You are on page 1of 19

The Andaman Sea

ทะเลอันดามัน
อันดามัน

“อันดามัน” นัน้ มีตน้ รากมาจากคาว่า “หัวละมาน” ในภาษาอินเดียที่หมายถึงหนุมาน ตัวละครเอกในเรือ่ งรามเกียรติว์ รรณกรรมยิ่งใหญ่


โดยเฉพาะตอนพระรามจองถนน ซึง่ เป็ นตอนพระรามจะกรีฑาทัพไปรบกับทศกัณฐ์ที่กรุงลงกา ซึง่ จะต้องข้ามนา้ ข้ามทะเล
พระรามจึงสั่งให้สคุ รีพเป็ นผูน้ าพาไพร่พลไปสร้างถนน
ลักษณะภูมิประเทศและภูมิสัณฐานบริเวณทะเลอันดามัน

• ทะเลอันดามันเป็ นส่วนหนึ่งของไหล่ทวีปของมหาสมุทรอินเดีย
มีลกั ษณะเป็ นแอ่งกึ่งปิ ด
• เป็ นชายฝั่งทะเลจมตัวที่มีลกั ษณะเป็ น marginal sea คือ
ล้อมรอบด้วยแผ่นดิน เกาะ หรือคาบสมุทร มีสว่ นเปิ ดที่ติดต่อ
กับทะเลเปิ ดที่ผิวนา้ และอาจมีสนั เขาใต้ทะเล
• ตัง้ อยูท่ างตะวันออกของอ่าวเบงกอล ที่ละติจดู 6° ถึง 14°
เหนือ ลองจิจดู 93° ถึง 99° ตะวันออก
• อาณาเขตด้านเหนือหรือด้านบนของทะเลอันดามันติดต่อกับ
แผ่นดินส่วนดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่นา้ อิระวดี ทิศ
ตะวันออกเป็ นคาบสมุทรมาเลย์ ทางตะวันตกของทะเลอัน
ดามันเป็ นที่ตงั้ ของหมู่เกาะนิโคบาร์และสุมาตราซึ่งเป็ นแนวกัน้
ทะเลอันดามันกับอ่าวเบงกอล ส่วนด้านใต้เป็ นส่วนปลายของ
เกาะสุมาตราและช่องแคบมะละกา
(Source: Brown, 2007)
ลักษณะภูมิประเทศและภูมิสัณฐานบริเวณทะเลอันดามัน
• ทะเลอันดามันเป็ นแอ่งที่เกิดจากการเคลื่อนไหวของเปลือกโลก
(tectonic basin) มีความยาวในแนวเหนือ-ใต้ประมาณ
1,200 กม. ส่วนกว้างทีส่ ุดตามแนวตะวันออก-ตะวันตกมี
ระยะทางประมาณ 650 กม. เป็ นพืน้ ที่ทงั้ หมดประมาณ
797,700 ตร.กม.
• ลักษณะภูมปิ ระเทศที่สาคัญในทะเลอันดามัน คือ ลาดทวีป
(continental slope) เอียงลาดไปทางทิศตะวันตกจนกระทั่งไป
ต่อกับตะพักลุ่มนา้ ที่ระดับความลึกประมาณ 2,435 เมตร โดย
ที่ความลาดเอียงจะค่อยๆ ลดลงไปจนกระทั่งถึงระดับความลึก
ประมาณ 2,670 เมตร ต่อจากนัน้ จึงเป็ นแอ่งที่ชนั ในระดับความ
ลึกประมาณ 3,035 เมตร ซึ่งเป็ นท้องแอ่งของทะเลอันดามัน
กลาง (Central Andaman Trough) มีความลึกเฉลี่ย 870
เมตร และส่วนทีล่ ึกทีส่ ุดมีความลึกถึง 3,777 เมตร

ทีม่ า: กรมทรัพยากรธรณี, ทีม่ าของภาพ: Brown, 2007)


