกิด
การหมุนวนรอบโลก
กระแสน้าลึกพืน้ มหาสมุทร (Deep ocean currents) เกิดจากความแตกต่างของอุณหภูมิ
ความเค็ม และความหนาแน่นน้าทะเล
ทัง้ กระแสน้าผิวหน้าและกระแสน้าลึกพืน้ สมุทรจะเชือ่ มต่อกัน เปรียบได้กบั สายพานขนาด
ใหญ่
The great ocean conveyor belt
อิทธิพลของกระแสนา้ ในมหาสมุทร ส่งผลต่อ
 อุณหภูมิ - กระแสน้าอุ่นจะพาความอบอุ่นไปเขตหนาว
 ความชื้นในอากาศ - ลมพัดผ่านกระแสน้าอุ่นจะพาความชุ่มชืน้ สูแ่ ผ่นดิน
เกิดเป็ นฝน

 ความอุดมสมบูรณ์ ในทะเล - กระแสน้านาพาสารอาหารและแร่ธาตุเบือ้ ง


ล่างมาเป็ นอาหาร, พัดพาสิง่ มีชวี ติ ล่องลอยไปตามน้า ประหยัดพลังงานในตัวสิง่ มีชวี ติ

 การคมนาคมขนส่ง – แล่นเรือตามกระแสน้า, กระแสน้าเย็นพัดพาภูเขา


น้าแข็งเข้ามา
เอนโซ่ (ENSO)
 เอลนีโญ (El Niño) + ลำนีญำ (La Niña)
 ควำมผันแปรของระบบอำกำศในซีกโลกใต้ (Southern Oscillation) ซึ่ง
เป็ นปรำกฏกำรณ์ทมี่ ีควำมสั มพันธ์ เชื่ อมโยงกันระหว่ำงปรำกฏกำรณ์ใน
มหำสมุทร (นำ้ ) และบรรยำกำศ (ลม)
El Niño - La Niña

สภำวะปกติ

เอลนีโญ (El Niño) ลำนีญำ (La Niña)


Rip current กระแสน้าย้อนกลับ
เป็ นกระแสน้าทีพ่ ดั ในแนวตัง้ ฉากกับชายฝั ง่ ออกสูท่ ะเล เกิดจากแนวสันทรายหรืออุปสรรค
ใต้น้า ปิ ดกัน้ มิให้ไหลกลับคืนท้องทะเลได้สะดวกนอกจากบางช่องทางเท่านัน้
หรือเกิดจากการทีน่ ้าไหลพัดสอบมาปะทะแล้วไหลย้อนกลับออกไปในทะเล

สันทราย สันทราย
น้าขึน้ -น้าลง (Tide)
 เกิดขึน้ จากแรงดึงดูดระหว่างโลก-ดวงจันทร์-ดวงอาทิตย์
 ดวงอาทิตย์มอี ทิ ธิพลน้อยกว่าดวงจันทร์ประมาณครึง่ หนึ่ง
นา้ เกิด-นา้ ตาย

Spring tide Neap tide Spring tide Neap tide


นา้ เกิด นา้ ตาย นา้ เกิด นา้ ตาย
http://www.hydro.navy.mi.th/servicestide.htm
Bay of Fundy, Canada
พลังงานจากนา้ ขึน้ -นา้ ลง
นำ้ ทะเลหนุน-นำ้ เบียด

น้ าขึน้ ให้รบี ตัก!!


ธาตุอาหาร
 ธาตุอาหารจาเป็ นสาหรับผูผ้ ลิตแห่งท้องทะเล (สาหร่าย, แพลงก์ตอน)
 ธาตุอาหารส่วนใหญ่มกั จมตัวอยู่ด้านล่าง และถูกพัดวนขึ้นมาด้านบน
ด้วย กระบวนการน้าผุด (up-welling)
ธาตุอาหาร
 ขี้ปลาวาฬ, น้าเปลี่ยนสี (Red tide, Plankton bloom) – ปรากฏการณ์
แพลงก์ตอนพืชเพิ่มจานวนอย่างรวดเร็วเนื่ องจากมีธาตุอาหารมาก
 ทาให้ออกซิเจนลดลง สัตว์น้าและปลาตาย
ขี้ปลาวาฬ (Red tide)
Noctiluca
การศึกษาทางสมุทรศาสตร์
 การสารวจมหาสมุทรครัง้ ยิง่ ใหญ่ของโลกโดยเรือ H.M.S Challenger
(1872 - 1876 Sir John Murray )
 คาว่า สมุทรศาสตร์ (Oceanography) มาใช้เป็ นครัง้ แรก กลายเป็ น
ศาสตร์หนึ่งซึง่ เกีย่ วข้อง กับการศึกษาวิจยั ท้องทะเล
 ประเทศไทย หน่ วยงานทีด่ าเนินการศึกษาสมุทรศาสตร์ คือ กรมอุ ทก
ศาสตร์ กองทัพเรือ สาหรับ สถาบันการศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์ทาง
ทะเลโดยตรง ได้แก่ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล
สมุทรศาสตร์ (Oceanography)
 ศึกษาเกีย่ วกับปรากฏการณ์ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมของ
มหาสมุทรอย่างเป็ นระบบ

 เพือ่ ทราบถึงคุณสมบัตแิ ละขบวนการทีเ่ กิดขึน้ ในมหาสมุทรจน


สามารถนาความรูท้ ไ่ี ด้มาใช้ในการทานายสิง่ จะเกิดขึน้ ใน
มหาสมุทรได้อย่างแม่นยา
สมุทรศาสตร์ แบ่งได้เป็ น 5 วิชา
 สมุทรศำสตร์ กายภาพ (Physical Oceanography) ศึกษาลักษณะทาง
กายภาพของทะเล
 สมุทรศำสตร์ เคมี (Chemical Oceanography) ศึกษาส่วนประกอบน้ า
ทะเลและกระบวนการทางเคมีตา่ งๆ
 สมุทรศำสตร์ ชีวภำพ (Biological Oceanography) ศึกษากระบวนการ
ทางชีววิทยา สิง่ มีชวี ติ ในทะเล ความอุดมสมบูรณ์ในทะเล
 สมุทรศำสตร์ ธรณี (Geological Oceanography) ศึกษาธรณีของพืน ้
ทะเล โครงสร้าง จุดกาเนิด
 สมุทรศำสตร์ อุตุนิยมวิทยำ (Meteorological Oceanography) ศึกษา
ปฏิสมั พันธ์ระหว่างบรรยากาศและผิวหน้าน้าทะเล ทัศนวิสยั ในทะเล

You might also like