You are on page 1of 89

คู่มือศึกษาชนิดนก

ชายคลองอ�าเภออัมพวา

ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิธินาถ เจริญโภคราช

1
กิตติกรรมประกาศ

2
ร ำยงำนกำรวิจัยเรื่องกำรจัดท�ำคู่มือศึกษำชนิดนกและชนิดพันธุ์ไม้
ชำยคลอง เพื่อกำรท่องเที่ยวเชิงนิเวศ อ�ำเภออัมพวำ จังหวัด
สมุทรสงครำม ได้รบั ทุนสนับสนุนจำกส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำร
อุดมศึกษำ ปีงบประมำณ 2554 ซึ่งกำรด�ำเนินงำนวิจัยครั้งนี้ส�ำเร็จลุล่วงได้
ด้วยควำมช่วยเหลือของผู้บริหำรคณะวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี คณะ
อำจำรย์ประจ�ำสำขำวิชำวิทยำศำสตร์สงิ่ แวดล้อม ผูอ้ ำ� นวยกำรสถำบันวิจยั
และพัฒนำ มหำวิทยำลัยรำชภัฏสวนสุนันทำ และผู้เชี่ยวชำญที่ตรวจสอบ
ควำมถูกต้องของเครื่องมือกำรท�ำวิจัย จ�ำนวน 3 ท่ำน คือ คุณวิชำ นรังศรี
คุณพินิจ แสงแก้ว และคุณสมิทธิ์ สุติบุตร์ ขอขอบพระคุณ มำ ณ โอกำสนี้
ขอขอบพระคุณ คุณณรงค์ศกั ดิ์ ผ้ำเจริญ ทีก่ รุณำให้คำ� แนะน�ำเกีย่ วกับ
พื้นที่ที่ท�ำกำรวิจัย ขอบคุณ คุณวิทวัส นวลอินทร์ ที่กรุณำช่วยประสำนงำน
กับผู้เชี่ยวชำญ
ขอขอบคุณ คุณค�ำรณ เพ็ชรประยูร คุณศุภชัย สังขทัต ณ อยุธยำ
คุณก�ำศักดิ์ อติพิบูลย์สิน คุณศำนิต สุขพร และคุณเพชรพนม จิตมั่น ที่ได้
อนุเครำะห์ภำพประกอบ ขอขอบคุณชำวอัมพวำทุกท่ำน ส�ำหรับมิตรไมตรี
และควำมช่วยเหลือในทุกๆ ด้ำน
ขอขอบคุณเจ้ำหน้ำทีส่ ถำบันวิจยั และพัฒนำ ทีใ่ ห้ควำมช่วยเหลือใน
กำรติดต่อประสำนงำน และแจ้งข่ำวสำรเกี่ยวกับขั้นตอนกำรด�ำเนินงำนให้
ผู้วิจัยรับทรำบ
คุณค่ำและประโยชน์ของงำนวิจัยฉบับนี้ ขอมอบแด่บิดำ มำรดำ
และครูบำอำจำรย์ทุกท่ำนที่ได้อบรมสั่งสอนให้ควำมรู้แก่ผู้วิจัยตั้งแต่อดีต
จนถึงปัจจุบัน

ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิธินาถ เจริญโภคราช

3
ค�าน�า

ป่ ำชำยคลอง ในอ�ำเภออัมพวำ จังหวัดสมุทรสงครำม เป็นป่ำพี่


ป่ำน้องกับป่ำชำยเลน ซึง่ เป็นระบบนิเวศทีม่ คี วำมหลำกหลำยทำง
ชีวภำพทัง้ ควำมหลำกหลำยชนิดของพืชและสัตว์ ควำมหลำกชนิด
ของนกบริเวณชำยคลอง อ�ำเภออัมพวำ จังหวัดสมุทรสงครำม ทีเ่ ป็นเส้นทำง
ล่องเรือท่องเที่ยวชมธรรมชำติถือว่ำเป็นแหล่งเรียนรู้ชนิดนกในระบบนิเวศ
ชำยคลองอีกแห่งหนึ่งที่น่ำสนใจ
กิจกรรมดูนก เป็นกิจกรรมที่สร้ำงควำมเพลิดเพลินและเสริมสร้ำง
ควำมรู้จำกกำรเฝ้ำศึกษำพฤติกรรมตำมธรรมชำติของนก กำรดูนก คือจุด
เริม่ ต้นส�ำหรับกำรเรียนรู้ ดังนัน้ นักดูนกจึงต้องเตรียมควำมพร้อมในด้ำนกำร
ดูนกอย่ำงถูกวิธี กำรใช้อปุ กรณ์อย่ำงถูกต้อง รวมทัง้ กำรจ�ำแนกนกและจดจ�ำ
นกได้อย่ำงแม่นย�ำ
ผู้จัดท�ำคู่มือศึกษำชนิดนก บริเวณชำยคลอง อ�ำเภออัมพวำ จังหวัด
สมุทรสงครำม หวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำเนื้อหำเกี่ยวกับนกชำยคลองเล่มนี้ จะ
เป็นประโยชน์ต่อเด็ก เยำวชน และ ผู้สนใจ ได้เรียนรู้และมีส่วนสร้ำงควำม
ตระหนักถึงคุณค่ำและควำมส�ำคัญของนก อันเป็นทรัพยำกรธรรมชำติ
ที่มีอยู่ในระบบนิเวศชำยคลอง ก่อให้เกิดจิตส�ำนึกของควำมรักหวงแหน
ทรัพยำกรธรรมชำติในท้องถิ่น อันจะน�ำไปสู่กำรร่วมมืออนุรักษ์ทรัพยำกร
ธรรมชำติและสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกิดประโยชน์อย่ำงยั่งยืน

4
สารบัญ
บทน�ำ
วงศ์นกหัวขวาน Picidae 22
วงศ์นกโพระดก Megalaimidae 23
วงศ์นกตะขาบ Cora ciidae 25
วงศ์นกกระเต็น Alcerdinidae / Halcyonodae 26
วงศ์นกจาบคา Meropidae 30
วงศ์นกคัคคู Cuculidae 31
วงศ์นกกะปูด Centropodidae 34
วงศ์นกแก้วและนกหก Psittacidae 36
วงศ์นกเค้า Strigidae 37
วงศ์นกพิราบและนกเขา Columbidae 38
วงศ์นกอัญชัญ Rallidae 43
วงศ์นกหัวโตและนกกระแต Charadriidae 44
วงศ์นกนางนวลแกลบและนกนางนวล Laridae 45
วงศ์เหยี่ยวและนกอินทรีย์ Accipitridae 46
วงศ์นกยาง Ardeidae 49
วงศ์นกกาน�้ำ Phalacrocoracidae 53
วงศ์นกกระทุง Pelecanidae 54
วงศ์อีกาและนกกระลิงเขียด Corvidae 55
วงศ์นกแอ่นพง Artamidae 57
วงศ์นกขมิ้น Oriolidae 58
วงศ์นกอีแพรด Rhipiduridae 59
วงศ์นกแซงแซว Dicruridae 60
วงศ์นกแซวสวรรค์ Monarchidae 63
วงศ์นกจับแมลงและนกเขน Muscicapidae 64
วงศ์นกเอี้ยงและนกกิ้งโครง Sturnidae 68
วงศ์นกนางแอ่น Hirundinidae 70
วงศ์นกปรอด Pycnonotidae 71
วงศ์นกกระจิบ นกพง และนกกระจิ๊ด Sylviidae 73
วงศ์นกกาฝาก Dicaeidae 75
วงศ์นกกินปลีและนกปลีกล้วย Nectarinidae 76
วงศ์นกกระจอก Passeridae 78
วงศ์นกกระติ๊ด Estrildidae 80
5
ข้อมูลทั่วไป
ของอ�ำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
จังหวัดสมุทรสงครามตั้งอยู่ในภาคกลางตอนล่างลงมาทางใต้ตามแนว
ชายฝั่งทะเลด้านตะวันตกของอ่าวไทยพื้นที่เป็นที่ราบลุ่มน�้ำและที่ราบชายฝั่ง
ทะเลบริเวณปากน�้ำแม่กลองมีพื้นที่ประมาณ 417 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ
461,000 ไร่ แบ่งออกเป็น 3 อ�ำเภอคือ อ�ำเภอเมือง อ�ำเภออัมพวา อ�ำเภอบางคนที
ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไป เป็นที่ราบลุ่มมีแม่น�้ำแม่กลองไหลผ่านตอน
กลางของพืน้ ทีต่ ามแนวเหนือ-ใต้ ผ่านอ�ำเภอบางคนที อ�ำเภออัมพวา แล้วไหลลงสู่
อ่าวไทยทีป่ ากแม่นำ�้ ในเขตอ�ำเภอเมืองบริเวณพืน้ ทีช่ ายทะเลมีความยาวประมาณ
22 กิโลเมตร พื้นที่เกือบทั้งหมดของจังหวัดเป็นที่ราบชายฝั่งมีความลาดเอียงไป
ทางชายฝัง่ ทะเลไม่มภี เู ขาและเกาะมีคลองธรรมชาติและคลองขุดเชือ่ มต่อกันเป็น
เครือข่ายทั่วพื้นที่มากกว่า 300 สาย คลองเหล่านี้ช่วยระบายน�้ำระหว่างพื้นที่
ส่วนบนกับฝั่งทะเล ในแต่ละวันจะมีน�้ำขึ้นน�้ำลงที่อ่าวไทยเกิดน�้ำทะเลหนุนเข้ามา
ตามแม่น�้ำแม่กลองและตามคูคลองต่างๆ ท�ำให้พื้นที่ของจังหวัดมีความแตกต่าง
กันแบ่งออกได้เป็นสามเขตคือ        
เขตน�้ำเค็ม
คือพื้นที่ตั้งแต่ริมทะเลเข้ามาในแผ่นดินประมาณ 3 กิโลเมตร สภาพเป็น
น�้ำเค็ม ได้แก่ พื้นที่อ�ำเภออัมพวา
เขตน�้ำกร่อย
คือพืน้ ทีถ่ ดั จากเขตน�ำ้ เค็มเข้ามาประมาณ 3 กิโลเมตร ได้แก่ ในเขตอัมพวา
และอ�ำเภอเมือง
เขตน�้ำจืด
คือพื้นที่ถัดจากเขตน�้ำกร่อยสภาพเป็นน�้ำจืดสามารถน�ำมาใช้ประโยชน์ใน
การอุปโภคบริโภคได้แก่ พืน้ ทีใ่ นเขตอ�ำเภออัมพวาตอนเหนือและอ�ำเภอบางคนที
ทั้งหมด
6
อ�ำเภออัมพวา จึงได้ชอื่ ว่าเป็นเมืองสามน�ำ้ ทีส่ ง่ ผลให้เกิดความหลากหลาย
ทางชีวภาพ มีพันธุ์ไม้ยืนต้นและไม้พุ่มต่างๆ มากมาย เช่น ล�ำพู จาก เหงือก
ปลาหมอ เป็นต้น มีสัตว์น�้ำที่ส�ำคัญ ได้แก่ ปลากระบอก ปลาตะเพียน ปลาตีน
กุ้งแม่น�้ำหรือกุ้งก้ามกราม ปูแสม ปูก้ามดาบ และหอยต่างๆ รวมทั้งนกอพยพ
และนกประจ�ำถิ่น เช่น นกยางเปีย นกกวัก เหยี่ยวแดง เป็นต้น และการที่มีระบบ
นิเวศที่เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของต้นล�ำพู ท�ำให้เมื่อล่องเรือชมธรรมชาติ
ตามชายคลองจะพบเห็นต้นล�ำพูซึ่งเป็นถิ่นที่อยู่อาศัยของหิ่งห้อยจึงท�ำให้เกิด
การท่องเที่ยวล่องเรือชมหิ่งห้อยในยามค�่ำคืน อ�ำเภออัมพวามีอาณาเขตติดต่อ
กับอ�ำเภอข้างเคียง ดังนี้

ทิศเหนือ ติดต่อกับ อ�ำเภอบางคนที


ทิศใต้ ติดต่อกับ อ�ำเภอเมืองสมุทรสงคราม
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ อ�ำเภอเขาย้อยและอ�ำเภอบ้านแหลม
(จังหวัดเพชรบุรี)
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ อ�ำเภอปากท่อและอ�ำเภอวัดเพลง
(จังหวัดราชบุรี)

นอกจากนี้อ�ำเภออัมพวายังเป็นพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่
การท�ำเกษตรกรรม โดยเฉพาะสวนผลไม้ เช่น สวนส้มโอ สวนลิ้นจี่ สวนมะพร้าว
เป็นต้น บ้านเรือนที่ตั้งริมฝั่งคลองจะหันหน้าเข้าหาเส้นทางน�้ำ บริเวณด้านหลัง
บ้านเป็นพื้นที่สวนผลไม้ ดังนั้นชุมชนในอ�ำเภออัมพวา จึงมีกิจกรรมร่วมกันเพื่อ
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์

7
ระบบนิเวศป่าชายคลอง
ของอ�ำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม
ระบบนิเวศป่าชายคลอง จะมีสภาพเป็นดินเลน เป็นพื้นที่ที่กระทบ
กับน�้ำ 3 ลักษณะ ได้แก่ น�้ำจืด น�้ำกร่อย และน�้ำเค็ม ซึ่งเป็นพื้นที่
ที่อาจได้รับน�้ำจืด น�้ำกร่อย หรือน�้ำเค็มในลักษณะหนึ่งน�้ำ สองน�้ำ
หรือสามน�ำ้ ก็ได้ พันธุไ์ ม้หลักทีเ่ จริญเติบโตในระบบนิเวศป่าชายคลอง
อ�ำเภออัมพวา มีอยู่ 4 สกุล คือ สกุลจาก สกุลโกงกาง สกุลแสม
และสกุลล�ำพู นอกจากนี้ยังมีพันธุ์พืชอื่นๆ ได้แก่ ต้นตีนเป็ด ต้นโพ
ทะเล ต้นปรง ต้นเหงือกปลาหมอ เป็นต้น พันธุ์ไม้ที่เจริญเติบโตอยู่
กับพื้นดินชายน�้ำเมื่อน�้ำขึ้นต้นไม้จะแช่อยู่ในน�้ำ และกักเก็บซากพืช
เอาไว้ เมื่อน�้ำลงต้นไม้จะโผล่พ้นน�้ำ บางแห่งต้นไม้หรือส่วนโคนต้น
จะแช่น�้ำอยู่นาน เช่น ในฤดูน�้ำหลากซากพืชที่ทับถมอยู่บริเวณชาย-
คลองจะเกิดกระบวนการย่อยสลาย (decomposers) อันเนือ่ งมาจาก
สภาพดินฟ้าอากาศ แบคทีเรีย (Bacteria) รา (Fungi) ปู หอย
(Crustacean) ท�ำให้เกิดการสร้างระบบนิเวศเป็นขั้นตอนดังนี้
1) เกิดการสร้างอินทรีย์สาร ได้แก่ แพลงตอนพืช สาหร่าย
ชนิดต่างๆ ที่อยู่บนผิวดินในน�้ำชายน�้ำหรือชายคลอง
2) เกิ ด สั ต ว์ ห น้ า ดิ น จ� ำ พวกหอยและปลาบางชนิ ด ที่ กิ น
อินทรีย์สารขนาดเล็ก
3) เกิ ด สั ต ว์ กิ น พื ช โดยตรง เช่ น พวกแพลงตอนสั ต ว์ ปู
ไส้เดือน ปลาบางชนิด เป็นต้น
4) เกิดสัตว์กินสัตว์ แบ่งเป็น 2 พวกได้แก่ พวกชั้นต�่ำ เช่น
กุ้ง ปู ปลา และนกกินปลา พวกชั้นสูง เช่นปลาขนาดใหญ่ นกชนิด
ต่างๆ สัตว์เลื้อยคลาน สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม และมนุษย์
8
ลักษณะสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นบริเวณระบบนิเวศป่าชายคลอง ได้แก่
1. ด้านภูมิประเทศชายคลอง การมีป่าชายคลองเป็นแนวยาวและอุดม
สมบูรณ์ ท�ำให้เกิดความร่มรื่น เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ต่างๆ
2. ด้านภูมิอากาศ การเจริญของพันธุ์ไม้ชายคลองที่มีลักษณะหนาแน่น
สามารถช่วยฟอกอากาศ กรองอากาศ กรองฝุ่นละออง ควัน และลดความเข้ม
ของแสงแดดได้เป็นอย่างดี
3. สภาวะของน�้ำขึ้น น�้ำลง เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลส�ำคัญต่อการด�ำรงอยู่
ของป่าชายคลอง การปรับเปลี่ยนคุณภาพน�้ำ การเจริญเติบโตและการกระจาย
ของสัตว์น�้ำ
4. คลื่นและกระแสน�้ำ การท�ำให้น�้ำเคลื่อนไหวเกิดการปรับตัวรับอากาศ
และแสงแดด ขณะเดียวก็พาสารที่แขวนลอยมากับน�้ำเข้าไปตกตะกอนใกล้ฝั่ง
นอกจากนี้ป่าชายคลองยังช่วยลดปัญหาการกัดเซาะดินชายตลิ่ง และชะลอคลื่น
และกระแสน�้ำให้ลดลง
9
5. การละลายออกซิเจน พบว่าน�้ำในบริเวณป่าชายคลองจะมีปริมาณ
ออกซิเจนละลายในน�้ำสูงกว่าบริเวณไม่มีป่าชายคลอง
6. ลักษณะคุณภาพของดิน ดินบริเวณป่าชายคลองเป็นตะกอนที่เกิดจาก
การทับถมของสารต่างๆ ทีแ่ ขวนลอยมากับน�ำ้ คุณภาพของดินเหมาะแก่การเจริญ
เติบโตของป่าชายคลอง สัตว์น�้ำหน้าดิน
7. การเกิดธาตุอาหาร ป่าชายคลองรักษาความสมดุลเกี่ยวกับธาตุอาหาร
ส�ำหรับสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย ซึ่งมีทั้งธาตุอาหารประเภทอนินทรียสาร และประเภท
อินทรียสาร (วีระ เทพกรณ์, 2549)
10
ป่าชายคลองมีผลกระทบกับ ดิน น�้ำ
และอากาศโดยตรง ยิ่งมีป่าชายคลอง
มากเท่าใดก็ จะช่วยท�ำให้คุณภาพของ
ดิน คุณภาพของน�้ำ และคุณภาพของ
อากาศในแหล่งนั้นๆ ดีขึ้น