สภาพลักษณะธรณีแปรสัณฐาน (Tectonic setting)
ของทะเลอันดามัน พบแนวการเกิดแผ่นดินไหว 2 แนว ได้แก่

1) แนวเขตมุดตัวของเปลือกโลก (Subduction zone) ที่เกิดจาก


การชนกันของเพลตออสเตรเลียน (Australian plate) กับเพลต
ยูเรซียน (Eurasian plate)

2) รอยเลื่อนในแนวระดับ (Strike-slip fault) ซึง่ ขนานและอยู่


ทางด้านตะวันออกของแนวเขตมุดตัวของเปลือกโลก

หมายเหตุ
MM: ประเทศพม่า TH: ประเทศไทย AI: หมู่เกาะอันดามัน
NI: หมู่เกาะนิโคบาร์ NS: สุมาตราเหนือ Subduction zone:
แนวเขตมุดตัวของเปลือกโลก Fault zone: แนวรอยเลื่อน
ทีม่ า: กรมทรัพยากรธรณี, ทีม่ าของภาพ: USGS/NEIC, 2001)
การไหลเวียนของกระแสนา้ (surface current) ในทะเลอันดามัน
ที่เกิดจากกระแสนา้ ขึน้ - นา้ ลง ลมและการถ่ายเทความร้อน

 กระแสนา้ ในทะเลอันดามันในช่วงมรสุมมีความแรงต่ากว่าในช่วงเปลี่ยนมรสุม
 ในช่วงมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ (ธ.ค. – พ.ค.) กระแสนา้ ในทะเลอันดามัน
มีทิศจากใต้ไปทางเหนือและตะวันตกเฉียงเหนือ เนื่องจากมี North equatorial
Current ที่มีความเร็ว 0.3 เมตร/วินาที ไหลจากช่องแคบมะละกาผ่านทะเลอันดา
มันไปยังศรีลงั กา
 ในช่วงมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ (มิ.ย. – พ.ย.) โดยเฉพาะในช่วงเดือน
กรกฎาคมถึงเดือนกันยายนกระแสนา้ northern Indian Ocean (ความเร็ว 0.7
เมตร/วินาที) ไหลจากอ่าวเบงกอลเข้าสูท่ ะเลอันดามัน
 ช่วงเปลี่ยนมรสุมทัง้ สองช่วงมีกระแสนา้ Indian Equatorial current ที่มีความเร็ว
1.0-1.3 เมตร/วินาที ไหลจากทิศตะวันออกเข้าสูท่ ะเลอันดามัน
การขึน้ -ลงของนา้ ทะเลในทะเลอันดามัน

 มีลกั ษณะเป็ นแบบนา้ คู่ หรือ นา้ ขึน้ ลงวันละ 2 ครั้ง (Semidiurnal Tide)
 โดยมีระดับการขึน้ ลงของนา้ ณ สถานีตรวจวัดของกรมอุทกศาสตร์กองทัพเรือที่
ปากนา้ ระนองและจังหวัดภูเก็ต มีนา้ ขึน้ เฉลี่ย (Mean High Water) เท่ากับ
+0.60 และ +0.56 เมตร และนา้ ลงเฉลี่ย (Mean Low Water) เท่ากับ -1.12 และ
-1.17 เมตรจากระดับนา้ ทะเลปานกลาง ตามลาดับ
 ช่วงความแตกต่างของนา้ ทะเล (Tidal Range) เท่ากับ 1.73 เมตร อันจะส่งผลต่อ
การใช้ประโยชน์ ของพืน้ ที่ชายฝั่งโดยเฉพาะอย่างยิ่งการคมนาคมขนส่งทางนา้
การเพาะเลีย้ งชายฝั่งและกิจกรรมด้านการท่องเที่ยวอื่น ๆ ของชายฝั่ งทะเล
จังหวัดติดทะเลอันดามัน
พืน้ ที่ ความยาวชายฝั่ ง
จังหวัด จานวนเกาะ จานวนหาด
(ตร.กม.) (กม.)
1. ระนอง 3,298.05 172.51 56 9
2. พังงา 4,170.90 235.78 155 47
3. ภูเก็ต 543.03 202.83 37 25
4. กระบี่ 4,708.51 203.79 154 30
5. ตรัง 4,917.52 135.03 54 17
6. สตูล 2,478.98 161.38 106 33
รวม 20,117.44 1,111.32 562 161