ป่าชายคลองมีผลกระทบกับ ดิน น�้ำ และ


อากาศโดยตรง ยิ่งมีป่าชายคลองมากเท่าใด ก็จะ
ช่วยท�ำให้คุณภาพของดิน คุณภาพของน�้ำ และ
คุณภาพของอากาศในแหล่งนัน้ ๆ ดีขนึ้ การอนุรกั ษ์
ป่าชายคลอง เป็นการอนุบาลสัตว์น�้ำ ดังนี้
1. การเป็นแหล่งอาหารทีส่ ำ� คัญของสัตว์นำ�้
ป่าชายคลองมีแหล่งอาหารทีเ่ กิดจาการทับถมและ
ย่อยสลายซากพืชจากป่าเอง เช่น ใบไม้ กิ่งไม้
ดอกไม้ ผลไม้ และจากการพัดพามา ทับถมของน�ำ้
โดยมีปูและหอยเป็นตัวช่วยย่อยซากพืชให้กลาย
เป็นอินทรีย์สารซึ่งจะเป็นอาหารส�ำหรับกุ้งและ
ปลาต่อไป
2. การเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของตัวอ่อน
สัตว์น�้ำ ต้นล�ำพู ต้นแสม ต้นโกงกางและต้นจาก
จะมีลักษณะของรากติดอยู่กับผิวหน้ าดินในน�้ำ
ซึ่งนอกจากจะเป็นแหล่งสะสมอาหารแล้ว ยังมี
สภาพเหมาะที่จะให้ลูกกุ้ง ลูกหอย ลูกปู และลูก
ปลาในวัยตัวอ่อนได้อาศัยเกาะเป็นที่พักพิงเรียก
ว่า ภาวะพึ่งพาอาศัย เพื่อพักฟื้นให้แข็งแรง และ
ใช้เป็นที่หลบภัยอย่างดี รากของต้นไม้เหล่านี้จึง
เป็นเสมือนแหล่งอนุบาลสัตว์น�้ำในระยะตัวอ่อน
นั้นเอง (วีระ เทพกรณ์, 2549)
11
ชนิดนกบริเวณชายคลอง
ระบบนิเวศชายคลองเป็นแหล่งส�ำคัญในการเป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยของนก ทัง้ นก-
ประจ�ำถิน่ และนกอพยพ สามารถแยกประเภท ตามที่ Lekagul,B. & P.D. Round,
(1991) ได้แบ่งประเภทของนกออกตามฤดูกาล และการกระจาย ได้ดังนี้
1. นกประจ�ำถิ่น (resident) หมายถึง นกที่เกิด เติบโตหากิน ผสมพันธุ์
ในประเทศไทย บางชนิดอาจมีการเคลื่อนย้ายตามแหล่งอาหารในแต่ละฤดูกาล
แต่ก็อยู่ในประเทศไทย เป็นชนิดที่พบได้ตลอดทั้งปี
2. นกอพยพ (visitor) หมายถึง นกที่อพยพเข้ามาในประเทศไทยในฤดู
หนาวจากแหล่งทีม่ นั เคยอยูท่ างซีกโลกภาคเหนือ โดยอพยพเข้ามามาตามเส้นทาง
อพยพ The East Asian-Australian Flyway แบ่งย่อยออกเป็น 2 ประเภท คือ

12
2.1 นกอพยพที่ไม่ผสมพันธุ์ในประเทศไทย (non-breeding visitor)
หมายถึง นกทีอ่ พยพเข้ามาอาศัยในประเทศไทยจนตลอดฤดูหนาว แต่ไม่ผสมพันธุ์
ในประเทศไทย
2.2 นกที่อพยพผ่านประเทศไทย (Passage migrant) หมายถึง นก
ซึง่ โดยปกติอาศัยอยูท่ างซีกโลกภาคเหนือและอพยพผ่านประเทศไทยในช่วงต้นๆ
ฤดูหนาว (สิงหาคมถึงพฤศจิกายน) เพื่อไปยังตอนใต้นอกอาณาเขตประเทศไทย
และใช้พื้นที่ดังกล่าวเป็นที่อยู่อาศัยในระหว่างฤดู
พิพัฒน์ สุดเสน่ห์ (2543) ได้กล่าวไว้ว่า นกแต่ละชนิดหากินอาหารในพื้นที่
ที่ระดับสูงและต�ำแหน่งต่างกัน ดังนี้
1. บริเวณเรือนยอดต้นไม้ พบนกที่กินผลไม้ เกสร หรือน�้ำหวานดอกไม้
เป็นอาหาร ได้แก่ นกปรอดหัวสีเขม่า นกปรอดสวน นกปรอดหัวโขน เป็นต้น
13
2. บริเวณที่โล่งหรือพื้นน�้ำ เหมาะสมส�ำหรับการมองหาอาหารจ�ำพวก
แมลงที่บินอยู่ในอากาศหรืออยู่ตามพื้นดินหรือพื้นน�้ำ บริเวณผิวน�้ำและใต้ผิวน�้ำ
อาหาร ได้แก่ พวกปลา กุ้ง แมลงเล็กๆ และเมล็ดสาหร่าย เป็นต้น นกที่พบเป็น
พวกเหยี่ยวและนกน�้ำ
3. บริเวณร่มไม้หรือกิ่งไม้ คือ พื้นที่ที่ต�่ำกว่าเรือนยอดลงมาถึงตามกิ่งและ
ล�ำต้น นกที่พบเป็นนกที่หากินแมลงและหนอนที่เกาะอาศัยตามบริเวณเปลือก
กิ่งหรือใบไม้ ได้แก่ นกกระจิ๊ดธรรมดา นกเอี้ยงสาริกา นกกางเขนบ้าน เป็นต้น
4. บริเวณยอดพุ่มไม้ขนาดเล็ก พบนกที่กินแมลง หรือแมงขนาดเล็กบาง
ชนิดเป็นอาหาร ได้แก่ นกกระจิบธรรมดา นกจับแมลงสีน�้ำตาล นกกระติ๊ดขี้หมู
นกกระจิบหญ้าสีเรียบ เป็นต้น
5. บริเวณพื้นดิน พบนกที่หากินเมล็ดพืช แมลง แมง และหนอนขนาด
ต่างๆ เป็นอาหาร ได้แก่ นกเด้าดินทุ่ง นกเขาใหญ่ นกกระจอกบ้าน นกเอี้ยง
สาริกา เป็นต้น

14
การทีน่ กต่างชนิดหากินในทีต่ า่ งกัน มีวธิ หี าอาหารทีต่ า่ งกัน ท�ำให้ได้อาหาร
ชนิดที่ต่างกัน เป็นการหลีกเลี่ยงการแก่งแย่งใช้ประโยชน์จากอาหารชนิดเดียวกัน
เป็นผลให้โอกาสอยู่รอดของนกชนิดต่างๆที่อาศัยอยู่ในบริเวณเดียวกันมีมากขึ้น
ซึง่ ในพืน้ ทีอ่ ำ� เภออัมพวา ภัทรวรรณ เลิศสุชาตวนิช, (2548) ได้ทำ� การส�ำรวจ
ชนิดนกที่คาดว่าเป็นศัตรูทางธรรมชาติของหิ่งห้อย 2548 ตามเส้นทางส�ำรวจ
ณ บ้านโคกเกตุ อ�ำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงครามระหว่างเดือนธันวาคม
2547-ธันวาคม 2548 ชนิดนกต่างๆ ได้แก่ นกกวัก (Amaurornis phoenicurus
Penn.) นกกะปูดใหญ่ (Centropus sinensis Step.) นกกระจิบธรรมดา (Orthoto-
mus sutorius Penn.) นกกระจอกบ้าน (Passer montanus Linn.) นกกางเขนบ้าน
(Copsychus saularis Linn.) นกกินเปี้ยว (Todirhamphus chloris Bodd.) และ
นกยางเปีย (Egretta garzetta Linn.)

15
กิจกรรมการดูนก

การดูนกเป็นกิจกรรมที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในปัจจุบัน เพราะ
นกเป็นสัตว์ที่มีความสวยงามและสร้างแรงดึงดูดความประทับใจแก่ผู้พบเห็น จึง
เป็นสาเหตุหนึง่ ทีท่ ำ� ให้เกิดนักดูนกใหม่ๆ ตลอดเวลา แต่นกั ดูนกทีด่ นี นั้ ต้องมีความ
ระมัดระวังในการไม่การรบกวนนก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงฤดูผสมพันธุ์ ท�ำรัง
และวางไข่ ซึง่ เป็นช่วงเวลาทีท่ ำ� ให้นกตืน่ ตกใจง่าย เพราะการรบกวนเพียงน้อยนิด
อาจท�ำให้นกละทิ้งรังและหยุดการวางไข่ในฤดูกาลนั้นได้

1. ช่วงเวลาในการดูนก
การดูนกในธรรมชาติ ผู้ดูนกจะต้องเข้าใจถึงสภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศ
และเวลาทีจ่ ะไปดูนก เวลาทีน่ กมีกจิ กรรมให้เห็นคือ ช่วงเวลาออกหาอาหาร ดังนัน้
เวลาที่เหมาะสมที่สุดในการดูนก คือช่วงเช้าและช่วงเย็น เราอาจจะเริ่มออกดูนก
ในเวลาประมาณ 07.00 น. เรื่อยไปจนถึงเวลาประมาณ 11.00 น. ส่วนตอนเย็น
เริ่มเวลาประมาณ 15.00 น. ไปจนถึงเวลาประมาณ 17.00 น.

2. อุปกรณ์ที่จ�ำเป็นในการดูนก
2.1 กล้องส่องทางไกล กล้องส่องทางไกล แบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ
2.1.1 กล้องส่องทางไกลแบบสองตา ควรเลือกขนาดที่เหมาะสมและ
มีน�้ำหนักถนัดมือ เพื่อไม่ให้ภาพสั่นไหวขณะมอง พกพาสะดวก ผู้เริ่มต้นกิจกรรม
ดูนก แนะน�ำให้เริ่มต้นที่ก�ำลังขยาย 8 เท่า เช่น 8 X 32 หรือ 8 x 42 เป็นต้น
16
2.1.2 กล้องส่องทางไกลแบบตาเดียว หรือเทเลสโคป จะให้กำ� ลังขยาย
มากกกว่ากล้องส่องทางไกลแบบสองตา กล้องชนิดนี้มีขนาดใหญ่จึงต้องใช้ควบคู่
กับขาตั้งกล้อง
2.1.3 หนังสือคูม่ อื นก เป็นหนังสือทีใ่ ห้รายละเอียดภาพและค�ำบรรยาย
เกีย่ วกับนกแต่ละชนิดเพือ่ ให้นกั ดูนกสามารถจ�ำแนกประเภทและบอกชนิดของนก
ได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง
2.1.4 สมุดบันทึก เพือ่ ให้เราได้บนั ทึกรายละเอียดเกีย่ วกับนกทีพ่ บเห็น
ระบุสถานที่ วัน เวลา สภาพแวดล้อม และอาจวาดภาพประกอบ เพื่อช่วยในการ
จ�ำแนกชนิดนก
2.1.5 กล้องถ่ายภาพ เพื่อบันทึกภาพและเก็บรายละเอียดของนกที่
พบเห็น ซึ่งสามารถบันทึกวัน เวลา ที่พบเห็นนกแต่ละชนิด
17
2.1.6 เครือ่ งบันทึกเสียง
เพื่อบันทึกเสียงนกแต่ละชนิด และ
เก็บเป็นข้อมูลในการดูนกในครั้ง
ต่อไป
2.1.7 เสื้อผ้าเครื่องแต่ง
กาย ควรสวมเสือ้ ผ้า รองเท้า หมวก
ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม เช่น
เลือกสีให้กลมกลืนกับสิ่งแวดล้อม
อย่ า งสี เ ขี ย ว สี น�้ ำ ตาล สี ก ากี
สี น�้ ำ เงิ น ไม่ ค วรสวมใส่ เ สื้ อ ผ้ า สี
ฉูดฉาด รองเท้าควรเป็นรองเท้าหุม้
ส้นที่ใส่สบาย
2.1.8 อุ ป กรณ์ เ สริ ม
อื่นๆ เช่น หมวก ขวดน�้ำ อุปกรณ์
ส�ำหรับยังชีพในป่า เช่น เต็นท์ ฯลฯ
(อนุสาร อ.ส.ท., 2554)

3. ข้อควรปฏิบัติในการดูนก
3.1 ควรออกไปดูนกเป็นกลุ่มเล็ก เพราะจะท�ำให้มีโอกาสเห็นนกได้ง่าย
กว่าออกไปเป็นกลุ่มใหญ่ ควรชักชวนเพื่อนที่มีประสบการณ์และเชี่ยวชาญเรื่อง
นกไปด้วย เพราะจะได้ช่วยจ�ำแนกชนิดของนกและอธิบายรายละเอียดต่างๆ
เป็นการเสริมสร้างความรู้ได้มากขึ้น
3.2 เมื่อไปถึงสถานที่ดูนกแล้วต้องท�ำตัวให้เงียบที่สุด เคลื่อนไหวอย่าง
ระมัดระวังไม่ให้เกิดเสียงดัง เพราะนกมักตกใจง่าย
3.3 พยายามส�ำรวจดูและฟังเสียงนกรอบๆ ตัว เพราะนกแต่ละชนิดอาศัย
อยู่ในสภาพแวดล้อมที่ต่างกัน
3.4 หลังจากเห็นนกแล้ว ควรส่องกล้องดูนิ่งๆ พยายามสังเกตจดจ�ำ
รายละเอียดต่างๆ ของนกให้มากที่สุด เช่น สีสัน ลักษณะหัว ปาก หลังท้อง ฯลฯ
รวมทัง้ พฤติกรรมแสดงออก เมือ่ นกไปแล้วจึงค่อยเปิดคูม่ อื ดูวา่ นกทีพ่ บเป็นชนิดใด
18
แล้วจดรายละเอียดที่เห็นลงในสมุดบันทึก
3.5.8 ความอดทน คือ คุณสมบัตทิ ดี่ แี ละจ�ำเป็นของนักดูนก ซึง่ มักท�ำให้
มีโอกาสได้พบนกดีๆ
3.5.9 นักดูนกต้องมีความรับผิดชอบต่อนก ไม่รบกวนนกจนเกินไป
โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในช่วงสร้างรังวางไข่ เพราะนกอาจตืน่ กลัวจนทิง้ รังและลูกไปได้
นักดูนกไม่ควรบุกรุกและเปลีย่ นแปลงทีอ่ ยูอ่ าศัยของนก (รุง่ โรจน์ จุกมงคล, 2553)

4. การจ�ำแนกและจดจ�ำนก
การจ�ำแนกชนิดของนกให้ถูกจึงต้องเรียนรู้และสังเกตจุดเด่นต่างๆ ของ
นก ดังต่อไปนี้
4.1 ขนาดและรูปร่าง นกแต่ละชนิดมีขนาดและรูปร่างที่ต่างกัน จึงควร
จดจ�ำว่านกทีเ่ ห็นมีขนาดใหญ่หรือเล็ก ปากสัน้ ปีกกว้างหรือยาว มีหางสัน้ หรือยาว
เว้าเป็นแฉกหรือตัดตรง ป้านหรือแหลม
4.2 สีและลวดลาย เป็นตัวช่วยให้การจ�ำแนกชัดเจนยิง่ ขึน้ เช่น มีลายบริเวณ
หน้าอก หรือจุดสีด�ำข้างแก้ม ดวงตาสีเหลือง มีสีขาวเป็นบั้งๆ ที่ปลายปีก เป็นต้น
4.3 พฤติกรรม คือ สิ่งที่นกชอบท�ำบ่อยๆ และสามารถบ่งบอกได้ว่านิสัย
แบบนีเ้ ป็นนกชนิดใด เช่น นกหัวขวาน ชอบใช้ปากเจาะต้นไม้ให้เป็นโพรงเพือ่ ท�ำรัง
เป็นต้น
4.4 สิ่งแวดล้อมหรือแหล่งที่อยู่อาศัย มีลักษณะอย่างไร เป็นป่าแบบไหน
มีความสูงจากระดับทะเลปานกลางเท่าใด
4.5 ฤดูกาล จะช่วยให้เราทราบว่านกชนิดนั้นเป็นนกประจ�ำถิ่นหรือนก
อพยพ หายาก หรือว่าหาง่ายช่วงวัยใด
4.6 เสียง เสียงร้องของนกแต่ละชนิดมีความจ�ำเพาะ ถ้าสามารถจดจ�ำเสียง
นกได้ จะเป็นการช่วยในการจ�ำแนกชนิดนกได้อีกวิธีหนึ่ง (อนุสาร อ.ส.ท., 2554)
นกเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีความส�ำคัญและมีประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อม
และระบบนิเวศทัง้ ในด้านความงามตามธรรมชาติ คุณค่าทางจิตใจ และคุณค่าทาง
ด้านนันทนาการ นกหลายชนิดช่วยก�ำจัดแมลง หนอนและศัตรูพืช นกบางชนิด
ช่วยผสมเกสรดอกไม้ อีกทั้งบางชนิดช่วยแพร่กระจายเมล็ดพันธุ์พืชได้ไกล ดังนั้น
ความหลากหลายทางชีวภาพของนกจึงจ�ำเป็นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องศึกษาและรวบรวม
ให้เป็นปัจจุบัน
19
20
สัญลักษณ์
ที่ใช้ในหนังสือ
ชื่อไทย Thai name

นกหัวขวานสามนิ้วหลังทอง
Common Flameback | Dinopium javanense

ชื่ออังกฤษ English name ชื่อวิทยาศาสตร์ Sicentific name


สีแสดงสถานภาพตามฤดูกาล Seasonal Status

นกประจ�ำถิ่น Resident

นกอพยพเข้ามาในช่วงฤดูหนาว Non-breeding visitor

นกอพยพเข้ามาท�ำรังวางไข่ Breeding visitor


เพศผู้
นกอพยพผ่านเข้ามาในช่วงเวลาสั้นๆ Passage Migrant
เพศเมีย

21
นกหัวขวานสามนิ้วหลังทอง
Common Flameback | Dinopium javanense
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก ประมำณ 30 ซม. ขนำดเล็กกว่ำนกหัวขวำนสี่นิ้วหลังทอง ใบหน้ำ
เป็นลำยแถบสีขำวสลับสีด�ำยำวลงมำถึงข้ำงคอ เริ่มจำกบริเวณเหนือตำเป็นแถบสีขำว บริเวณหัว
ตำมีแถบสีด�ำ โคนปำกมีแถบสีขำว ช่วงไหล หลังตอนหน้ำ และปีกสีเหลืองทอง หลังตอนท้ำยและ
ตะโพกสีแดง ล�ำตัวด้ำนล่ำงสีด�ำมีลำยเกล็ดสีขำว หน้ำผำก กระหม่อมและพุ่มหงอนขนของตัวผู้
สีแดง ส่วนตัวเมียเป็นสีด�ำ มีลำยขีดสีขำวกระจัดกระจำย และมีนิ้วเท้ำเพียงสำมนิ้ว ปำกสีด�ำ
เสียงร้อง : “ดา-ดิ๊-ดิ๊-ดิ๊-ดิ๊-ดิ๊-ดิ๊-ดิ๊”
พฤติกรรม : มักพบเป็นคู่ บินส่งเสียงดังไล่ตำมกันไปตำมต้นไม้ และชอบไต่หำกินจำกกลำงล�ำต้น
วนขึ้นไป เสียงร้องรัวช้ำและห้ำวน้อยกว่ำนกหัวขวำนสี่นิ้วหลังทอง
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย ท�ำรังตำมโพรงไม้ มักขุดเจำะโพรงเอง แต่บำงครั้งก็ใช้โพรง
รังที่สัตว์อื่นท�ำไว้หรือโพรงที่เกิดตำมธรรมชำติ แม่นกออกไข่สีขำว ๓ ฟอง พ่อแม่นกช่วยกันฟักไข่
และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ป่ำโปร่ง ป่ำดงดิบแล้ง ป่ำชำยเลน รวมทั้งสวนผลไม้ จำกที่รำบถึงระดับควำมสูง 1,500
เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิน่ และสัตว์ปำ่ คุม้ ครองของประเทศไทย ในพืน้ ทีช่ ำยคลองพบเห็นได้
ยำก พบเห็นนกหัวขวำนสำมนิว้ หลังทอง หำกินอยูบ่ นล�ำต้นของต้นมะพร้ำวริมคลองเพียงสำมครัง้

22
นกโพระดกธรรมดา
Lineated Barbet | Megalaima lineata
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก ประมำณ 29 ซม. ขนำดใหญ่กว่ำนกตีทอง ปำกสีชมพูอมเหลือง หนัง
รอบตำสีเหลือง แก้มและคอสีขำว หัวและหลังช่วงบนสีนำ�้ ตำล และมีขดี ประสีขำวขนำดใหญ่กระจำย
อกและท้องสีขำว และมีขีดประสีคล�้ำขนำดใหญ่กระจำย หลัง ปีก และหำงสีเขียว ขำสีเหลือง
เสียงร้อง : “โฮ-ปก” เสียงดัง
พฤติกรรม : มักพบอยู่โดดเดี่ยวหรือเป็นคู่ อำจพบอยู่รวมกันเป็นจ�ำนวนมำกบนต้นไม้ที่ผลสุก
หำกินผลไม้ โดยใช้ปำกปลิดผลไม้จำกขั้วแล้วกลืนกินทั้งผล นอกจำกนี้ยังกินกลีบดอกไม้ น�้ำหวำน
ดอกไม้ และแมลงหรือสัตว์ขนำดเล็กตำมกิ่งไม้
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย ท�ำรังอยู่ตำมโพรงบนต้นไม้ที่ยังมีชีวิตอยู่และที่ยืนตำย
ค่อนข้ำงผุหรือตอไม้ ก้นโพรงจะกว้ำงทีส่ ดุ ไม่มวี สั ดุรองโพรง แม่นกออกไข่รปู ยำวรี สีขำว จ�ำนวน
2- 4 ฟอง พ่อแม่นกช่วยกันฟักไข่ และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ป่ำเต็งรัง ป่ำเบญจพรรณ สวนผลไม้ ป่ำละเมำะและพื้นที่เกษตรกรรม จำกที่รำบถึง
ระดับควำมสูง 1,800 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบยำก สำมำรถพบเห็น
นกโพระดกธรรมดำในสวนผลไม้และต้นไม้ริมคลอง