ทีม่ าข้อมูล: http://www.mkh.in.th/


ลักษณะภูมปิ ระเทศพืน้ ทีก่ ลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ั งอันดามัน

• มีพืน้ ที่เป็ นแนวทอดยาวตามชายฝั่ งทะเลอันดามันทางทิศตะวันตก


ของประเทศ ตัง้ อยูบ่ นพืน้ ที่ลมุ่ นา้ ภาคใต้ฝ่ ั งตะวันตก

• ลักษณะภูมิประเทศด้านตะวันตกมีแนวเทือกเขาพาดผ่าน จาก
จังหวัดระนองลงมาถึงจังหวัดพังงา ซึง่ เป็ นต้นกาเนิดแม่นา้ สาย
ต่างๆ แม่นา้ และลานา้ มีความยาวไม่มากนักและไหลลงสู่ทะเลอัน
ดามันไปทางทิศตะวันตกและตะวันตกเฉียงใต้เป็ นส่วนใหญ่

• ลักษณะภูมิประเทศเกิดจากแผ่นดินยุบตัวลงไป ทาให้ชายฝั่ งทะเล


โค้งเว้ามีอา่ วและเกาะเล็กๆ มากมาย จากลักษณะภูมิประเทศที่มี
ความหลากหลายและสวยงามดังกล่าว ทาให้พืน้ ที่กลุม่ จังหวัด
ภาคใต้ฝ่ ั งอันดามัน เหมาะแก่การพัฒนาให้เป็ นแหล่งท่องเที่ยวทาง
ธรรมชาติในระดับนานาชาติ
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง

เกาะ
ในพืน้ ที่กลุม่ จังหวัดภาคใต้ฝ่ ั งอันดามันที่มีศกั ยภาพสูง
เพื่อการอนุรกั ษ์และพัฒนาเป็ นแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล
ส่วนใหญ่จะตัง้ อยูใ่ นน่านนา้ ภายในและทะเลอาณาเขต
มีลักษณะเป็ นเกาะริมทวี (Continental Island) ที่
เป็ นทัง้ เกาะสันดอน (Barrier Island) ใกล้ฝ่ ั ง และเกาะ
ไกลฝั่ ง มีจานวนรวมทัง้ หมด 562 เกาะ อยูใ่ นจังหวัด
ระนอง 56 เกาะ จังหวัดพังงา 155 เกาะ จังหวัดภูเก็ต
37 เกาะ จังหวัดกระบี่ 154 เกาะ จังหวัดตรัง 54 เกาะ
และจังหวัดสตูล 106 เกาะ
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง
แหล่งปะการัง
พืน้ ที่กลุม่ จังหวัดภาคใต้ฝ่ ั งอันดามัน มีแหล่งปะการังที่ก่อตัวใน
3 บริเวณ คือ
• บริเวณพืน้ ราบ (Reef Flat) ที่อยูใ่ กล้ชายฝั่ งในเขตนา้ ตืน้
และอาจโผล่พน้ นา้ ในช่วงนา้ ลง จึงเป็ นปะการังที่มีการ
ปรับตัว ต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมได้ดี
• บริเวณสันหรือไหล่ของแนวปะการัง (Reef Edge
หรือ Reef Crest) เป็ นบริเวณแคบ ๆ ที่อยูถ่ ดั จากบริเวณ
พืน้ ราบ เมื่อนา้ ลงเต็มที่จะอยูใ่ นลักษณะปริม่ นา้ และมัก
ได้รบั ผลกระทบจากคลื่นค่อนข้างรุนแรง
• บริเวณลาดชัน (Reef Slope) เป็ นแนวปะการังที่อยู่
บริเวณนอกสุดและลาดลงพืน้ ที่ดา้ นล่างที่เป็ นเขตนา้ ลึก
เป็ นบริเวณที่มีชนิดของปะการังมากกว่าบริเวณอื่น
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง

แหล่งปะการัง สถานภาพแนวปะการังในประเทศไทย พ.ศ. 2561


หน่วย : ไร่
พ.ศ. 2561
พืน้ ทีก่ ลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ั งอันดา ขนาดพื้นที่
เขต จังหวัด
มัน มีพนื้ ทีแ่ นวปะการังรวมทัง้ หมด 73,365 สถานภาพโดยรวม
(ไร่)
ไร่ (117 ตารางกิโลเมตร) หรือประมาณร้อย ระนอง 2,828 เสียหายมาก
ละ 49 ของพืน้ ทีแ่ นวปะการังของประเทศ ทะเลอันดามันตอนบน พังงา 26,126 เสียหายมาก
ซึ่งส่วนใหญ่สามารถพบเห็นแนวปะการัง ภูเก็ต 13,932 เสียหายมาก
ได้มากบริเวณเกาะแก่งต่างๆ ทัง้ เกาะใกล้ กระบี่ 14,039 เสียหายมาก
ฝั่ งและเกาะทีอ่ ยู่ใกล้ไหล่ทวีป โดยแนว ทะเลอันดามันตอนล่าง ตรัง 3,013 เสียหายมาก
ปะการังส่วนใหญ่อยู่ในสภาพปานกลางถึง สตูล 13,427 สมบูรณ์ปานกลาง
เสียหายมาก รวม 73,365

ที่มา : กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (2562)


ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง
แหล่งหญ้าทะเล สถานภาพแหล่งหญ้าทะเลในประเทศไทย พ.ศ. 2561
ปี 2561 ภาคใต้ฝ่ ั งอันดามันมีเนือ้ ที่ของ หน่วย : ไร่
พ.ศ. 2561
หญ้าทะเลรวม 63,624 ไร่ ถือเป็ นแหล่งหญ้าทะเลที่
เขต จังหวัด ขนาดพื้นที่
ใหญ่ที่สดุ เทียบกับแหล่งอื่นๆ พบหญ้าทะเลทัง้ หมด (ไร่)
สถานภาพโดยรวม
12 ชนิด มีหญ้าคาทะเล หญ้าใบมะกรูด และหญ้า ระนอง 1,530 สมบูรณ์ปานกลาง
ชะเงาใบเลื่อยเป็ นชนิดเด่น ทะเลอันดามันตอนบน พังงา 15,830 สมบูรณ์เล็กน้อย-ปานกลาง
แหล่งหญ้าทะเลที่เป็ นแหล่งใหญ่และมี ภูเก็ต 2,941 สมบูรณ์เล็กน้อย
ความสาคัญบริเวณนี ้ ได้แก่ อ่าวบางเบน จ.ระนอง กระบี่ 18,795 สมบูรณ์ปานกลาง
อ่าวคุระบุรี เกาะพระทอง เกาะยาวใหญ่-ยาวน้อย ทะเลอันดามันตอนล่าง ตรัง 23,094 สมบูรณ์ปานกลาง
จ.พังงา อ่าวป่ าคลอก จ.ภูเก็ต เกาะศรีบอยา-เกาะปู สตูล 1,461 สมบูรณ์เล็กน้อย
จ.กระบี่ เกาะตะลิบง เกาะมุกต์ จ.ตรัง และเกาะลิดี รวม
จ.สตูล โดยภาพรวมหญ้าทะเลมีสถานภาพสมบูรณ์
ปานกลาง และมีแนวโน้มดีขนึ ้ ที่มา : กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (2562)
พืน้ ทีช่ ุ่มนา้ ในพืน้ ทีก่ ลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ั งอันดามัน
มี พื ้น ที่ ชุ่ม น ้า ครอบคลุม พื ้น ที่ ร วมทั้ง หมด 3,411.051 ตารางกิ โ ลเมตร หรื อ
ประมาณร้อยละ 20 ของพืน้ ที่กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝ่ ั งอันดามัน โดยพืน้ ที่ ช่มุ นา้ ส่วนใหญ่
กระจายตัวอยู่ในเขตจังหวัดตรัง ครอบคลุมพืน้ ที่ทั้งสิน้ 1,150.659 ตารางกิโลเมตร หรือ
ประมาณร้อยละ 42 ของพืน้ ที่ชมุ่ นา้ ของพืน้ ที่กลุม่ จังหวัดภาคใต้ฝ่ ังอันดามัน