23
นกตีทอง
Coppersmith Barbet | Megalaima haemacephala
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก ประมำณ 16 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับนกปรอดสวน สีสันสดใส ปำก
สีดำ� หน้ำผำกสีแดง หน้ำและคอสีเหลือง มีแถบคำดตำและแถบข้ำงแก้มสีดำ� แบ่งคัน้ อกมีแถบสีแดง
ขนำดใหญ่ ล�ำตัวด้ำนบนสีเขียวเข้ม ล�ำตัวด้ำนล่ำงสีเหลืองอ่อน มีขีดประใหญ่สีเขียวเป็นทำง ขำ
สีแดง
เสียงร้อง : “ตง ตง”
พฤติกรรม : มักพบอยู่โดดเดี่ยวหรือเป็นคู่ เกำะตำมยอดไม้หรือกิ่งไม้แห้ง ส่งเสียงร้องคล้ำยกับ
กำรตีโลหะทองค�ำ หำกินผลไม้ต่ำงๆ นอกจำกนี้ยังกินแมลงและตัวหนอนตำมกิ่งไม้ด้วย
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย ท�ำรังอยูต่ ำมโพรงไม้ ปำกโพรงมีขนำดเล็กพอตัวนกลอดได้
ไม่มวี สั ดุรองรัง แม่นกออกไข่ 2-4 ฟอง พ่อแม่นกช่วยกันฟักไข่และเลีย้ งดูลกนกจนแข็งแรง สำมำรถ
บินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ป่ำโปร่ง ป่ำชำยเลน พื้นที่เกษตรกรรม และชุมชน จำกที่รำบจนถึงระดับควำมสูง 800
เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อย สำมำรถพบเห็น
นกตีทองหำกินอยู่บนต้นไม้ริมคลองและเกำะอยู่บนเสำอำกำศโทรทัศน์

24
นกตะขาบทุ่ง
Indian Roller | Coracias benghalensis
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก-กลำง ประมำณ 33 ซม. ขนำดเท่ำนกพิรำบ มีปำกแหลมตรงสีด�ำ
บริเวณหน้ำอก และท้องสีน�้ำตำลอมม่วง ตัดกับขนปีกที่มีสีฟ้ำสดใสเห็นได้ชัดเจน ขณะบินจะเห็น
ขนปีกสลับฟ้ำและสีน�้ำเงินเข้มสวยงำม
เสียงร้อง : “แครก-แครก-แครก” ดังลั่น
พฤติกรรม : มักเกำะนิ่งๆ ตำมเสำไฟฟ้ำ เสำหลัก หรือต้นไม้ตำยในพื้นที่โล่งๆ มองหำเหยื่อและ
บินลงจับเหยื่อบนพื้นดิน เช่น จิ้งหรีด ตั๊กแตน และสัตว์เลื้อยคลำนขนำดเล็ก บำงครั้งก็บินไล่จับ
แมลงกลำงอำกำศ ชอบร้องเสียงดังขณะบิน
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย โดยท�ำรังในโพรงไม้หรือต้นไม้ตำยยอดด้วน เช่น ต้น
มะพร้ำว บำงครั้งก็ใช้รังของนกชนิดอื่นที่ไม่ใช้แล้ว แม่นกออกไข่สีขำว จ�ำนวน 4-5 ฟอง พ่อแม่นก
จะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกจนแข็งแรงสำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ทุ่งโล่ง พื้นที่เกษตรกรรม ป่ำโปร่ง และชุมชน จำกที่รำบไปจนถึงระดับควำมสูง 1,500
เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อย สำมำรถพบ
นกตะขำบทุ่งเกำะอยู่บนกิ่งไม้แห้ง และสำยไฟริมคลอง

25
นกกระเต็นน้อยธรรมดา
Common Kingfisher | Alcedo atthis
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็กมำกประมำณ 17 ซม. ใหญ่กว่ำนกกระจอกบ้ำนเล็กน้อย มีปำกแบบ
แบนข้ำงแหลมยำวสีด�ำ โคนปำกด้ำนล่ำงสีออกแดง หำงสั้นมำก บริเวณคอหอยสีขำวตัดกับส่วน
ท้องสีนำ�้ ตำลเหลืองถึงแดงส้ม กระหม่อมจนถึงส่วนหลังและหำงสีฟำ้ สด ขนคลุมหูสนี ำ�้ ตำลและขำว
ขำสีแดง ตัวเมีย โคนปำกล่ำงสีส้ม
เสียงร้อง : “ชี้-ชี้-ชี้” เสียงสูงรัวต่อกัน
พฤติกรรม : มักเกำะนิ่งบนเสำหลักหรือไม้ชำยน�้ำ มองหำเหยื่อที่อำศัยอยู่ในน�้ำ เช่น ปลำ
ลูกออด และแมลง เมื่อเห็นเหยื่อ จะบินพุ่งลงโฉบจับเหยื่อบริเวณผิวน�้ำหรือจมลงไปในน�้ำเล็ก
น้อย จับเหยื่อด้วยปำกก่อนจะบินกลับมำเกำะที่เดิม โดยฟำดเหยื่อกับกิ่งไม้ให้ตำยเสียก่อน แล้ว
กลืนกินเหยื่อทั้งตัว
ผสมพันธุ์ : ไม่พบท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย
ถิ่นอาศัย : แหล่งน�้ำทั่วไป ทั้งแหล่งน�้ำจืด ป่ำชำยเลน และชำยทะเล จำกที่รำบไปจนถึงระดับ
ควำมสูง 1,800 เมตร
สถานภาพ : นกอพยพและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อย สำมำรถพบนกกระเต็นน้อย
ธรรมดำ เกำะตำมกิง่ ต้นล�ำพู กิง่ ไม้แห้ง และตอต้นจำกริมคลองระหว่ำงเดือนสิงหำคม-พฤศจิกำยน

26
นกกระเต็นอกขาว
White-throated Kingfisher | Halcyon smyrnensis
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็กประมำณ 28 ซม. ขนำดใหญ่กว่ำนกเอี้ยงสำริกำเล็กน้อย แต่เล็กกว่ำ
นกเขำใหญ่ มีปำกแบบแบนข้ำงยำวแหลมสีแดงสด บริเวณหัว หน้ำ สีข้ำง ท้อง และก้นสีน�้ำตำล
แดงไหม้ ตัดกับสีขำวที่คำง คอหอย และอก บริเวณหลังปีก ตะโพก และหำงสีฟ้ำสดใส ขำสีแดง
ขณะบินจะเห็นแถบสีขำวขนำดใหญ่บริเวณขนปลำยปีก
เสียงร้อง : “คี๊ก-คี๊ก-คี๊ก” รัวดัง
พฤติกรรม : มักเกำะนิ่งๆ ตำมเสำหลัก ตอไม้ หรือกิ่งไม้ใกล้แหล่งน�้ำ จ้องมองหำปลำและสัตว์ใน
น�้ำ ก่อนจะพุ่งลงจับเหยื่อที่ผิวน�้ำด้วยปำกแล้วบินมำเกำะกิ่งไม้ กลืนกินปลำทั้งตัว บำงครั้งก็โฉบ
จับสัตว์เลื้อยคลำนและแมลงตำมต้นไม้เป็นอำหำร เวลำบินมักร้องเสียงดังเสมอ
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย โดยขุดรูลึกเข้ำไปในตลิ่งที่สูง รองรังด้วยขนและเศษหญ้ำ
ที่อ่อนนุ่ม แม่นกออกไข่สีขำว จ�ำนวน 3-4 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกจนแข็งแรง
สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : แหล่งน�้ำ พื้นที่เกษตรกรรม ล�ำคลอง ป่ำโปร่ง จำกที่รำบไปจนถึงระดับควำมสูง 1,500
เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อย สำมำรถพบนก
กระเต็นอกขำวเกำะหำกินตำมกิง่ ไม้ ตอไม้ และสำยไฟริมคลองระหว่ำงเดือนสิงหำคม-พฤศจิกำยน

27
นกกระเต็นหัวด�า
Black-capped Kingfisher | Halcyon pileata
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก-กลำง ประมำณ 32 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับนกเขำใหญ่ มีปำกแบบ
แบนข้ำงยำวแหลมสีแดงสดใส ขนคลุมหัวสีดำ� ตัดกับบริเวณล�ำตัวด้ำนบนทีม่ สี นี ำ�้ เงินเข้มสด บริเวณ
หน้ำและรอบคอสีขำว คอหอยและอกสีขำวอมเหลือง ส่วนท้องสีน�้ำตำลเหลือง ขำสั้นสีแดงสด
ขณะบินจะเห็นแถบสีขำวขนำดใหญ่ที่ปลำยปีก และเห็นแถบรอบคอสีขำวด้วย
เสียงร้อง : “คี๊ก-คี๊ก-คี๊ก” รัวดัง
พฤติกรรม : เกำะอยู่โดดเดี่ยวตำมกิ่งไม้ ตอไม้ และเสำหลัก มองหำเหยื่อในที่โล่งก่อนจะบินลง
จับสัตว์นำ�้ ทีผ่ วิ น�ำ้ ด้วยปำก แล้วบินกลับมำเกำะบริเวณเดิมกลืนกินเหยือ่ ทัง้ ตัว บำงครัง้ ก็จะลงโฉบ
ปู กบ และสัตว์เลื้อยคลำนขนำดเล็กบนพื้นดิน
ผสมพันธุ์ : ไม่พบท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย
ถิ่นอาศัย : ป่ำชำยเลน ทุ่งโล่ง พื้นที่เกษตรกรรม ป่ำโปร่งและชุมชน จำกที่รำบไปจนถึงระดับควำม
สูง 900 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกอพยพและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อย สำมำรถเห็นนก
กระเต็นหัวด�ำ เกำะหำกินตำมกิ่งไม้ สำยไฟริมคลองและล�ำประโดงในเดือนมิถุนำยน และเดือน
ตุลำคม-พฤศจิกำยน

28
นกกินเปยว
Collared Kingfisher | Todiramphus chloris
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก-กลำง ประมำณ 24 ซม. ขนำดใกล้เคียงนกเอี้ยงสำริกำ มีปำกแบบ
แบนข้ำงยำวแหลมสีด�ำ ขนรอบคอและล�ำตัวด้ำนล่ำงสีขำว หัวตำมีแถบสีขำวเล็กๆ บริเวณหัว
ล�ำตัวด้ำนบน รวมทั้งปีกและหำงสีฟ้ำอมเขียว ขำสั้นสีด�ำ
เสียงร้อง : “คแกก-คแกก” ค่อนข้ำงแหบแต่ก้อง และ “จิ-แจว จิ-แจว”
พฤติกรรม : มักเกำะอยู่โดดเดี่ยวหรือเป็นคู่ตำมกิ่งไม้แห้งหรือตอไม้ จ้องมองหำปูแสม ปูก้ำมดำบ
ปลำ กบ สัตว์เลื้อยคลำนขนำดเล็ก เมื่อพบเหยื่อจะบินโฉบลงจับเหยื่อบนพื้นดินเลนด้วยปำกแล้ว
คำบบินกลับมำเกำะบริเวณเดิม ฟำดเหยื่อจนตำยแล้วกลืนกินทั้งตัว
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย ท�ำรังตำมโพรงต้นไม้ ตอไม้ที่ยอดหัก แม่นกออกไข่สีขำว
จ�ำนวน 3-4 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรัง
ได้เอง
ถิ่นอาศัย : ป่ำชำยเลน ชำยหำด สวนผลไม้ที่อยู่ใกล้แม่น�้ำล�ำคลองหรือติดชำยฝั่งทะเล
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อยมำก สำมำรถพบ
นกกินเปี้ยวเกำะหำกินอยู่ตำมกิ่งไม้ริมคลอง สวนผลไม้ สวนมะพร้ำว สำยไฟ และเสำอำกำศ
โทรทัศน์

29
นกจาบคาหัวเขียว
Blue-tailed Bee-eater | Merops philippinus
ลักษณะทั่วไป : ขนำดเล็ก ประมำณ 30 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับนกเอี้ยงสำริกำ ล�ำตัวเพรียว มี
หำงคู่กลำงยำวโผล่ออกมำ 2 เส้น สีฟ้ำ ปำกเรียวเล็กโค้งสีด�ำ มีแถบสีด�ำพำดจำกโคนปำกผ่ำนตำ
ถึงท้ำยทอย บริเวณส่วนหัวและปีกสีเขียว คอหอยสีน�้ำตำลแดง ล�ำตัวด้ำนล่ำงสีเขียวอมเหลือง
ตะโพกและหำงสีฟ้ำ
เสียงร้อง : “ดิ๊-ริ-ริบ” รัวดัง
พฤติกรรม : มักพบเป็นกลุ่มเล็กๆ หรือเป็นฝูง บินร่อนโฉบจับแมลงที่บินได้ในอำกำศตำมที่โล่ง
ทัว่ ไปเหนือเรือนยอด นกจะจับเหยือ่ กลำงอำกำศด้วยปำกก่อนจะบินกลับมำเกำะทีเ่ ดิม ฟำดเหยือ่
จนตำยแล้วกลืมกินเหยื่อทั้งตัว หรือฉีกเหยื่อกินแล้วทิ้งส่วนที่กินไม่ได้ บ่อยครั้งที่นกบินไล่โฉบจับ
เหยื่อจนเกือบถึงพื้นดิน
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย โดยขุดรูลึกเข้ำไปในดินตำมแนวตลิ่งชำยฝั่งแม่น�้ำ หน้ำผำ
ดินหรือเนินดิน ด้ำนในสุดของรูดินเป็นโพรงขนำดใหญ่ แม่นกออกไข่สีขำว จ�ำนวน 3 ฟอง พ่อแม่
นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง อำจมีนกพี่เลี้ยงมำช่วย
เลี้ยงนกวัยเด็กด้วย
ถิ่นอาศัย : ทุ่งโล่ง ใกล้แหล่งน�้ำ หนองบึง ป่ำชำยเลน และริมคลอง จำกที่รำบไปจนถึงระดับควำม
สูง 800 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อย สำมำรถพบนก
จำบคำหัวเขียวเกำะบนยอดไม้และสำยไฟริมคลองและโฉบจับแมลงกลำงอำกำศ

30
นกอีวาบตั๊กแตน
Plaintive Cuckoo | Cacomantis merulinus
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก ประมำณ 22 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับนกกำงเขนบ้ำน มีปำกสั้นเรียว
แหลมโค้งสีด�ำ บริเวณหัว คอหอย และท้ำยทอยมีสีเทำขี้เถ้ำ ล�ำตัวด้ำนล่ำงสีน�้ำตำลส้ม ส่วนหลัง
เป็นเป็นสีนำ�้ ตำล หำงสีนำ�้ ตำลเทำเข้ม ตัวเมีย ล�ำตัวด้ำนบนมีสนี ำ�้ ตำลแดง และมีลำยสีดำ� กระจำย
เสียงร้อง : “ป-ปปป” ลำกเสียงแหลมคล้ำยผิวปำก
พฤติกรรม : มักพบเกำะเด่นบนกิ่งไม้แห้งในที่โล่ง ร้องเสียงดัง จิกกินหนอนบุ้งและแมลงตำม
พุ่มไม้ นกจะฟำดเหยื่อกับกิ่งไม้ไปมำให้ตำย และเป็นกำรสลัดขนออกจำกตัวหนอน แล้วกลืนกิน
เหยื่อทั้งตัว
ผสมพันธุ์ : ไม่ท�ำรังเป็นของตนเอง แต่จะแอบมำออกไข่ไว้ในรังของนกชนิดอื่น เช่น นกกระจิบ
ธรรมดำ นกกระจิบหญ้ำสีเรียบ เมื่อออกไข่แล้วจะปล่อยให้พ่อแม่นกเจ้ำของรังเลี้ยงลูกนกจน
แข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ป่ำโปร่ง พื้นที่เกษตรกรรม และชุมชน จำกที่รำบถึงระดับควำมสูง 1,800 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อย พบนกอีวำบ
ตั๊กแตนเกำะบนต้นไม้และสำยไฟริมคลอง

31
นกกาเหว่า
Asian Koel | Eudynamys scolopaceus
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก-กลำง ประมำณ 43 ซม. ขนำดใหญ่กว่ำนกขุนทองเล็กน้อย ตัวผู้มี
ขนสีด�ำเป็นมันเหลือบทั้งตัว ปำกหนำใหญ่แหลมสั้นโค้งลงเล็กน้อยสีเทำอ่อนอกเขียว ตำสีแดง
ขำสีเทำ ตัวเมียสีน�้ำตำลเข้ม มีลำยประสีน�้ำตำลอ่อนและขำวทั้งตัว
เสียงร้อง : ตัวผู้ร้องดังก้อง “กา-เวา กา-เวา” ตัวเมีย “กิ๊ก-กิ๊ก-กิ๊ก” รัวเร็ว
พฤติกรรม : มักเกำะตำมต้นไม้ที่มีใบแน่นทึบ และหลบอยู่ตำมพุ่มไม้ หำกินผลไม้เปลือกอ่อน
หนอน แมลง และไข่ของนกชนิดอื่น มักพบเห็นตัวตอนบินผ่ำนระหว่ำงพุ่มไม้หนึ่งไปยังอีกพุ่มไม้
หนึ่ง ช่วงฤดูผสมพันธุ์ตัวผู้จะส่งเสียงร้องถี่ในช่วงเช้ำตรู่
ผสมพันธุ์ : เป็นนกที่ไม่สร้ำงรังเป็นของตัวเอง แต่จะแอบมำออกไข่ในรังของอีกำและรังของกลุ่ม
นกเอี้ยง แล้วปล่อยให้อีกำฟักไข่และเลี้ยงลูกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ป่ำโปร่ง ป่ำละเมำะ สวนมะพร้ำว ป่ำชำยเลน และทุ่งหญ้ำ
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อย สำมำรถพบเห็น
นกกำเหว่ำเกำะบนต้นไม้ชำยคลอง และบินข้ำมไปมำจำกต้นไม้ต้นหนึ่งไปยังอีกต้นหนึ่ง

32
นกบั้งรอกใหญ่
Green-billed Malkoha | Rhopodytes tristis
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดกลำง ประมำณ 56 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับอีกำแต่หำงยำวกว่ำ มีล�ำตัว
เพรียว หำงยำวมำก ขนหำงแต่ละเส้นยำวไม่เท่ำกัน ปลำยขนหำงมีสีขำว จึงเห็นเป็นลำยบั้งที่ด้ำน
ใต้หำง ปำกหนำแหลมสั้นโค้งลงเล็กน้อยสีเขียวอ่อน มีหนังรอบตำสีแดง ขนปกคลุมล�ำตัวสีเทำ
เหลือบเขียว บริเวณหัว คอหอย และอกสีออกเทำจำงกว่ำเล็กน้อย
เสียงร้อง : “คู-คู-คู” ร้องต่อกันด้วยเสียงต�่ำ
พฤติกรรม : มักพบกระโดดไต่ไปตำมกิง่ ไม้ทมี่ ใี บแน่นทึบ เสำะหำตัวหนอนและแมลงกินเป็นอำหำร
โดยใช้ปำกจับเหยื่อแล้วกลืนกินทั้งตัว บำงครั้งก็กินสัตว์เลื้อยคลำนขนำดเล็กด้วย มักพบเห็นนก
โผร่อนจำกยอดของต้นไม้ไปยังยอดของต้นไม้อื่นๆ
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปถ้วยวำงตำมง่ำมไม้ในทีร่ กทึบ โดยใช้กงิ่ ไม้มำสำน
กัน รองรังด้วยใบไม้สด แม่นกออกไข่สีขำว จ�ำนวน 2-4 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดู
จนลูกนกแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้
ถิ่นอาศัย : ป่ำดงดิบ ป่ำโปร่ง ป่ำละเมำะ และสวนผลไม้ จำกที่รำบไปจนถึงระดับควำมสูง 1,500
เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิน่ และสัตว์ปำ่ คุม้ ครองของประเทศไทย พบบ่อย พบเห็นนกบัง้ รอก-
ใหญ่หำกินอยู่บนต้นไม้ริมคลองและสวนผลไม้ บำงครั้งบินข้ำมไปมำระหว่ำงเรือนยอดไม้ริมคลอง

33
นกกะปูดใหญ่
Greater Coucal | Centropus sinnensis
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดกลำง ประมำณ 53 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับอีกำ มีปำกหนำสั้นโค้งลงสีด�ำ
ขนบริเวณหัว คอ ท้อง และหำงสีด�ำเหลือบ ตัดกับหลังและปีกสีน�้ำตำลแดงสด ตำสีแดง หำงยำว
ใหญ่ แข้งและนิ้วสีด�ำ
เสียงร้อง : “ปูด-ปูด” ดัง
พฤติกรรม : มักเดินหำอำหำรบนพื้นดินบริเวณที่โล่งตำมแนวชำยป่ำหรือทุ่งหญ้ำ หำกินแมลง
และสัตว์ขนำดเล็ก เช่น กบ เขียด งู และกิ้งก่ำ โดยใช้ปำกจิกเหยื่อ ถ้ำเหยื่อมีขนำดใหญ่จะใช้กรง
เล็บช่วยจับเหยื่ออีกด้วย จำกนั้นจึงใช้ปำกฉีกเหยื่อเป็นชิ้นแล้วกลืนกิน นอกจำกนั้นยังหำกินซำก
สัตว์ต่ำงๆ อีกด้วย
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปทรงกลมวำงอยู่บนง่ำมไม้ โดยใช้ใบไม้ใบหญ้ำมำ
สำนอย่ำงง่ำยๆ รองรังด้วยใบไม้สด มีทำงเขำออกอยูด่ ำ้ นข้ำง แม่นกออกไข่สขี ำวจ�ำนวน 3-5 ฟอง
พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิน่ อาศัย : ป่ำโปร่ง ป่ำละเมำะ สวนมะพร้ำว ป่ำชำยเลน ทุง่ หญ้ำ และพืน้ ทีเ่ กษตรกรรม จำกทีร่ ำบ
ไปจนถึงระดับควำมสูง 1,500 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อย สำมำรถพบเห็น
นกกระปูดใหญ่เดินหำกินบนพื้นตำมสวนผลไม้ และเกำะตำกปีกบนต้นมะพร้ำวริมคลอง

34
นกกะปูดเล็ก
Lesser Coucal | Centropus bengalensis
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก-กลำง ประมำณ 38 ซม. ขำดใกล้เคียงกับนกพิรำบ มีปำกหนำสั้นโค้ง
ลงเล็กน้อยสีด�ำ ขนบริเวณหัว คอ ท้อง และหำงสีด�ำ ปีกสีน�้ำตำลเข้มมีลำยขีดประสีน�้ำตำลอ่อน
กระจำยในช่วงบน ขำสีด�ำ นกวัยอ่อน ขนคลุมล�ำตัวทั้งหมดสีน�้ำตำลเข้มมีลำยประสีเนื้อกระจำย
อยู่ทั่วไป ปำกสีน�้ำตำลเหลือง ฤดูผสมพันธุ์ เปลี่ยนสีคล้ำยนกกระปูดใหญ่ มีลำยขีดสีเนื้อตรงคอ
และหลังช่วงบน
เสียงร้อง : “ฮูบ-ฮูบ-ฮูบ” ดังต่อกันตำมด้วยเสียงสูงรัวดัง “กด-กด-กด”
พฤติกรรม : มักพบอยู่โดดเดี่ยวตำมพงหญ้ำที่มีต้นหญ้ำสูง หำกินแมลงและสัตว์ขนำดเล็กจ�ำพวก
กบ กิ้งก่ำ และงู ใช้ปำกจิกเหยื่อ บำงครั้งก็ใช้กรงเล็บช่วยจับเหยื่อ ฉีกเหยื่อกินเป็นชิ้น ในช่วงเช้ำ
หรือหลังฝนตกมักพบนกเกำะอำบแดดบนพุ่มไม้หรือพงหญ้ำ โดยปกตินกมักจะซ่อนตัวอยู่ตำม
พุ่มไม้หรือพงหญ้ำรกๆ
ผสมพันธุ์ : ท�ำรัวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปทรงกลมวำงอยู่บนกอหญ้ำในระดับกลำงต้น โดย
ใช้ใบไม้ ใบหญ้ำมำสำนอย่ำงง่ำยๆ รองรังด้วยใบหญ้ำสด มีทำงเข้ำออกอยู่ด้ำนข้ำง แม่นกออกไข่
สีขำวจ�ำนวน 3-6 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออก
จำกรังได้
ถิน่ อาศัย : ป่ำโปร่ง ป่ำละเมำะ สวนผลไม้ และทุง่ หญ้ำ จำกทีร่ ำบไปจนถึงระดับควำมสูง 1,800 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิน่ และสัตว์ปำ่ คุม้ ครองของประเทศไทย พบไม่บอ่ ย สำมำรถพบเห็น
นกกระปูดเล็กเกำะบนต้นไม้ริมคลอง

35
นกแขกเต้า
Red-breasted Parakeet | Psittacula alexandri
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก-กลำง ประมำณ 36 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับนกเขำใหญ่ ล�ำตัวเพรียว
ยำว มีปำกสั้นแบบปำกขอปลำยแหลมคม บริเวณหัวมีสีเทำอมม่วง ใต้คำงและข้ำงคอสีด�ำ อก
ชมพูส้ม ท้องและโคนหำงด้ำนล่ำงสีเขียวเหลือง ขนปกคลุมส่วนหลัง ปีก และหำงสีเขียวอมเหลือง
หำงคู่กลำงยำวแหลมสีเขียวอมฟ้ำ ตัวผู้มีปำกสีแดง ปำกล่ำงสีด�ำ อกมีสีเข้ม ตัวเมียทั้งปำกบนและ
ปำกล่ำงมีสีด�ำ อกสีจำงกว่ำตัวผู้
เสียงร้อง : “แกก-แกก-แกก” ดังลั่นติดต่อกัน
พฤติกรรม : มักพบอยู่รวมกันเป็นฝูง ไต่ไปตำมกิ่งไม้เพื่อหำกินผลไม้ เมล็ดพืช และยอดอ่อน
ของพืช โดยใช้กรงเล็บจับอำหำรแล้วใช้ปำกเด็ดอำหำรและปอกเปลือกกินเนื้อในเมล็ด บำงครั้ง
ก็กินธัญพืช นกอำศัยหำกินและบินรวมกันเป็นฝูงพร้อมกับส่งเสียงดังขณะบิน
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย ท�ำรังในโพรงต้นไม้ พ่อแม่นกออกไข่สขี ำว จ�ำนวน 3-4 ฟอง
พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ป่ำโปร่ง ป่ำเต็งรัง จำกที่รำบไปถึงระดับควำมสูง 1,200 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิน่ และสัตว์ปำ่ คุม้ ครองของประเทศไทย พบไม่บอ่ ย สำมำรถพบเห็น
นกแขกเต้ำหำกินอยู่บนต้นไม้บริเวณวัดท้องคุ้งจ�ำนวน 5 ตัว และบนต้นไม้ริมคลองบำงนำงลี่

36
นกเค้ากู่, นกฮูก
Collared Scops-Owl | Otus lettia
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก ประมำณ 23 ซม. ขนำดใกล้กับนกเอี้ยงสำริกำ มีลักษณะกลมป้อม
หัวมีขนำดใหญ่ หำงสั้น ขนปกคลุมล�ำตัวทั้งหมดสีน�้ำตำลแกมเทำ รอบคอมีแถบสีน�้ำตำลเหลือง
ลักษณะใบหน้ำกลม หน้ำผำกและคิ้วสีน�้ำตำลอ่อน ปำกสั้น เล็กแหลมงุ้มลงสีงำช้ำง ขนบริเวณหู
ยำวตั้งชันขึ้นเหมือนกับเป็นใบหูที่โผล่ขึ้นมำ ล�ำตัวด้ำนล่ำงมีลำยขีดสีด�ำและเป็นเส้นบำงๆ มีขน
คลุมแข้งจนเกือบถึงนิ้ว และมีเล็บยำวแหลมคมสีเข้ม
เสียงร้อง : “ปูว” เป็นระยะ
พฤติกรรม : มักเกำะหลบพักตำมพุม่ ไม้ทรี่ กครึม้ ในเวลำกลำงวัน มีกจิ กรรมหรือออกหำกินในเวลำ
กลำงคืน บินล่ำจับเหยื่อโดยใช้กรงเล็บจับพวกแมลงและสัตว์ขนำดเล็ก เช่น แมลงปีกแข็ง กิ้งก่ำ
นก และหนู แล้วกลืนกินเหยื่อทั้งตัว
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย ท�ำรังในโพรงต้นไม้ แม่นกออกไข่สีขำว จ�ำนวน 3-4 ฟอง
พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ป่ำเบญจพรรณ ป่ำดิบแล้ง ป่ำดิบชื้น และสวนผลไม้ จำกที่รำบจนถึงระดับควำมสูง
2,200 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบยำกมำก พบนกเค้ำกู่
เกำะหำกินบนป้ำยริมคลองเป้ง บริเวณคลองบำงแคเพียงครั้งเดียวเมื่อวันที่ 20 พฤษภำคม 2554

37
นกพิราบป่า
Rock Pigeon | Columba livia
ลักษณะทั่วไป : ขนำดเล็ก-กลำง ประมำณ 33 ซม. ขนำดใหญ่กว่ำนกเขำไฟเล็กน้อย มีลักษณะ
กลมป้อม หัวเล็ก ปำกหนำตรงสั้นสีเทำด�ำปลำยปำกป่องเล็กน้อย หำงยำวสีเทำปลำยหำงสีด�ำ
ขนปกคลุมล�ำตัวสีเทำเข้ม ปีกเทำขำวมีแถบสีดำ� 2 แถบคำดทีป่ กี บริเวณหัวและคอสีเขียวเทำเหลือบ
ตัวผู้มีสีเขียวเหลือบที่คอมำกกว่ำตัวเมีย ท้องสีเทำ ขำแดง
เสียงร้อง : “อู-รู-คู” เบำๆ
พฤติกรรม : มักพบนกเป็นฝูงบริเวณสิ่งก่อสร้ำง หำกินตำมพื้นดิน จิกกินเมล็ดพืช ธัญพืช และ
ผลไม้ ขณะบินกระพือปีกกระทบกันเสียงดัง
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปจำนหรือกระจำดวำงอยู่ตำมซอกอำคำรและ
โครงสร้ำงอำคำร หรือตำมเพดำนบ้ำำนเรือน โดยใช้กิ่งไม้หรือเศษวัสดุเล็กๆ วำงซ้อนกันอย่ำง
หยำบๆ แม่นกออกไข่สีขำว จ�ำนวน 2 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง
สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ชุมชน หน้ำผำหิน และพื้นที่เกษตรกรรม
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและไม่เป็นสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อยมำก พบ
นกพิรำบป่ำหำกินอยู่ตำมชำยคลอง บ้ำนเรือนและวัดริมคลองเป็นจ�ำนวนมำก

38
นกเขาไฟ
Red Collared Dove | Streptopelia tranquebarica
ลักษณะทั่วไป : ขนำดเล็ก ประมำณ 23 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับนกเอี้ยงสำริกำ มีลักษณะกลมป้อม
หัวเล็ก ปำกหนำตรงสั้นสีเทำ ปลำยปำกป่องเล็กน้อย หำงยำวสีเทำปลำยหำงสีขำว ตัวผู้หัวสีเทำ
ขนคลุมปีกและบริเวณหลังสีน�้ำตำลแดงสด ท้องสีน�้ำตำลอมแดง ตัวเมียหัวสีน�้ำตำล บริเวณท้อง
และหลังสีน�้ำตำลเทำ ทั้งตัวผู้และตัวเมียมีเส้นด�ำคำดที่คอด้ำนหลัง ขนคลุมโคนหำงด้ำนล่ำงสีขำว
ขำสีแดง ขณะบินมองเห็นแถบสีขำวที่มุมปลำยขอบหำงทั้งสองข้ำง
เสียงร้อง : ขัน “ครู-ครู-ครู-ครู” ดังแหบๆ ต่อกันเร็วๆ
พฤติกรรม : มักพบนกเกำะเป็นคู่อยู่ตำมสำยไฟหรือตำมต้นไม้ริมถนน และลงเดินจิกกินเมล็ดพืช
และธัญพืชตำมทุ่งนำ บนพื้นดินหรือพื้นถนน มักพบเห็นนกเกี้ยวพำรำสีกันขณะเกำะตำมสำยไฟ
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปจำนกลมตรงกลำงเป็นแอ่งตืน้ ๆ วำงอยูต่ ำมง่ำมไม้
โดยใช้กิ่งไม้เล็กๆ วำงซ้อนกันอย่ำงง่ำยๆ แม่นกออกไข่สีขำวจ�ำนวน 2 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยฟัก
ไข่และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ป่ำละเมำะ ทุ่งนำ พื้นที่เกษตรกรรม บ้ำนเรือนและในชุมชน
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและเป็นสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบไม่บ่อย พบนก
เขำไฟเกำะบนต้นไม้ริมคลองบำงนำงลี่ และสำยไฟริมคลองบำงแค

39
นกเขาใหญ่, นกเขาหลวง
Spotted Dove | Streptopelia chinensis
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก ประมำณ 30 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับนกขุนทอง มีลักษณะกลมป้อม
หัวเล็ก ปำกหนำตรงสัน้ สีเทำ ปลำยปำกป่องเล็กน้อย หำงยำวสีนำ�้ ตำล ปลำยหำงสีขำว หัวสีนำ�้ ตำล
เทำ ท้องสีน�้ำตำลแดงอ่อน หลังสีน�้ำตำลเข้ม มีขีดประสีคล�้ำกระจำย ขนคลุมปีกสั้นสีน�้ำตำลมีขอบ
ขนสีขำว คอด้ำนหลังมีแถบสีด�ำและมีลำยจุดสีขำวพำด ขำสีแดง ขณะบินจะเห็นสีขำวที่ปลำยขน
หำงเส้นนอกเรียงกันเป็นแถบยำว
เสียงร้อง : ขัน “คู-ครู-ครู” ไพเรำะชวนฟัง
พฤติกรรม : มักพบอยู่เป็นอยู่เกำะตำมสำยไฟฟ้ำหรือหลังคำบ้ำน มักเดินลงหำกินเมล็ดพืช
แมลง และตัวหนอนบนพื้นดิน เป็นนกที่คุ้นเคยกับคน จึงสำมำรถเข้ำใกล้ได้ในระยะประชิด
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ทำงภำคเหนือของประเทศไทย รังเป็นรูปกระจำด ตรงกลำงเป็นแอ่งตื้นๆ
วำงอยู่บนง่ำมไม้ โดยใช้กิ่งไม้เล็กๆ วำงซ้อนกันไปมำอย่ำงง่ำยๆ แม่นกออกไข่สีขำวจ�ำนวน 2-3
ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ทุ่งนำ ป่ำละเมำะ พื้นที่เกษตรกรรม บ้ำนเรือนและชุมชน จำกที่รำบจนถึงระดับควำม
สูง 1,800 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อยมำก สำมำรถพบ
เห็นนกเขำใหญ่หรือนกเขำหลวงเกำะตำมสำยไฟ ต้นไม้ริมคลอง และหำกินเมล็ดพืชบนพื้นดินใน
สวนผลไม้

40
นกเขาชวา
Zebra Dove | Geopelia striata
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก ประมำณ 21 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับนกปรอดสวน มีลักษณะกลม
ป้อม หัวเล็ก ปำกหนำตรงสั้นสีเทำขำว ปลำยปำกป่องเล็กน้อย ขนปกคลุมล�ำตัวสีเทำอ่อนมีลำย
คล้ำยเกล็ดทั้งตัว ล�ำตัวด้ำนล่ำงสีเนื้อ หำงเป็นลำยบั้ง ขนหำงด้ำนนอกสีขำว มีวงรอบตำสีขำว
ขำและนิ้วสีเนื้อแดง
เสียงร้อง : ขัน “คู” ติดต่อกันด้วยโทนเสียงนุ่มหลำยระดับ
พฤติกรรม : พบเห็นได้ทั่วไป มักพบเป็นอยู่ฝูงเล็กๆ เดินหำกินเมล็ดพืชและเมล็ดหญ้ำตำมพื้นดิน
หรือบนถนนในชุมชน เป็นนกที่ค่อนข้ำงเชื่องและคุ้นเคยกับคนมำก เพรำะอำจเป็นนกที่หลุดจำก
กรงเลี้ยง เนื่องจำกเป็นนกที่นิยมเลี้ยงอย่ำงแพร่หลำยและบำงตัวมีรำคำสูง
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงทำงภำคเหนือของประเทศไทย รังเป็นรูปจำนตรงกลำงเป็นแอ่งตื้นๆ วำงอยู่
บนง่ำมไม้ โดยใช้กิ่งไม้วำงซ้อนกันอย่ำงง่ำยๆ และโปร่ง แม่นกออกไข่สีขำวจ�ำนวน 2 ฟอง พ่อแม่
นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ป่ำโปร่ง ทุ่งนำ พื้นที่เกษตรกรรม บ้ำนเรือน และในชุมชน
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นที่ไม่เป็นสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อยมำก สำมำรถ
พบเห็นนกเขำชวำหำกินอยู่ทั่วไป บำงครั้งเกำะตำมสำยไฟริมคลองหรือเสำอำกำศโทรทัศน์

41
นกเปล้าคอสีม่วง
Pink-necked Pigeon | Treron Vernans
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก ประมำณ 25 ซม. ขนำดใหญ่กว่ำนกเอี้ยงสำริกำเล็กน้อย มีลักษณะ
กลมป้อม หัวเล็ก ปำกหนำสีเหลืองเขียว หัวสีเทำ คอและอกช่วงบนสีม่วงอมชมพู อกช่วงล่ำง
สีส้ม หลังและตะโพกสีเขียว ปีกมีแถบสีเหลืองอมเขียว หำงสีเทำ ปลำยหำงมีแถบสีด�ำ โคนหำง
ด้ำนล่ำงสีน�้ำตำลแดง ปำกสีเทำ ขำสีแดง ตัวเมียสีเขียวอมเทำ โคนหำงด้ำนล่ำงสีเนื้อ
เสียงร้อง : “คราก-คราก” เมื่ออยู่รวมฝูง
พฤติกรรม : มักพบอยู่เป็นคู่หรือเป็นฝูงเล็กๆ หำกินอยู่บนต้นไม้ ชอบเกำะต้นไม้ต้นใดต้นหนึ่ง
เป็นประจ�ำและไม่ค่อยย้ำยที่หำกิน เว้นแต่อำหำรขำดแคลน และจะวนกลับมำเมื่ออำหำรสมบูรณ์
อีกครั้ง
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย สร้ำงรังหยำบๆ โดยใช้กิ่งไม้เล็กๆ วำงซ้อนกันตำมง่ำม
ต้นไม้ ตัวเมียวำงไข่รูปร่ำงรี สีขำว จ�ำนวน 2 ฟอง พ่อแม่นกช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกนกจนโต
สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ป่ำดงดิบ ป่ำโปร่ง ป่ำชำยเลน และป่ำละเมำะในที่รำบโดยเฉพำะชำยฝั่งทะเล
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อย สำมำรถพบ
นกเปล้ำคอสีม่วงหนึ่งคู่หำกินอยู่บนต้นล�ำพูริมคลองอัมพวำและคลองท่ำคำ และพบอีกจ�ำนวน
12 ตัวรวมฝูงหำกินบนต้นล�ำพูริมคลองท่ำคำ เมื่อวันที่ 18 ตุลำคม 2554