พืน้ ที่ชมุ่ นา้ ส่วนใหญ่ภายในพืน้ ที่จะเป็ นประเภททะเล ชายฝั่งทะเล และปากนา้ ที่


มีความสาคัญระดับนานาชาติ และระดับชาติ สามารถจาแนกพืน้ ที่ช่มุ นา้ ภายในพืน้ ที่กลุ่ม
จังหวัดภาคใต้ฝ่ ังอันดามันตามระดับความสาคัญ ได้ดงั นี ้
 พืน้ ทีช่ ุ่มน้าทีม่ ีความสาคัญระดับระหว่างประเทศ
พืน้ ที่ที่ขนึ ้ ทะเบียนแรมซาร์ทงั้ สิน้ 5 แห่ง ได้แก่ ปากแม่นา้
กระบี่ จังหวัดกระบี่ อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม – เขต
ห้ามล่าสัตว์ป่าหมูเ่ กาะลิบง - ปากแม่นา้ ตรัง จังหวัดตรัง
อุทยานแห่งชาติอา่ วพังงา จังหวัดพังงา ปากคลอง
กะเปอร์ – อุทยานแห่งชาติแหลมสน - ปากแม่นา้ กระบุรี
จังหวัดระนอง เกาะระ - เกาะพระทอง จังหวัดพังงา

 พืน้ ทีช่ ุ่มน้าทีม่ ีความสาคัญระดับนานาชาติและ


ระดับชาติ ได้แก่ ชายฝั่ งทะเลด้านตะวันออกของเกาะ
ภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา -
หมูเ่ กาะพีพี จังหวัดกระบี่ และป่ าชายเลนปะเหลียน-ละงู
จังหวัดตรัง เป็ นต้น
ด้านการท่องเทีย่ ว
กลุม่ จังหวัดภาคใต้ฝ่ ั งอันดามัน มีฐานทรัพยากรการท่องเที่ยวที่หลากหลายและมีศกั ยภาพสูง มีความสวยงาม ความโดดเด่น
และเอกลักษณ์ของมรดกธรรมชาติในพืน้ ที่ที่มีความสวยงามตัง้ แต่ทอ้ งทะเลถึงภูเขาสูง มีศิลปวัฒนธรรมที่หลากหลายตามประวัติศาสตร์
ความเจริญรุง่ เรืองในอดีต ที่มีการผสมผสานทางอารยะธรรมระหว่าง พุทธ - คริสต์ - พราหมณ์ - ขงจือ้ และเต๋า - อิสลาม ซึง่ สามารถสร้าง
รายได้หลักจากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ โดยเฉพาะกลุ่มนักท่องเที่ยวที่มีรายได้สูง และยังคงมีแนวโน้มเติบโตอย่างต่อเนื่องในทุก ๆ ปี
โดยในปี 2562 มีนกั ท่องเที่ยวมาเยือนรวม 30,271,832 คน มีรายได้การท่องเที่ยวรวม 669,422.43 ล้านบาท

ทีม่ าของภาพ: https://www.reviewpromote.com/

You might also like