42
นกกวัก
White-breasted Waterhen | Amaurornis phoenicurus
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก-กลำงประมำณ ๓๓ ซม. ปำกแหลม สีเหลืองอมเขียว โคนปำกบน
สีแดง หน้ำผำก หน้ำ และล�ำตัวด้ำนล่ำงสีขำว ล�ำตัวด้ำนบนและปีกสีด�ำ กระหม่อม ท้ำยทอย
และหลังคอมีสีด�ำยำวลงมำทำงข้ำงอกจนมำต่อกับสีข้ำงและก้นสีน�้ำตำลแดง ตำสีแดง แข้งและ
นิ้วสีเหลือง
เสียงร้อง : “กวั๊ก-กวั๊ก” แหลมดังหรือ “กวาก-กวาก” หรือรัว “กวั๊ก-กวั๊ก-กวาก-กวาก-กวาก...”
พฤติกรรม : ชอบเดินหำกินในดงพื้นน�้ำรกๆ และที่โล่งชำยน�้ำ ขณะเดินมักกระดกหำงเสมอ ชอบ
ส่งเสียงร้องโดยเฉพำะในช่วงฤดูผสมพันธุ์
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย ท�ำรังเป็นรูปถ้วยหรือชำม วำงอยู่บนกอหญ้ำหรือพืชลอย
น�ำ้ ตรงกลำงเป็นแอ่ง โดยใช้ใบหญ้ำหรือกกมำวำงซ้อนกันอย่ำงง่ำยๆ แม่นกจะออกไข่สขี ำวลำยจุด
ม่วงน�้ำตำลจ�ำนวน 4-5 ฟอง (บำงครั้งพบ 3 หรือ 6 ฟอง) พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่ ลูกนกแรกเกิด
มีขนอุยสีดำ� ปกคลุมทัง้ ตัว เมือ่ ขนแห้งสำมำรถเดินตำมพ่อแม่ออกไปหำกินได้ทนั ที ไม่เลีย้ งลูกในรัง
ถิ่นอาศัย : หนองบึง ล�ำคลอง และทุ่งนำจำกที่รำบไปจนถึงระดับควำมสูง 1,500 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อยมำก สำมำรถพบ
นกกวักเดินหำกินอยูต่ ำมกอพืชน�ำ้ และริมคลอง สวนผลไม้ บำงครัง้ นกเข้ำมำหำกินใกล้บริเวณบ้ำน
ของชำวบ้ำนริมคลอง

43
นกกระแตแต้แว้ด
Red-wattled Lapwing | Vanellus indicus
ลักษณะทั่วไป : ขนำดเล็ก-กลำง ประมำณ 33 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับนกกวัก ปำกหนำแหลมตรง
สีแดง ปลำยปีกสีด�ำ หัว คอ อก และท้ำยทอยสีด�ำ มีแผ่นหนังสีแดงคำดจำกหน้ำผำกไปถึงวงรอบ
เบ้ำตำ มีแถบคำดขำวจำกตำไปถึงก้ำนคอ ล�ำตัวด้ำนล่ำงสีขำว ส่วนล�ำตัวด้ำนบนสีเทำน�้ำตำล
หำงสีขำวมีแถบกว้ำงสีด�ำพำดกลำงหำง ขำยำวเหลือง ขณะบินเห็นแถบสีขำวกลำงปีกตัดกับขน
ปลำยปีกสีด�ำ แต่แถบมีขนำดเล็กกว่ำนกกระแตหำด ปลำยหำงสีด�ำและขอบปลำยหำงสีขำว
เสียงร้อง : “แต-แต-แวด” ดังลั่นติดต่อกัน
พฤติกรรม : มักพบนกเป็นคูห่ รือเป็นฝูงเล็กๆ หำกินโดยกำรเดินไปบนพืน้ ดินและหยุดจิกกินแมลง
ตัวหนอน หรือสัตว์ขนำดเล็ก บำงครั้งเดินลุยไปในน�้ำตื้นๆ วิ่งได้คล่องแคล่ว เมื่อตกใจบินขึ้นมัก
ส่งเสียงร้องดัง
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นแอ่งตื้นๆ บนพื้นดินตำมที่รำบ โดยใช้เศษกิ่งไม้
หญ้ำแห้ง รองรังด้วยหินหรือกรวดก้อนเล็กๆ แม่นกออกไข่สีน�้ำตำลอ่อนมีลำยจุดสีน�้ำตำลเข้ม
จ�ำนวน 4 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่ ลูกนกแรกเกิดมีขนอุยคลุมทั้งตัว หัวและล�ำตัวด้ำนบน
สีน�้ำตำล มีลำยจุดสีด�ำกระจำย คอด้ำนล่ำงสีด�ำ คอด้ำนบนและล�ำตัวด้ำนล่ำงสีขำว เมื่อขนแห้ง
สำมำรถเดินตำมพ่อแม่ออกไปหำกินได้ทันที ไม่เลี้ยงลูกในรัง
ถิ่นอาศัย : ทุ่งนำ ทุ่งหญ้ำ หนองบึง และพื้นที่เกษตรกรรม
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและไม่เป็นสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบยำก พบเห็นนก
กระแตแต้แว้ดบินผ่ำนคลองบำงแคและคลองท่ำคำเพียงแห่งละครั้ง

44
นกนางนวลแกลบเคราขาว
Whiskered Tern | Chlidonias hybrida
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก ประมำณ 26 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับนกเอี้ยงสำริกำ นอกฤดูผสมพันธุ์
ปำกแหลมตรงสีด�ำ หน้ำผำกและกระหม่อมสีขำว ท้ำยทอยสีขำวมีลำยขีดสีด�ำ มีแถบสีด�ำคำด
จำกตำถึงท้ำยทอย หน้ำ ข้ำงคอ และล�ำตัวด้ำนล่ำงสีขำว ล�ำตัวด้ำนบนสีเทำอ่อน ขำสีด�ำ ฤดู
ผสมพันธุ์ ปำกและขำเปลี่ยนเป็นสีแดงสด หน้ำผำก กระหม่อม และท้ำยทอยเปลี่ยนเป็นสีด�ำ
หน้ำสีขำว ล�ำตัวด้ำนล่ำงเปลี่ยนเป็นสีเทำด�ำ ขนคลุมโคนหำงด้ำนล่ำงสีขำว ล�ำตัวด้ำนบนสีเทำ
หำงเป็นแฉกเล็กน้อยสีขำว ขณะบินจะเห็นล�ำตัวด้ำนล่ำงสีเทำด�ำตัดกับสีขำวของขนคลุมปีกด้ำน
ล่ำง นกวัยอ่อนล�ำตัวด้ำนบนเป็นลำยของขนสีน�้ำตำลเข้ม
เสียงร้อง : “เก็ก-เก็ก”
พฤติกรรม : มักพบอยู่รวมกันเป็นฝูงหำกินโดยกำรบินวนเวียนเหนือผิวน�้ำ แล้วโฉบจับเหยื่อที่
ผิวน�้ำ ใช้ปำกจุ่มลงไปเพื่อจับสัตว์น�้ำขนำดเล็ก บำงครั้งก็บินโฉบจับแมลงกลำงอำกำศ ช่วงเวลำ
พักผ่อนมักเกำะพักตำมเสำหลักใกล้กับแหล่งหำกิน
ผสมพันธุ์ : ไม่พบกำรท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย
ถิ่นอาศัย : ชำยฝั่งทะเล แหล่งน�้ำขนำดใหญ่ ทุ่งนำ นำเกลือ และบ่อเลี้ยงกุ้ง
สถานภาพ : จัดเป็นนกอพยพและสัตว์ปำ่ คุม้ ครองของประเทศไทย พบยำกมำก พบเห็นนกนำงนวล
แกลบเครำขำวจ�ำนวน 3 ตัวบินหำอำหำรเหนือผิวน�ำ้ บริเวณปำกคลองบำงนำงลีส่ องครัง้ เมือ่ วันที่ 18
และ 22 ตุลำคม 2554

45
เหยี่ยวแดง
Brahminy Kite | Haliastur Indus
ลักษณะทั่วไป : ขนำดกลำง ประมำณ 43 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับอีกำ ปำกแหลมคมแบบปำกขอ
สีเทำเขียว ขำสีเหลือง ส่วนกรงเล็บสีด�ำ นกเต็มวัย หัว หลังคอ อก และท้องสีขำวมีลำยขีดสีเข้ม
เล็กๆ ล�ำตัวด้ำนบน ล�ำตัวด้ำนล่ำง และหำงสีน�้ำตำลแดง ขนปลำยปีกสีด�ำ นกไม่เต็มวัย ขน
ปกคลุมทั้งตัวสีน�้ำตำล และมีลำยสีเข้มเล็กๆ
เสียงร้อง : “คี้-คี้-แอ” ลำกเสียงแหลมยำวๆ
พฤติกรรม : มักพบอยู่โดดเดี่ยว เป็นคู่หรือฝูงเล็กๆ เกำะตำมกิ่งไม้หรือยอดไม้แห้งในระดับสูง
หำกินโดยกำรบินร่อนและโฉบจับปลำในน�้ำด้วยกรงเล็บ แล้วใช้ปำกฉีกเหยื่อกิน รวมทั้งกินสัตว์
ขนำดเล็กอื่นๆ ด้วย บำงครั้งก็โฉบลงกินซำกปลำหรือสัตว์เล็กๆ ที่ลอยน�้ำมำ
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปจำนตรงกลำงเป็นแอ่งตื้นๆ โดยใช้กิ่งไม้มำวำง
ซ้อนกันอย่ำงง่ำยๆ แม่นกออกไข่สีขำวหรืออำจมีรอยเปื้อนสีน�้ำตำล จ�ำนวน 2-3 ฟอง พ่อแม่นก
จะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ปำกแม่น�้ำ ชำยทะเล ท่ำเรือ ป่ำชำยเลน และแหล่งน�้ำขนำดใหญ่
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและเป็นสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบไม่บ่อย พบเหยี่ยว
แดงร่อนหำกินบริเวณคลองบำงแค คลองท่ำคำ และเกำะบนต้นมะพร้ำวริมคลองอัมพวำ

46
เหยี่ยวนกเขาชิครา
Shikra | Accipiter badius
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก-กลำง ประมำณ 30-36 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับนกพิรำบ ปำกแบบ
ปำกขอแหลมคมสีเทำด�ำ หนังจมูกสีเหลือง ขำสีเหลือง ตัวผู้ ตำสีแดง กระหม่อม หน้ำ และล�ำตัว
ด้ำนบนสีเทำน�้ำน�้ำตำล คอหอยสีขำว อก และล�ำตัวด้ำนล่ำงมีลำยขวำงสีน�้ำตำลสลับสีขำว หำง
สีเทำ ตัวเมียล�ำตัวใหญ่กว่ำตัวผู้ ตำสีเหลือง ล�ำตัวด้ำนบนสีน�้ำตำลเข้ม ส่วนล�ำตัวด้ำนล่ำงสีขำว
นวลมีลำยขวำงสีน�้ำตำลเข้ม
เสียงร้อง : “คี้-วิก คี้-วิก” ชอบร้องเสียงแหลมดังมำก
พฤติกรรม : มักพบอยู่โดดเดี่ยวหรือเป็นคู่ เกำะตำมกิ่งไม้ใหญ่ที่ใบแน่นทึบ จ้องหำเหยื่อ เมื่อพบ
เหยือ่ จ�ำพวกนกและสัตว์ขนำดเล็กจะบินโฉบด้วยกรงเล็บแล้วน�ำไปจิกกินด้วยปำก มักพบเห็นบินโฉบ
จับเหยื่อตำมป่ำโปร่ง บินกระพือปีกถี่สลับกับร่อนไปตำมต้นไม้เพื่อเปลี่ยนที่เกำะ
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปจำน ตรงกลำงเป็นแอ่งตื้นๆ อยู่บนง่ำมไม้ โดย
ใช้กิ่งไม้มำวำงซ้อนกันอย่ำงง่ำยๆ แม่นกออกไข่สีเทำแกมน�้ำเงิน จ�ำนวน 3-4 ฟอง พ่อแม่นกจะ
ช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ป่ำเต็งรัง ป่ำเบญจพรรณ ป่ำดงดิบ หนองบึง ทุ่งหญ้ำในที่รำบ และพื้นที่เกษตรกรรม
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและนกอพยพ และสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบยำก
มำก พบเหยี่ยวนกเขำชิครำบินร่อนเหนือคลองบำงนำงลี่เพียงครั้งเดียวเมื่อวันที่ 27 ตุลำคม 2554

47
เหยี่ยวด�า
Black Kite | Minivus migrans
ลักษณะทั่วไป : ขนำดกลำง-ใหญ่ ประมำณ 61-66 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับไก่ป่ำ ปำกแบบปำกขอ
แหลมคมสีด�ำ หนังจมูกสีเหลือง ปลำยหำงเป็นแฉกเล็กน้อย ล�ำตัวทั้งหมดสีน�้ำตำลไหม้ มีลำย
ขีดจำงทั้งตัว ล�ำตัวด้ำนล่ำงมีสีอ่อนกว่ำล�ำตัวด้ำนบน มีแถบคำดตำสีเข้ม ขำสีเหลือง ขณะบินจะ
เห็นปีกคล�้ำมีแถบสีอ่อนที่ใต้ปีก ปลำยหำงเป็นแฉกเล็กน้อย
เสียงร้อง : “พี้-เออ” แหลมสูง
พฤติกรรม : มักพบอยู่โดดเดี่ยว เป็นคู่ หรือเป็นฝูง บินร่อนอยู่กลำงอำกำศ หำกินซำกสัตว์หรือ
ล่ำเหยื่อพวกสัตว์ขนำดไม่ใหญ่นัก โดยใช้กรงเล็บจับเหยื่อแล้วใช้ปำฉีกกิน ช่วงเวลำอพยพจะพบ
นกรวมฝูงเป็นจ�ำนวนมำก
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปจำนตรงกลำงเป็นแอ่งตื้นๆ วำงอยู่บนง่ำมไม้
โดยใช้กิ่งไม้วำงซ้อนกันอย่ำงง่ำยๆ แม่นกออกไข่สีขำว มีรอยเปื้อนสีน�้ำตำลจ�ำนวน 2-4 ฟอง
พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ทุ่งโล่ง ทุ่งนำ ป่ำละเมำะ พื้นที่เกษตรกรรม และที่พื้นที่ชุ่มน�้ำต่ำงๆ
สถานภาพ : จัดเป็นนกอพยพสัตว์ปำ่ คุม้ ครองของประเทศไทย พบยำกมำก พบเหยีย่ วด�ำ บินร่อน
เหนือคลองท่ำคำเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกำยน 2554

48
นกยางเปย
Little Egret | Egretta garzetta
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดกลำง-ใหญ่ ประมำณ 61 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับไก่ป่ำ หัวเล็ก คอยำว
ปำกแหลมตรงยำวสีด�ำ หนังหน้ำสีเหลืองถึงเทำ ขนปกคลุมล�ำตัวทั้งหมดสีขำว ขำยำวสีด�ำ ตีนสี
เหลือง ฤดูผสมพันธุ์มีขนสีขำว 2 เส้นยำวออกมำจำกท้ำยทอยคล้ำยเปียจึงได้ชื่อว่ำ “นกยำงเปีย”
ขนบริเวณอกและขนคลุมโคนหำงด้ำนบนแตกเป็นฝอยละเอียดฟูฟ่องและจะหลุดออกไปเมื่อพ้น
ฤดูผสมพันธุ์
เสียงร้อง : “กรอ-กรอ” ดังแหบกระด้ำง
พฤติกรรม : มักพบหำกินโดยกำรเดินท่องน�้ำ จิกสัตว์น�้ำขนำดเล็กด้วยปำกและกลืนกินเหยื่อ
ทัง้ ตัว บำงครัง้ ก็เดินย�ำ่ ไปในน�ำ้ หรือใช้ตนี พุย้ น�ำ้ ให้ปลำตกใจและว่ำยน�ำ้ ออกมำจำกทีซ่ อ่ นเพือ่ เป็น
เหยื่อ
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปกระจำดตรงกลำงเป็นแอ่งตื้นๆ โดยใช้กิ่งไม้วำง
ซ้อนกันอย่ำงง่ำยๆ ตำมง่ำมไม้ รองรังด้วยหญ้ำและใบไม้สด แม่นกออกไข่สีเขียวอมฟ้ำจ�ำนวน
2-5 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : แหล่งน�้ำ หนองบึง ทุ่งนำ ชำยเลน นำเกลือ พื้นที่ชุ่มน�้ำ และบ่อเลี้ยงกุ้ง ปลำ
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและเป็นสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อยมำก พบนก
ยำงเปียเดินท่องน�้ำหำกินอยู่ตำมชำยคลองเมื่อน�้ำลด

49
นกยางกรอกพันธุ์ชวา
Javan Pond Heron | Ardeola speciosa
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดกลำง ประมำณ 46 ซม. ขนำดโตกว่ำนกกำเหว่ำเล็กน้อย หัวค่อนข้ำงโต
คอยำว ปำกแหลมตรงยำวสีเหลือง ปลำยปำกด�ำ ขำยำวสีเหลืองเขียว นอกฤดูผสมพันธุ์ หัว
คอ และอกมีลำยประสีน�้ำตำลเทำอมเขียวบนพื้นสีน�้ำตำลเทำอ่อน ท้องสีขำว หลังสีน�้ำตำลเขียว
ปีกสีขำว จ�ำแนกนกยำงกรอกพันธุ์ชวำออกจำกนกยำงกรอกชนิดอื่นยำกมำก ฤดูผสมพันธุ์ หัว
และคอเปลี่ยนเป็นสีน�้ำตำลอ่อน มีขนเปียสีเนื้อ อกเปลี่ยนเป็นสีน�้ำตำลแดง หลังเปลี่ยนเป็นสีเทำ
น�้ำเงิน ขำบำงตัวเปลี่ยนเป็นสีแดง หนังรอบตำสีฟ้ำเทำ
เสียงร้อง : “กรอก-กรอก”
พฤติกรรม : มักพบอยู่โดดเดี่ยวหรือเป็นกลุ่มเล็กๆ หำกินโดยกำรยืนนิ่งๆ หรือเดินย่องไปตำม
ชำยน�้ำเพื่อจิกกินสัตว์น�้ำขนำดเล็กแล้วกลืนกินเหยื่อทั้งตัว
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปกระจำดตรงกลำงเป็นแอ่ง วำงอยู่ตำมง่ำมไม้
โดยใช้กิ่งไม้วำงซ้อนกันอย่ำงง่ำยๆ รองรังด้วยใบหญ้ำใบไม้ แม่นกออกไข่สีเขียว จ�ำนวน 3-4 ฟอง
พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : แหล่งน�้ำ หนองบึง ทุ่งนำ นำเกลือ ป่ำชำยเลน และบ่อเลี้ยงกุ้ง ปลำ
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อยมำก สำมำรถ
พบเห็นนกยำงกรอกพันธุ์ชวำเดินท่องน�้ำหำกินตำมบริเวณชำยคลองทุกสำย บำงครั้งอำจเกำะอยู่
บนต้นมะพร้ำวและต้นไม้อื่นๆ ริมคลอง

50
นกยางควาย
Cattle Egret | Bulbulcus ibis
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดกลำง ประมำณ 51 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับอีกำ หัวค่อนข้ำงโต คอยำว
ปำกแหลมตรงยำวสีเหลือง ขนปกคลุมล�ำตัวสีขำว ขำยำวสีด�ำ ฤดูผสมพันธุ์ หัว คอ อก และหลัง
เปลี่ยนเป็นสีส้มอมน�้ำตำล ปำกและขำออกสีแดงชมพู
พฤติกรรม : มักพบอยู่รวมกันเป็นฝูงมำกกว่ำอยู่โดดเดี่ยว หำกินโดยกำรเดินตำมฝูงวัวควำย
เพือ่ คอยจับกินแมลงทีบ่ นิ หรือกระโดดหนีจำกกำรเดินเหยียบย�ำ่ บำงครัง้ จิกกินปลิงและเห็บทีเ่ กำะ
ตำมล�ำตัวของควำย จึงมีชื่อว่ำ “นกยำงควำย”
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปกระจำดตรงกลำงเป็นแอ่ง วำงอยู่ตำมง่ำมไม้
หรือกอไผ่ โดยใช้กิ่งไม้วำงซ้อนกันอย่ำงง่ำยๆ รองรังด้วยใบหญ้ำใบไม้ แม่นกออกไข่สีเขียวซีด
จ�ำนวน 3-4 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรัง
ได้เอง
ถิ่นอาศัย : พื้นที่ชุ่มน�้ำ ทุ่งหญ้ำ ทุ่งนำ และพื้นที่เกษตรกรรม
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและเป็นสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบยำกมำก พบนก
ยำงควำยจ�ำนวน 3 ตัวเดินหำกินกับฝูงวัวริมคลองแควอ้อมเมื่อเดือนพฤศจิกำยน 2554

51
นกยางเขียว
Little Heron | Butorides striata
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดกลำง ประมำณ 46 ซม. ขนำดโตกว่ำนกกำเหว่ำเล็กน้อย ปำกแหลมตรง
ยำวสีด�ำ หนังรอบตำสีเหลืองคล�้ำ ตำสีเหลือง กระหม่อมและขนเปียสีด�ำ มีแถบสีขำวคำดจำก
หลังตำถึงท้ำยทอยและแถบสีด�ำพำดผ่ำนตำ ล�ำตัวด้ำนบนสีเทำเข้มอมเขียวมีลำยขอบขนสีขำว
ส่วนล�ำตัวด้ำนล่ำงสีเทำหม่น บริเวณคำงและกลำงอกสีขำว ขำยำวเหลืองหรือส้มแดง
เสียงร้อง : “เคี้ยว-เคี้ยว” ดังแหบห้ำว
พฤติกรรม : มักพบอยู่โดดเดี่ยว หำกินโดยกำรย่องไปตำมชำยน�้ำจิกกินสัตว์น�้ำขนำดเล็กและ
กลืนกินเหยือ่ ทัง้ ตัว บำงครัง้ เกำะนิง่ ตำมพืน้ เลนหรือรำกไม้รมิ น�ำ้ รอจิกกินเหยือ่ ทีผ่ ำ่ นมำ ออกหำกิน
ตอนเช้ำตรู่ไปจนถึงพลบค�่ำ
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปกระจำดตรงกลำงเป็นแอ่ง วำงอยู่ตำมง่ำมไม้
โดยใช้กิ่งไม้วำงซ้อนกันอย่ำงง่ำยๆ รองรังด้วยใบหญ้ำใบไม้ แม่นกออกไข่สีเขียว จ�ำนวน 3-5 ฟอง
พ่อแม่นกจะช่วยกันเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : แหล่งน�้ำ ป่ำชำยเลน ชำยฝั่งทะเล ชำยเลน บ่อเลี้ยงกุ้งปลำ และแหล่งน�้ำในป่ำ
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อยมำก สำมำรถพบ
เห็นนกยำงเขียวเดินหำกินตำมบริเวณชำยคลองทุกสำย บำงครั้งมักเกำะนิ่งบนกิ่งต้นไม้ชำยคลอง

52
นกกาน�้าเล็ก
Little Cormorant | Phalacrodorax niger
ลักษณะทั่วไป : ขนำดกลำง ประมำณ 52 ซม. ขนำดใกล้เคียงอีกำ ปำกตรง ปลำยปำกงุ้มสีด�ำ
ล�ำตัวทั้งหมดสีด�ำเหลือบ ใต้คำงสีขำว ตำสีด�ำ ขำสีด�ำมีพังผืดระหว่ำงนิ้ว ฤดูผสมพันธุ์ หัวและ
คอมีลำยขีดสีขำว นกวัยอ่อน ล�ำตัวมีสีน�้ำตำลเข้ม ขนคลุมหำงสีเทำ มีลำยสีจำง ถุงใต้คำงสีขำว
ปำกสีเหลืองเทำ
พฤติกรรม : มักพบอยู่โดดเดี่ยว หรือเป็นกลุ่ม หำกินโดยกำรว่ำยน�้ำโผล่แต่คอเหนือผิวน�้ำ ด�ำน�้ำ
จับสัตว์ใต้น�้ำแล้วกลืนกินเหยื่อทั้งตัว มักพบเกำะบนกิ่งไม้เหนือน�้ำ กำงปีกผึ่งแดด ขณะบินออก
หำกินหรือกลับรังมักรวมตัวกันฝูง ว่ำยน�้ำและเกำะกิ่งไม้ได้ดี แต่เดินบนดินได้ไม่ดีนัก
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปกระจำดตรงกลำงเป็นแอ่งตื้นๆ โดยใช้กิ่งไม้วำง
ซ้อนกันอย่ำงง่ำยๆ ตำมง่ำมไม้ รองรังด้วยใบไม้หรือหญ้ำสด แม่นกออกไข่สขี ำวอมฟ้ำจ�ำนวน 3-5
ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : แหล่งน�้ำจืด ชำยทะเล ป่ำชำยเลน ทุ่งนำ และบ่อเลี้ยงกุ้ง ปลำ
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบยำกมำก พบนกกำน�้ำ
เล็กที่คลองท่ำคำเพียงครั้งเดียว เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกำยน 2554

53
นกกระทุง
Spot-billed Pelican | Pelecanus philippensis
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดใหญ่มำก ประมำณ 140 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับห่ำนบ้ำน ล�ำตัวใหญ่
เทอะทะ ปำกแบนใหญ่ยำวสีชมพูอมเหลือง ปำกบนมีจุดสีฟ้ำเรียงเป็นแถว มีถุงหนังขนำดใหญ่
สีชมพูอมม่วงห้อยอยูใ่ ต้ปำกและคอ วงรอบตำสีขำว ขนปกคลุมล�ำตัวสีเทำอมน�ำ้ ตำลอ่อน ด้ำนหลัง
มีสีเข้มกว่ำด้ำนท้อง ขำสั้นสีเทำ ระหว่ำงนิ้วตีนมีพังผืดเต็ม ฤดูผสมพันธุ์ หลังช่วงท้ำยและล�ำตัว
ด้ำนล่ำงสีชมพู อกมีสีเหลืองแซม
พฤติกรรม : มักพบอยู่โดดเดี่ยวหรือรวมกันเป็นฝูง ออกหำกินเวลำกลำงวันโดยกำรลอยตัวหรือ
ว่ำยน�้ำมองหำเหยื่อ บำงครั้งมุดหัวลงไปใต้น�้ำแล้วใช้ปำกและถุงใต้คำงช้อนสัตว์น�้ำขึ้นมำแล้วกลืน
กินเหยื่อทั้งตัว
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปจำนขนำดใหญ่ตรงกลำงเป็นแอ่งตื้นๆ วำงอยู่
บนง่ำมไม้สูง โดยใช้กิ่งไม้วำงซ้อนกันอย่ำงง่ำยๆ แม่นกออกไข่สีขำวจ�ำนวน 2-4 ฟอง (ส่วนใหญ่
พบ 3 ฟอง) พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : แหล่งน�้ำขนำดใหญ่ ทะเลสำบ หนองบึง แม่น�้ำขนำดใหญ่ และชำยฝั่งทะเล
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและนกอพยพ และสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบยำก
มำก พบนกกระทุงบินร่อนเหนือคลองแควอ้อมเพียงครั้งเดียวเมื่อวันที่ 15 ตุลำคม 2554

54
กาแวน
Racket-tailed Treepie | Crypsirina temia
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็กกลำง ประมำณ 33 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับนกเขำใหญ่ ปำกหนำใหญ่
สีด�ำ รูปร่ำงเพรียวยำว หำงยำวและปลำยหำงแผ่ออกคล้ำยใบพำย หน้ำผำกมีขนปุยนุ่มคล้ำย
ก�ำมะหยี่สีด�ำ ตำสีฟ้ำ ขนปกคลุมล�ำตัวสีด�ำเหลือบเขียว ขำสีด�ำ
เสียงร้อง : “ชราค-ชราค-ชราค-ชราค” แหลมดังต่อกัน
พฤติกรรม : มักพบอยูเ่ ป็นคู่ หรือเป็นกลุม่ เล็กๆ ชอบอยูต่ ำมต้นไม้หรือไม้พมุ่ หำกินโดยกำรกระโดด
ไปตำมกิ่งไม้เพื่อจิกกินแมลง ตัวหนอน และสัตว์ขนำดเล็ก
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปถ้วยวำงอยู่บนง่ำมไม้หรือกอไผ่ โดยใช้กิ่งไม้
แห้งและต้นหญ้ำวำงซ้อนกันอย่ำงง่ำยๆ รองรังด้วยวัสดุที่อ่อนนุ่ม แม่นกออกไข่สีน�้ำตำลอ่อนมี
ลำยจุดสีน�้ำตำลเข้มจ�ำนวน 3-4 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกจนแข็งแรงสำมำรถ
บินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ป่ำโปร่ง ป่ำละเมำะ ป่ำชำยเลน ป่ำเบญจพรรณ และป่ำไผ่ จำกที่รำบขึ้นไปจนถึงระดับ
ควำมสูง 900 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบยำก พบเห็นนกกำแวน
เกำะกิ่งไม้ริมคลองบำงนำงลี่ คลองโพงพำงและคลองท่ำคำ

55
อีกา
Large-billed Crow | Corvus macrorhynchos
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดกลำง ประมำณ 51 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับนกกระปูดใหญ่ ปำกใหญ่
สันปำกงุ้มลงสีด�ำ ขนคลุมลตัวทั้งหมดสีด�ำ ขำสีด�ำ
เสียงร้อง : “กา-กา-กา”
พฤติกรรม : มักพบอยู่เป็นคู่ เป็นกลุ่มเล็กๆ บำงครั้งอำจอยู่รวมกันเป็นฝูงใหญ่เมื่อเจอแหล่ง
อำหำรที่อุดมสมบูรณ์ สำมำรถกินอำหำรได้เกือบทุกชนิด
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปชำมตรงกลำงเป็นแอ่ง วำงอยู่บนง่ำมไม้หรือ
ซอกอำคำร โดยใช้กิ่งไม้วำงซ้อนกันอย่ำงง่ำยๆ รองรังด้วยขนนกและวัสดุที่อ่อนนุ่ม แม่นกออก
ไข่สีเขียวแกมน�้ำเงินมีลำยขีดสีน�้ำตำล จ�ำนวน 4-6 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูก
จนแข็งแรงสำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ป่ำโปร่ง ป่ำละเมำะ ทุ่งโล่ง ป่ำชำยเลน พื้นที่เกษตรกรรม และชุมชน
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบยำกมำก พบเห็นอีกำ
บินเหนือคลองบำงแคเพียงครั้งเดียว

56
นกแอ่นพง
Ashy Woodswallow | Artamus fuscus
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก ประมำณ 16-18 ซม. ขนำดใหญ่กว่ำนกกระจอกบ้ำน ปำกหนำสีเทำ
อมฟ้ำ หัวและล�ำตัวด้ำนบนสีเทำเข้ม อกและล�ำตัวด้ำนล่ำงสีน�้ำตำล ก้นขำว ขณะบินเห็นปีกเป็น
รูปสำมเหลี่ยม นกวัยอ่อน ปำกสีคล�้ำ ล�ำตัวด้ำนบนสีน�้ำตำลมีลำยขอบขนสีน�้ำตำลอ่อน
เสียงร้อง : “ชรี๊ก” แหลมเล็ก
พฤติกรรม : มักพบเกำะเรียงกันเป็นฝูงตำมกิ่งไม้หรือสำยไฟฟ้ำ บำงครั้งส่ำยหำงหมุนเป็นวง
หำกินด้วยกำรบินสลับสลับกำรร่อนเพื่อโฉบจับแมลงกลำงอำกำศ
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปถ้วย โดยใช้กิ่งไม้เล็กๆ และหญ้ำมำวำงซ้อนกัน
อยู่ตำมโพรงไม้ กิ่งไม้ คอมะพร้ำว หรือยอดเสำไฟฟ้ำ แม่นกออกไข่สีขำว มีลำยจุดสีน�้ำตำล
จ�ำนวน 2-3 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรัง
ได้เอง
ถิ่นอาศัย : พื้นที่โล่งและที่พื้นที่เกษตรกรรมซึ่งมีต้นไม้แห้งสูงเด่น จำกที่รำบถึงระดับควำมสูง
1,800 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อย สำมำรถพบเห็น
นกแอ่นพง เกำะบนต้นไม้แห้ง เสำอำกำศโทรทัศน์ และสำยไฟริมคลอง รอบินโฉบจับแมลงกลำง
อำกำศ

57
นกขมิ้นท้ายทอยด�า
Black-naped Oriole | Oriolus Chinensis
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก ประมำณ 27 ซม. ขนำดเล็กกว่ำนกเขำใหญ่เล็กน้อย ปำกสีชมพูอม
ส้ม ตัวสีเหลืองสด มีแถบคำดตำสีด�ำยำวมำถึงท้ำยทอย ปีกมีลำยสีด�ำ หำงด�ำ ปลำยขอบหำง
ด้ำนนอกสีเหลือง ขำสีด�ำ ตัวเมีย หลังและปีกเป็นสีเหลืองอมเขียวคล�้ำ นกวัยอ่อน ปำกสีเทำอม
น�้ำตำล ล�ำตัวด้ำนบนสีเขียวคล�้ำ แถบคำดตำไม่ชัด คอ อก และท้องสีเหลืองจำงๆ มีลำยขีดสีด�ำ
เสียงร้อง : “แกก-แกก” แหบแห้ง
พฤติกรรม : มักพบเกำะบริเวณกลำงล�ำต้นถึงเรือนยอดกระโดดไปตำมกิ่งไม้หำตัวหนอและแมลง
กินเป็นอำหำร นอกจำกนี้ยังกินลูกไม้และน�้ำหวำนดอกไม้บำงชนิดด้วย มักพบตัวเดียวหรือเป็นคู่
ส่งเสียงร้องแหบดัง
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย แต่มีรำยงำนน้อยมำก รังเป็นรูปถ้วยแขวนอยู่ตำมง่ำม
กิ่งไม้ โดยใช้กิ่งไม้เล็กๆ และใบไม้มำยึดติดกันด้วยใยแมงมุม แม่นกออกไข่สีขำวมีลำยสีเทำและ
ด�ำ จ�ำนวน 2 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรัง
ได้เอง
ถิ่นอาศัย : ป่ำดงดิบ ป่ำโปร่ง ป่ำชำยเลน สวนผลไม้ และสวนสำธำรณะ
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและนกอพยพ และสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบยำก
มำก พบนกขมิ้นท้ำยทอยด�ำหำกินบนต้นไม้ริมคลองบำงแคเพียงครั้งเดียว

58
นกอีแพรดแถบอกด�า
Pied Fantail | Rhipidura javanica
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก ประมำณ 18 ซม. ขนำดเล็กกว่ำนกปรอดสวน ปำกเล็กแหลมตรง
สีด�ำ ขำสีด�ำ นกเต็มวัย คิ้วสีขำว กระหม่อมและล�ำตัวด้ำนบนสีด�ำ ล�ำตัวด้ำนล่ำงสีขำวมีแถบคำด
อกสีเทำ หำงสีด�ำปลำยขนหำงสีขำว นกวัยอ่อน ล�ำตัวด้ำนบนสีน�้ำตำลแกมแดง
เสียงร้อง : “ซิ่ว-วี๊ด ซิ่ว-วี๊ด ซิ่ว-วี๊ด” แหลมใส
พฤติกรรม : มักพบอยู่โดดเดี่ยวหรือเป็นคู่ ขณะเกำะจะขยับปีกและแพนหำงอยู่เสมอ ไม่ค่อย
อยู่นิ่ง หำกินโดยกำรกระโดดไปตำมต้นไม้หรือบินโฉบจับแมลงอยู่ไปมำ
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปถ้วยเล็กๆ วำงติดอยู่ง่ำมไม้ โดยใช้ใบหญ้ำและ
เปลือกไม้ฉีกเป็นเส้นเล็กๆ มำสำนกันอย่ำงปรำณีตแล้วยึดติดกันด้วยใยแมงมุม แม่นกออกไข่
สีน�้ำตำลอ่อนมีลำยจุดเข้ม จ�ำนวน 2 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง
สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ป่ำโปร่ง ป่ำชำยเลน ป่ำละเมำะ ทุ่งโล่ง ชุมชนและสวนผลไม้
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อยมำก สำมำรถพบ
เห็นนกอีแพรดแถบอกด�ำได้ตำมล�ำคลองทุกสำย

59
นกวัยอ่อน
นกแซงแซวหางปลา
Black Drongo | Dicrurus macrocercus
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก ประมำณ 28 ซม. ขนำดเท่ำใกล้เคียงกับนกเอี้ยงสำริกำ ปำกใหญ่
แหลมโค้งลงเล็กน้อยสีด�ำ ตำสีแดง ล�ำตัวเพรียวยำว ขนคลุมล�ำตัวทั้งหมดสีด�ำ หำงยำว ปลำย
หำงเว้ำลึกเป็นแฉก
เสียงร้อง : “ชี๊ค-ชี้ค-ชี้ค” แหลมดังต่อกัน
พฤติกรรม : มักพบอยูโ่ ดดเดีย่ วหรือเป็นฝูงเล็กๆ บำงครัง้ หำกินอยูก่ บั วัวควำย ชอบเกำะตำมสำยไฟ
ตอไม้ หรือกิง่ ไม้แห้ง หำกินโดยกำรโฉบแมลงกลำงอำกำศหรือแมลงทีต่ กใจกำรเดินของฝูงวัวควำย
บำงครั้งบินโฉบจับแมลงเหนือบริเวณที่เกิดไฟไหม้
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ทำงภำคเหนือของประเทศไทย รังเป็นรูปถ้วยหรือกระชอนแขวนอยู่ตำม
ง่ำมไม้ปลำยสุดของกิ่ง โดยใช้ใบหญ้ำเส้นเล็กๆ มำสำนกันแล้วยึดติดด้วยใยแมงมุม แม่นกออกไข่
สีขำวหรือครีมแกมชมพู มีลำยจุดหรือลำยดอกดวงสีด�ำ จ�ำนวน 3-4 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟัก
ไข่และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ทุ่งโล่ง ทุ่งนำ พื้นที่เกษตรกรรม และบริเวณใกล้แหล่งน�้ำ
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อย สำมำรถพบเห็น
นกแซงแซวหำงปลำบินข้ำมคลองไปมำ บำงครั้งเกำะตำมต้นไม้ชำยคลองหรือสวนผลไม้

60
นกแซงแซวสีเทา
Ashy Drongo | Dicrurus leucophaeus
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก ประมำณ 29 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับนกเอี้ยงสำริกำ ลักษณะคล้ำย
นกแซงแซวหำงปลำ ปำกแหลมตรงสีด�ำโค้งลงเล็กน้อย ล�ำตัวเพรียวยำว ขนคลุมล�ำตัวสีเทำคล�้ำ
หำงยำวสีเทำ ปลำยหำงเว้ำลึกเป็นแฉก ตำสีแดง ขำสีด�ำ ชนิดย่อย leucogenis ที่ย้ำยถิ่นเข้ำมำ
สีเทำอ่อน แก้มสีขำวและโคนปำกสีด�ำ
เสียงร้อง : “พิ้ว” ลำกเสียงยำวคล้ำยผิวปำก
พฤติกรรม : มักพบอยู่โดดเดี่ยว เป็นคู่ หรือเป็นฝูงเล็กๆ ชอบเกำะอยู่ปลำยกิ่งไม้แห้งโล่งๆ บิน
โฉบจับแมลงในอำกำศอย่ำงรวดเร็วและส่งเสียงร้องดัง
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปถ้วยอยู่ตำมง่ำมไม้ โดยใช้กิ่งไม้เล็กๆ และใบ
หญ้ำมำสำนกันแล้วยึดติดด้วยใยแมงมุม รองรังด้วยใบหญ้ำที่ฉีกเป็นเส้นเล็กๆ แม่นกออกไข่มี
สีพื้นหลำกหลำยและมีลำยจุดสีเข้มจ�ำนวน 3-4 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกจน
แข็งแรงสำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ป่ำดงดิบ ป่ำเต็งรัง ป่ำเบญจพรรณ ป่ำโปร่ง และป่ำชำยเลน
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและนกอพยพ และสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบไม่บ่อย
พบห็นนกแซงแซวสีเทำเกำะตำมกิ่งไม้แห้งและสำยไฟริมคลองในช่วงเดือนตุลำคม-พฤศจิกำยน

61
นกแซงแซวหางบ่วงใหญ่
Greater Racket-tailed Drongo | Dicrurus paradiseus
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก-กลำง ประมำณ 32 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับนกเขำใหญ่ ล�ำตัวด้ำนบน
สีด�ำเหลือบน�้ำเงิน ล�ำตัวด้ำนล่ำงสีด�ำเหลือบ บนหัวมีหงอนยำวโค้งเป็นกระจุก ปลำยหำงเว้ำหยัก
ลึกเข้ำมำเล็กน้อย ขนหำงด้ำนนอกมีแกนกลำงสองข้ำงงอกยำวออกมำยำวกว่ำเส้นอื่นมำก และ
ส่วนปลำยแผ่ออกด้ำนเดียว ตำสีแดง
พฤติกรรม : เป็นนกที่มีนิสัยหวงถิ่น หำกมีนกอื่นรุกล�้ำเข้ำมำจะรีบบินออกไปขับไล่อย่ำงก้ำวร้ำว
ชอบส่งเสียงร้องดังและสำมำรถเลียนเสียงนกอื่นได้ดี ปกติมักพบเกำะอยู่บริเวณกลำงล�ำต้น
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปถ้วยติดอยู่ตำมง่ำมไม้ โดยใช้กิ่งไม้เล็กๆ รำกไม้
และเถำวัลย์มำสำนกัน แล้วยึดติดด้วยใยแมงมุม
ถิ่นอาศัย : ป่ำดงดิบ ป่ำโปร่ง และสวน จำกที่รำบไปจนถึงระดับควำมสูง 1,700 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อย สำมำรถพบเห็น
นกแซงแซวหำงบ่วงใหญ่หำกินในสวนผลไม้และต้นไม้ริมคลอง

62
นกแซวสวรรค์
Asian Paradise-flycatcher | Terpsiphone paradisi
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก ประมำณ 21 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับนกกำงเขนบ้ำน ล�ำตัวเพรียว
ยำว ตัวผู้มีขนสองแบบ คือ สีน�้ำตำลแดงและสีขำว แบบสีน�้ำตำลแดง กระหม่อมสีน�้ำเงินด�ำ มีพุ่ม
หงอนขน หัวและอกสีเทำน�้ำเงิน ล�ำตัวด้ำนบน ปีกและหำงสีน�้ำตำลแดง ล�ำตัวด้ำนล่ำงสีขำวอม
น�้ำตำล มีขนหำงคู่กลำงสองเส้นยำวมำก แบบสีขำว หัวมีพุ่มหงอน ขนและคอหอยสีด�ำเป็นมัน
วงรอบตำสีฟ้ำสด ล�ำตัวทั้งหมดสีขำว มีขนหำงคู่กลำงสองเส้นยำวมำก ตัวเมียมีสีแบบเดียวกัน
คือเหมือนสีของตัวผู้แบบสีน�้ำตำลแดงขนหำงคู่กลำงไม่ยำว
เสียงร้อง : “วี้-วี้-วี้”
พฤติกรรม : มักพบอยู่โดดเดี่ยวหรือเป็นคู่ หำกินโดยกำรโฉบจับแมลงกลำงอำกำศตำมเรือน
ยอดต้นไม้ หรือในร่มเงำของต้นไม้
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปถ้วยหรือกรวยหงำยติดอยู่ตำมกิ่งไม้หรือง่ำมไม้
โดยใช้หญ้ำ เปลือกไม้ เส้นใย และมอสมำสำนกัน แล้วยึดติดกันด้วยใยแมงมุม แม่นกออกไข่สีขำว
หรือชมพู มีลำยจุดและลำยขีดสีน�้ำตำลแดง จ�ำนวน 3-4 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยง
ดูลูกจนแข็งแรงสำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ป่ำดงดิบ ป่ำโปร่ง ป่ำเบญจพรรณและป่ำชำยเลน จำกที่รำบไปจนถึงระดับควำมสูง
1,500 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและนกอพยพและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบยำกมำก
พบเห็นนกแซวสวรรค์หำกินอยูบ่ นต้นล�ำพูรมิ คลองท่ำคำเพียงครัง้ เดียวเมือ่ วันที่ 17 กันยำยน 2554

63
นกกางเขนบ้าน
Oriental Magpie Robin | Copsychus saularis
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก ประมำณ 23 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับนกปรอดสวน ปำกเรียวแหลม
ตรงสีด�ำ ขำสีด�ำ ตัวผู้ หัว อก และล�ำตัวด้ำนบนสีด�ำเหลือบ มีแถบปีกขนำดใหญ่ยำวสีขำว ล�ำตัว
ด้ำนล่ำงสีขำว หำงสีด�ำ ขอบหำงสีขำว ตัวเมีย หัว อก และล�ำตัวด้ำนบนสีเทำ
เสียงร้อง : “แซ่...แซ่...”
พฤติกรรม : เป็นนกที่ปรับตัวอยู่ร่วมกับคนได้เป็นอย่ำงดี ช่วงเช้ำและเย็นมักเกำะเด่นบนเสำทีวี
หลังคำบ้ำน พร้อมส่งเสียงร้องได้หลำยท่วงท�ำนอง หำกินโดยกำรกระโดดคุ้ยเขี่ยแมลงหรือตัว
หนอนบนพื้นดินและสนำมหญ้ำ มักกระดกหำงไปด้วยเสมอ และร้องเป็นท่วงท�ำนอง
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย ท�ำรังอยู่ตำมคอมะพร้ำว ในโพรงไม้ หรือชำยคำบ้ำน
รูปร่ำงของรังเปลี่ยนไปตำมสภำพสภำพแวดล้อม โดยใช้ใบไม้ ใบหญ้ำ ใบไผ่ และใบมะพร้ำวมำ
วำงซ้อนกันอย่ำงง่ำย ๆ แม่นกออกไข่สเี ขียวอมฟ้ำ มีลำยจุดและลำยขีดสีนำ�้ ตำล จ�ำนวน 3-4 ฟอง
พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ป่ำโปร่ง ป่ำชำยเลน ป่ำเต็งรัง ทุ่งโล่ง พื้นที่เกษตรกรรม สวนผลไม้ สวนสำธำรณะ
ชำยป่ำ อำคำรบ้ำนเรือน และแหล่งชุมชน จำกที่รำบจนถึงระดับควำมสูง 1,800 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อยมำก สำมำรถพบ
เห็นนกกำงเขนบ้ำนหำกินอยู่ทั่วไปริมคลอง สวนผลไม้ และบ้ำนเรือน

64
นกยอดหญ้าหัวด�า
Eastern Stonechat | Saxicola maurus
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็กมำก ประมำณ 14 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับนกกระจอกบ้ำน ปำก
เล็กเรียว แหลมตรงสีด�ำ ขำสีด�ำ ตัวผู้ หัว คอหอย หลัง ปีก และหำงสีด�ำ ตะโพกสีขำวน�้ำตำล
ด้ำนหลังคอมีแถบสีขำวตรงหัวปีก ล�ำตัวด้ำนล่ำงสีน�้ำตำลแดงส้ม มีแถบสีขำวที่ปีก ตัวเมีย ล�ำตัว
ด้ำนบนสีน�้ำตำลเทำ มีลำยขีดสีเข้ม ปีกสีเทำด�ำ หำงสีน�้ำตำลด�ำ ตะโพกสีน�้ำตำลแดง คอหอยและ
ล�ำตัวด้ำนล่ำงสีน�้ำตำลแดง นกวัยอ่อน ล�ำตัวด้ำนบนสีน�้ำตำลเข้มมีลำยจุดและลำยขีดสีเหลือง
น�้ำตำล
เสียงร้อง : “แชก-แชก”
พฤติกรรม : มักพบอยู่โดดเดี่ยว ชอบเกำะอยู่บนยอดหญ้ำ เสำหลัก หำกินโดยกำรจับแมลงบน
พื้นดิน หรือโฉบจับแมลงกลำงอำกำศแล้วกลับไปเกำะที่เดิม ชอบขยับปีก กระดกและคลี่หำง
ผสมพันธุ์ : มีรำยงำนกำรท�ำรังวำงไข่ทำงภำคเหนือของประเทศไทย รังเป็นรูปถ้วยอยู่ตำมโคนไม้
พุ่มหรือโพรงดินริมฝั่งแม่น�้ำ โดยใช้ใบหญ้ำ มอส และรำกฝอย รองรังด้วยขนนก แม่นกออกไข่
สีน�้ำเงินแกมเทำอ่อนมีลำยแต้มลำยจุดสีแดง จ�ำนวน 4-5 ฟอง แม่นกฟักไข่เพียงล�ำพัง พ่อแม่นก
จะช่วยกันและเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ทุ่งโล่ง ทุ่งหญ้ำ พื้นที่เกษตรกรรม จำกที่รำบถึงระดับควำมสูง 2,000 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและนกอพยพ และสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบยำก
มำก พบนกยอดหญ้ำหัวด�ำตัวเมียเกำะบนยอดหญ้ำและหำกินแมลงริมคลองบำงแคเพียงครัง้ เดียว
เมื่อวันที่ 18 ตุลำคม 2554

65
นกจับแมลงคอแดง
Red-throated Flycatcher | Ficedula albicilla
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็กมำก ประมำณ 13 ซม. ขนำดเล็กกว่ำนกกระจอกบ้ำน ปำกแหลม
ตรงสั้นสีด�ำ หัวและล�ำตัวด้ำนบนสีน�้ำตำลเทำ วงรอบเบ้ำตำสีขำว ส่วนล�ำตัวด้ำนล่ำงสีขำวนวล
อกและสีข้ำงมีสีเทำจำงๆ หำงสีด�ำมีขอบโคนหำงสีขำว ขำเล็กสีด�ำ ฤดูผสมพันธุ์ ตัวผู้ ขนบริเวณ
คอหอยเปลี่ยนเป็นสีส้มน�้ำตำล บริเวณอกและท้องมีเทำเข้มขึ้น
เสียงร้อง : “แครด-แครด-แครด”
พฤติกรรม : มักพบอยู่โดดเดี่ยว ชอบเกำะอยู่บนกิ่งไม้ในที่โล่ง บินโฉบจับแมลงกลำงอำกำศจำก
กิ่งไม้หนึ่งไปยังอีกกิ่งไม้หนึ่ง บำงครั้งโฉบลงพื้นดิน ขณะเกำะมักกระดกหำงขึ้นลงพร้อมส่งเสียง
ร้อง
ผสมพันธุ์ : ไม่พบกำรท�ำรังในประเทศไทย
ถิ่นอาศัย : ป่ำโปร่ง ชำยป่ำ ป่ำละเมำะ สวนผลไม้ และสวนสำธำรณะ
สถานภาพ : จัดเป็นนกอพยพและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบยำกมำก พบเห็นนกจับ-
แมลงคอแดงเกำะบนกิ่งไม้และบินโฉบจับแมลงริมคลองบำงแคเพียงครั้งเดียวเมื่อเดือนตุลำคม
2554

66
ตัวผู / ฤดูผสมพันธุ์
นกจับแมลงสีน�้าตาล
Asian Brown Flycatcher | Muscicapa dauurica
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็กมำก ประมำณ 13 ซม. ขนำดเล็กกว่ำนกกระจอกบ้ำน ปำกแหลม
ตรงสั้นสีด�ำ โคนปำกล่ำงสีเหลือง วงรอบตำสีขำว ล�ำตัวด้ำนบนสีน�้ำตำลเทำ ล�ำตัวด้ำนล่ำงสีขำว
เทำ ขำสีด�ำ ขอบขนปีกเป็นลำยสีขำว
เสียงร้อง : “ติ๊ด-ติ๊ด-ติ๊ด-อิ๊ด”
พฤติกรรม : มักพบอยู่โดดเดี่ยว ชอบเกำะอยู่บนกิ่งไม้แห้งในที่โล่ง บินโฉบจับแมลงกลำงอำกำศ
แล้วกลับมำเกำะที่เดิม
ผสมพันธุ์ : มีรำยงำนกำรท�ำรังวำงไข่ทำงภำคเหนือของและภำคตะวันตกของประเทศไทย รังเป็น
รูปถ้วยติดอยู่ตำมง่ำมไม้ในที่โล่ง โดยใช้กิ่งไม้เล็กๆ และมอสมำสำนกันแล้วยึดติด้วยใยแมงมุม
รองรังด้วยรำกฝอย ขนนก และวัสดุอ่อนนุ่ม แม่นกออกไข่สีเทำเขียว มีลำยขีดสีน�้ำตำลจ�ำนวน
4 ฟอง แม่นกฟักไข่เพียงตัวเดียว พ่อแม่นกจะช่วยกันเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออก
จำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ป่ำดงดิบ ป่ำโปร่ง ป่ำละเมำะ ชำยป่ำ ทุ่งโล่ง ป่ำชำยเลน สวนผลไม้ และสวนสำธำรณะ
จำกที่รำบไปถึงระดับควำมสูง 1,500 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและนกอพยพและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบไม่บ่อย
พบห็นนกจับแมลงสีน�้ำตำลเกำะบนกิ่งไม้แห้งและบินโฉบจับแมลงริมคลองในช่วงเดือนตุลำคม-
พฤศจิกำยน

67
นกเอี้ยงหงอน
White-vented Myna | Acridotheres grandis
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก ประมำณ 25 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับนกเอี้ยงสำริกำ ปำกเรียวแหลม
ตรง สีเหลืองส้ม ขนปกคลุมล�ำตัวสีด�ำ มีแถบขำวที่ปีก โคนปำกบนมีหงอนสีด�ำตั้งยำวโค้ง ขน
คลุมโคนหำงด้ำนล่ำงและปลำยหำงสีขำว ขำสีเหลืองส้ม
เสียงร้อง : “แซ็ก-แซ็ก”
พฤติกรรม : มักพบอยู่เป็นคู่หรือเป็นฝูง ชอบเกำะอยู่ตำมสำยไฟและสิ่งก่อสร้ำง หำกินโดยกำร
เดินหรือกระโดดไปตำมพื้นจิกแมลงหรือตัวหนอนกินเป็นอำหำร รวมทั้งน�้ำหวำนจำกดอกไม้ ใน
ช่วงเย็นอำจรวมกันเป็นฝูงขนำดใหญ่ ส่งเสียงร้องดังเซ็งแซ่ก่อนแยกย้ำยกันหำที่หลับนอน
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย ท�ำรังตำมโพรงไม้ ซึ่งมักเป็นโพรงเก่ำของนกและสัตว์อื่น
นกจะรองรังด้วยฟำง ใบไม้ ใบหญ้ำ แม่นกวำงไข่สีน�้ำเงิน จ�ำนวน 3-4 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกัน
ฟักไข่และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ทุ่งนำ ทุ่งโล่ง ป่ำชำยเลน พื้นที่เกษตรกรรม และชุมชนในเมือง
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อยมำก สำมำรถ
พบเห็นนกเอีย้ งหงอนหำกินอยูท่ วั่ ไปตำมชำยคลองทุกสำย และมักเกำะอยูต่ ำมเสำอำกำศโทรทัศน์
ตำมบ้ำนเรือนริมคลอง

68
นกเอี้ยงสาริกา
Common Myna | Acridotheres Tristis
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก ประมำณ 25 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับนกปรอดสวน ปำกเรียวแหลม
ตรงสีเหลือง บริเวณหัว คอหอย และอกสีด�ำ แผ่นหนังรอบตำสีเหลืองสด ขนปกคลุมล�ำตัวสี
น�้ำตำลเข้ม มีแถบขำวที่ปีก ขนคลุมโคนหำงด้ำนล่ำงและปลำยหำงสีขำว ขำสีเหลือง
เสียงร้อง : “แซ็ก-แซ็ก”
พฤติกรรม : มักพบอยู่เป็นคู่หรือเป็นฝูง ชอบเกำะอยู่ตำมสำยไฟและสิ่งเกำะสร้ำง หำกินโดยกำร
เดินหรือกระโดดไปตำมพื้นไล่จิกกินแมลงหรือตัวหนอน รวมทั้งน�้ำหวำนจำกดอกไม้ นกกินอำหำร
ได้หลำยอย่ำง ในช่วงเย็นอำจมำรวมกันเป็นฝูงขนำดใหญ่ ส่งเสียงร้องเซ็งแซ่ขณะแย่งที่นอนกัน
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย ท�ำรังอยู่ตำมโพรงไม้ ชำยคำบ้ำน สิ่งปลูกสร้ำง คอต้นตำล
ต้นมะพร้ำว ต้นปำล์ม รองรังด้วยฟำง ใบไม้ ใบหญ้ำ และกิ่งไม้ขนำดเล็ก แม่นกออกไข่สีน�้ำเงิน
จ�ำนวน 3-4 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ทุ่งนำ ทุ่งโล่ง ป่ำชำยเลน พื้นที่เกษตรกรรม และชุมชนในเมือง จำกที่รำบถึงระดับ
ควำมสูง 1,500 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อยมำก สำมำรถพบ
เห็นนกเอี้ยงสำริกำหำกินอยู่ทั่วไปริมคลองทุกสำย

69
นกนางแอ่นบ้าน
Barn Swallow | Hirundo rustica
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็กมำก ประมำณ 15 ซม. ขนำดเท่ำกับนกกระจอกบ้ำน ปำกเล็กสั้น
สีด�ำ ล�ำตัวด้ำนบนสีน�้ำตำลเหลือบด�ำ มีแถบคำดอกสีน�้ำเงินด�ำ หน้ำผำกและคอหอยสีน�้ำตำล
แดง ล�ำตัวด้ำนล่ำงสีขำว หำงสีด�ำเป็นแฉกเว้ำลึก ขนหำงคู่นอกยำวมำก มีหย่อมสีขำวที่กลำงหำง
ขำสั้นสีด�ำ นกวัยอ่อน ล�ำตัวด้ำนบนสีเทำหม่นมีลำยแต้มสีน�้ำตำล แถบคำดอกสีน�้ำตำล ขนหำง
คู่นอกไม่ยำว ปลำยหำงไม่ลึก
พฤติกรรม : พบเห็นได้ทั่วไปแทบจะทุกพื้นที่ที่เป็นที่โล่ง บำงครั้งอำจพบเห็นเป็นฝูงใหญ่ เกำะ
อยูต่ ำมสำยไฟฟ้ำหรือยอดไม้แห้ง หำกินโดยกำรบินฉวัดเฉวียนโฉบจับแมลงด้วยปำกกลำงอำกำศ
ตกเย็นจะกลับมำนอนรวมกันเป็นฝูงตำมพงหญ้ำ ต้นไม้ และสำยไฟ
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงทำงภำคเหนือของประเทศไทย ท�ำรังเป็นรูปถุงนอนติดอยู่ตำมผนังหรือชำย
อำคำรบ้ำนเรือน โดยใช้โคลน หญ้ำ ใบไม้ และขนนกมำยึดติดกัน มีทำงเข้ำออกด้ำนข้ำง แม่นก
จะออกไข่สีขำว มีลำยจุดหรือขีดสีน�้ำตำลแกมม่วงหรือสีออกแดงจ�ำนวน 4-6 ฟอง พ่อแม่นกจะ
ช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ทุ่งโล่ง บริเวณใกล้แหล่งน�้ำ พื้นที่เกษตรกรรม และในชุมชน จำกที่รำบไปจนถึงระดับ
ควำมสูง 2,000 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและนกอพยพและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อย
สำมำรถพบเห็นนกนำงแอ่นบ้ำนเกำะอยู่ตำมต้นไม้แห้ง สำยไฟและโฉบจับแมลงริมคลอง

70
นกปรอดหน้านวล
Yellow-vented Bulbul | Pycnonotus goiavier
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก ประมำณ 20 ซม. ขนำดเท่ำกับนกปรอดสวน ปำกแหลมเล็กเรียวโค้ง
ลงเล็กน้อยสีด�ำ มีหงอนสั้นๆ แต่ปกติมักแนบไปกับท้ำยทอย หน้ำสีขำวนวลมีคิ้วหนำสีขำว แถบ
กลำงกระหม่อมสีนำ�้ ตำลคล�ำ้ ล�ำตัวด้ำนบนสีนำ�้ ตำลหม่น ล�ำตัวด้ำนล่ำงสีขำวน�ำ้ ตำล ขนคลุมโคน
หำงด้ำนล่ำงสีเหลืองสดใส ขำสีด�ำ
เสียงร้อง : “ซวิด-ซวิด” แหลมเสียงใส
พฤติกรรม : มักพบอยู่เป็นคู่หรือเป็นฝูงเล็กๆ หำกินผลไม้ แมลง หรือตัวหนอนตำมพุ่มไม้ใน
ระดับต�่ำ บำงครั้งกระโดดไล่จับแมลงบนพื้นดิน
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปถ้วยวำงอยู่ตำมง่ำมไม้ พุ่มไม้เตี้ยๆ หรือวำงอยู่
ตำมต้นวัชพืชบำงชนิด โดยใช้ต้นหญ้ำ เศษใบไม้ และใบหญ้ำมำสำนกันอย่ำงง่ำยๆ แล้วยึดติดกัน
ด้วยใยแมงมุม แม่นกออกไข่สีเนื้อมีลำยจุดสีน�้ำตำลแดง จ�ำนวน 2 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่
และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : พื้นที่เกษตรกรรม ป่ำละเมำะ ป่ำรุ่น ชำยฝั่งทะเล สวนสำธำรณะ สวนผลไม้ ป่ำชำยเลน
ป่ำชำยหำด และบริเวณใกล้เคียงแหล่งชุมชน
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิน่ และสัตว์ปำ่ คุม้ ครองของประเทศไทย พบไม่บอ่ ย สำมำรถพบเห็น
นกปรอดหน้ำนวลหำกินอยูต่ ำมต้นไม้รมิ คลองและสวนผลไม้ บำงครัง้ เกำะอยูต่ ำมสำยไฟชำยคลอง

71
นกปรอดสวน
Streak-eared Bulbul | Pycnonotus blanfordi
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก ประมำณ 20 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับนกกำงเขนบ้ำน ปำกแหลม
เล็กเรียวโค้งลงเล็กน้อยสีด�ำ บริเวณโคนปำกสีชมพู ขนปกคลุมล�ำตัวสีน�้ำตำลอมเขียวหม่น ล�ำตัว
ด้ำนล่ำงสีจำงกว่ำ ขนคลุมหูมีลำยขีดสีขำว ขำสีเทำด�ำ ตัวผู้ตำสีเทำ ตัวเมียตำสีน�้ำตำล
เสียงร้อง : “วิด-วิด-วิด” ห้ำวๆ
พฤติกรรม : มักพบอยู่เป็นคู่หรือเป็นฝูงเล็กๆ หำกินผลไม้ แมลง หรือตัวหนอนตำมพุ่มไม้ใน
ระดับต�่ำ บำงครั้งกระโดดไล่จับแมลงบนพื้นดิน
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปถ้วยอยู่ตำมพุ่มไม้หรือไม้หลำกหลำยชนิด โดย
ใช้ใบไม้ ใบหญ้ำ เส้นใยมะพร้ำวมำสำนกันอย่ำงง่ำยๆ แล้วยึดติดกันด้วยใยแมงมุม แม่นกออก
ไข่สีเนื้ออ่อนมีลำยจุดสีน�้ำตำลแดง จ�ำนวน 2-3 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกนก
จนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : พื้นที่เกษตรกรรม ป่ำละเมำะ ป่ำรุ่น ชำยฝั่งทะเล สวนสำธำรณะ สวนผลไม้ ป่ำชำยเลน
ป่ำชำยหำด และบริเวณใกล้เคียงแหล่งชุมชน จำกที่รำบถึงระดับควำมสูง 900 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อยมำก สำมำรถพบ
เห็นนกปรอดสวนหำกินอยู่ตำมต้นไม้ริมคลองและสวนผลไม้

72
นกกระจิบหญ้าสีเรียบ
Plain Prinia | Prinia inomata
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็ก ประมำณ 15 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับนกกระจอกบ้ำน ปำกเล็กเรียว
แหลมตรงสีด�ำ โคนปำกสีน�้ำตำล คิ้วยำวสีขำว หัวและล�ำตัวด้ำนบนสีน�้ำตำลหม่น ล�ำตัวด้ำนล่ำง
สีน�้ำตำลขำว หำงยำวสีน�้ำตำล ขนหำงด้ำนในสีน�้ำตำลสลับสีขำว ขำสีชมพู ชนิดย่อย blanfordi ที่
พบทำงภำคเหนือคิ้วมีสีเนื้อและล�ำตัวด้ำนล่ำงสีเข้มกว่ำ
เสียงร้อง : “จี๊ด-จี๊ด-จี๊ด” รัวดัง
พฤติกรรม : มักพบอยู่โดดเดี่ยวหรือเป็นคู่อยู่ตำมพุ่มกอไม้ อ้อ กก หรือพุ่มไม้ หำกินโดยกำร
กระโดดไปตำมพุ่มไม้จิกกินแมลงหรือตัวหนอน ขณะที่เกำะในที่โล่งหรือยอดหญ้ำ มักส่งเสียงร้อง
ดังพร้อมขย่มล�ำตัวขึ้นลง และชอบบินขึ้นลงเหนือพงหญ้ำ
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปกระเปำะติดอยู่ตำมกอหญ้ำในระดับต�่ำหรืออยู่
บนยอดหญ้ำ โดยใช้ใบไม้ฉีกเป็นเส้นเล็กๆ ตำมแนวยำวมำสำนกัน แล้วยึดติดด้วยใยแมงมุม มี
ทำงเข้ำออกอยู่ด้ำนบน รองรังด้วยใบไม้แห้งและดอกหญ้ำ แม่นกออกไข่สีขำวมีลำยจุดขนำดใหญ่
สีน�้ำตำลและสีแดง จ�ำนวน 4 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถ
บินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ป่ำหญ้ำ ทุ่งนำ ป่ำละเมำะ บริเวณใกล้แหล่งน�้ำ ป่ำชำยเลน พื้นที่เกษตรกรรม และพื้นที่
ชุ่มน�้ำต่ำงๆ จำกที่รำบไปจนถึงระดับควำมสูง 800 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบไม่บ่อย สำมำรถพบ
เห็นนกกระจิบหญ้ำสีเรียบหำกินอยู่ตำมพุ่มไม้และยอดหญ้ำริมคลอง

73
นกกระจิบธรรมดา
Common Tailorbird | Orthotomus sutorius
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็กมำก ประมำณ 12 ซม. ขนำดเล็กกว่ำนกกระจอกบ้ำน ปำกเล็กเรียว
แหลมตรงสีชมพูน�้ำตำล กระหม่อมสีน�้ำตำลแดง คิ้วยำวสีขำว ล�ำตัวด้ำนบนสีเขียวน�้ำตำล ล�ำตัว
ด้ำนล่ำงสีขำวนวล ขณะส่งเสียงร้องสำมำรถเห็นโคนขนบริเวณคอหอยและอกสีด�ำชัดเจน ขน
คลุมโคนหำงสีขำว ขำสีเนื้อ ฤดูผสมพันธุ์ ตัวผู้จะมีขนหำงคู่กลำงยำวออกไปมำก
เสียงร้อง : “จิ๊บ-จิ๊บ-จิ๊บ”
พฤติกรรม : มักพบอยู่เป็นคู่ ส่งเสียงร้องอยู่ตำมพุ่มไม้ ชอบกระโดดจิกกินหนอนและแมลงตำม
พุ่มไม้ ไม่ค่อยอยู่นิ่งและส่งเสียงร้องดังไปด้วย พร้อมทั้งกระดกหำงอยู่เสมอ
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปกระเปำะอยู่ใต้ใบไม้ขนำดใหญ่ โดยม้วนขอบใบ
ลงมำชิดกันแล้วสำนด้วยใบหญ้ำเส้นเล็กๆ ยึดขอบใบไม้ด้วยใยแมงมุม มีทำงเข้ำออกอยู่ด้ำนบน
รองรังด้วยดอกหญ้ำหรือใบไม้สด แม่นกอกกไข่สคี รีม สีขำว สีเขียวแก้มน�ำ้ เงินถึงน�ำ้ เงินอ่อน มีลำย
จุดสีน�้ำตำล สีน�้ำตำลแดงหรือสีด�ำ จ�ำนวน 3-4 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกนก
จนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ป่ำเต็งรัง ป่ำเบญจพรรณ ป่ำโปร่ง ป่ำละเมำะ ป่ำชำยเลน ชำยป่ำ สวนผลไม้
สวนสำธำรณะ พื้นที่เกษตรกรรม และชุมชน จำกที่รำบไปจนถึงระดับควำมสูง 1,500 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อย สำมำรถพบเห็น
นกกระจิบธรรมดำหำกินอยู่ทั่วไปตำมพุ่มไม้ริมคลองและสวนผลไม้

74
นกสีชมพูสวน
Scarlet-backed Flowerpecker | Diaeum cruentatum
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็กมำก ประมำณ 9 ซม. ขนำดเล็กกว่ำนกกระจอกบ้ำน ปำกเล็กเรียว
แหลมโค้งลงเล็กน้อยสีด�ำ ขำสีด�ำ ตัวผู้ กระหม่อมท้ำยทอย หลัง ตะโพก และขนคลุมโคนหำง
ด้ำนบนเป็นแถบกว้ำงสีแดงต่อเนื่องกัน หน้ำ ข้ำงคอ ปีก และหำงสีด�ำมัน ล�ำตัวด้ำนล่ำงสีขำวนวล
ตัวเมีย ล�ำตัวด้ำนบนสีน�้ำตำลเทำ ตะโพกและขนคลุมโคนหำงด้ำนบนสีแดง ล�ำตัวด้ำนล่ำงสีเทำ
ขำว นกวัยอ่อน ล�ำตัวทั้งหมดสีสีน�้ำตำลเทำ โคนปำกสีส้ม
เสียงร้อง : “ดิ๊ก-ดิ๊ก-ดิ๊ก”
พฤติกรรม : มักพบอยู่เป็นคู่ หำกินโดยกำรกระโดดไปตำมกิ่งไม้สลับกับบินไปยังต้นไม้อื่นๆ เพื่อ
หำน�้ำหวำนจำกดอกไม้และผลไม้ รวมทั้งจิกกินแมลงหรือตัวหนอนตำมกิ่งไม้
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปกระเปำะห้อยอยูต่ ำมกิง่ ไม้ที่มีใบแน่นทึบ พบเห็น
ได้ยำก โดยใช้ดอกหญ้ำ ใบหญ้ำ และเส้นใยมะพร้ำวมำสำนกันแล้วยึดติดด้วยใยแมงมุม มีทำงเข้ำ
ออกอยู่ด้ำนข้ำง แม่นกออกไข่สีขำวนวล จ�ำนวน 2-3 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดู
ลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ป่ำโปร่ง ชำยป่ำดงดิบ ป่ำละเมำะ พื้นที่เกษตรกรรมและชุมชนเมือง จำกที่รำบถึงระดับ
ควำมสูง 1,200 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อย สำมำรถพบเห็น
นกสีชมพูสวนหำกินอยู่ตำมต้นไม้ริมคลองและสวนผลไม้ ชำวบ้ำนเรียกนกชนิดนี้ว่ำ “นกขุนช้ำง
ขุนแผน” จำกแถบสีแดงที่พำดจำกกระหม่อมจนถึงหำง

75
นกกินปลีคอสีน�้าตาล
Brown-throated Sunbird | Anthreptes malacensis
ลักษณะทั่วไป : ขนำดเล็กมำก ประมำณ 14 ซม. ขนำดใกล้เคียงกับนกกระจอกบ้ำน ปำกเรียวเล็ก
แหลมโค้งลงสีด�ำ ตัวผู้ หัวและท้ำยทอยสีเขียวเหลือบ แก้มและคอหอยสีน�้ำตำล หัวปีก ตะโพก
และขนคลุมโคนหำงด้ำนบนสีม่วงเหลือบ ล�ำตัวด้ำนบนสีน�้ำตำลเขียว ล�ำตัวด้ำนล่ำงสีเหลือง
ตัวเมีย ล�ำตัวด้ำนบนสีเขียวไพล ล�ำตัวด้ำนล่ำงสีเหลือง มีวงตำสีเหลือง
เสียงร้อง : “ชิบ-ชาพ-ชิพ-ชิพ-ชาพ”
พฤติกรรม : มักพบตำมล�ำพังหรือเป็นคู่ กระโดดหำกินตำมต้นไม้ที่มีดอกบำนและชอบขึ้นไป
กินน�้ำหวำนตำมจั่นมะพร้ำวบนยอดสูง รวมทั้งแมลงและหนอนที่เกำะอยู่ตำมดอกไม้
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปกระเปำะ แขวนอยู่ตำมกิ่งไม้ มีหัวและท้ำยเรียว
ตรงกลำงป่องออก โดยใช้หญ้ำ ใบหญ้ำ และเส้นใยมะพร้ำวมำสำนกัน และยึดติดกันด้วยใยแมงมุม
รองรังด้วยหญ้ำและวัสดุที่อ่อนนุ่ม มีทำงเข้ำออกด้ำนข้ำง แม่นกออกไข่สีขำวแกมชมพูมีลำยขีด
สีเทำและลำยจุดสีด�ำ จ�ำนวน 2 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกจนแข็งแรงสำมำรถ
บินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ป่ำโปร่ง ป่ำละเมำะ สวนมะพร้ำว ป่ำชำยเลน และชุมชน
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อย พบท�ำรังวำงไข่
ริมคลองแควอ้อม และพบหำกินน�้ำหวำนดอกไม้ริมคลองบำงแค

76
นกกินปลีอกเหลือง
Olive-backed Sunbird | Nectarinia jugularis
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็กมำก ประมำณ 11 ซม. ขนำดเท่ำเล็กกว่ำนกกระจอกบ้ำน ปำกเล็ก
เรียวแหลมโค้งลงสีด�ำ ล�ำตัวด้ำนบนสีเขียวไพล ล�ำตัวด้ำนล่ำงสีเหลืองสด ตัวผู้ คอหอยและอก
สีนำ�้ เงินเหลือบด�ำ ตัวเมีย คอหอยและอกสีเหลือง ปลำยหำงด้ำนล่ำงมีแถบสีขำว ช่วงผลัดขน ตัวผู้
มีสีคล้ำยตัวเมียแต่มีแถบสีด�ำเป็นแนวยำวกลำงคอและอก
เสียงร้อง : “ซิบ-ซิบ”
พฤติกรรม : มักพบอยู่โดดเดี่ยวหรือเป็นคู่ หำกินโดยกำรกระโดดไปตำมต้นไม้หรือไต่ไปตำม
กิ่งไม้ที่มีดอกเพื่อหำน�้ำหวำน รวมทั้งแมลงหรือตัวหนอนที่เกำะอยู่ตำมดอกไม้
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงในประเทศไทย รังเป็นรูปกระเปำะแขวนห้อยอยู่ตำมกิ่งไม้ มีหัวและท้ำย
เรียว ตรงกลำงป่องออก โดยใช้ดอกหญ้ำ ใบหญ้ำ เส้นใยมะพร้ำวมำสำนกัน แล้วยึดติดกันด้วย
ใยแมงมุม รองรังด้วยดอกหญ้ำและวัสดุที่อ่อนนุ่ม มีทำงเข้ำออกด้ำนข้ำง แม่นกออกไข่สีขำวมี
ลำยจุดสีน�้ำตำล จ�ำนวน 2 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่และเลี้ยงดูลูกจนแข็งแรง สำมำรถบิน
ออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ป่ำโปร่ง ชำยป่ำ ป่ำละเมำะ ป่ำชำยเลน พื้นที่เกษตรกรรมและ ชุมชนเมือง
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อยมำก สำมำรถพบ
เห็นนกกินปลีอกเหลืองหำกินน�้ำหวำนดอกไม้จำกต้นไม้ชำยคลองหรือสวนผลไม้

77
นกกระจอกตาล
Plain-backed Sparrow | Passser flaveolus
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็กมำก ประมำณ 15 ซม. ขนำดเท่ำกับนกกระจอกบ้ำน ปำกใหญ่แหลม
แบบกรวยสีเทำด�ำ ขำสีชมพู ตัวผู้ กระหม่อม ท้ำยทอย และตะโพกสีเขียวเทำ ปีกสีน�้ำตำลแดง
คอหอยสีด�ำ แก้มสีเหลืองเขียว ล�ำตัวด้ำนล่ำงสีเหลืองอ่อน ตัวเมีย ล�ำตัวด้ำนบนสีน�้ำตำลอ่อน
ล�ำตัวด้ำนล่ำงสีเหลือง
เสียงร้อง : “ชี-รัฟ-ชี-รัฟ”
พฤติกรรม : มักพบอยู่เป็นฝูงรวมกับนกกระจอกบ้ำนและนกกระจอกใหญ่ หำกินโดยกำรกระโดด
ไปตำมพื้น จิกกินเมล็ดหญ้ำ ธัญพืช แมลง หรือตัวหนอนที่อยู่บนพื้นดิน
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปทรงกลมอยู่ตำมกิ่งไม้ ชำยคำบ้ำน โดยใช้ใบ
หญ้ำ ดอกหญ้ำ ขนนก และใยมะพร้ำวมำสำนกันอย่ำงหยำบๆ มีทำงเข้ำออกด้ำนข้ำง แม่นก
ออกไข่สีน�้ำตำลอ่อน มีลำยจุดและลำยขีดสีน�้ำตำลเข้ม จ�ำนวน 2-4 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกัน
ฟักไข่และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ทุ่งโล่ง ชุมชน พื้นที่เปิดโล่ง ชำยป่ำ และพื้นที่เกษตรกรรม จำกที่รำบไปจนถึงระดับ
ควำมสูง 800 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและไม่เป็นสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบยำก พบเห็นนก
กระจอกตำล 6 ตัว เกำะหำกินบนต้นล�ำพูรมิ คลองแควอ้อมเพียงครัง้ เดียวเมือ่ วันที่ 18 ตุลำคม 2554

78
นกกระจอกบ้าน
Eurasian Tree Sparrow | Passer montanus
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็กมำก ประมำณ 15 ซม. ขนำดเล็กกว่ำนกกำงเขนบ้ำน ปำกใหญ่
แหลมแบบกรวยสีเทำด�ำ กระหม่อมสีน�้ำตำลเข้ม หน้ำและข้ำงคอสีขำว หูมีแถบสีด�ำขนำดใหญ่
คอหอยสีด�ำ ล�ำตัวด้ำนบนสีน�้ำตำลมีลำยขีดสีด�ำและขำว ล�ำตัวด้ำนล่ำงสีเนื้อเทำ ขำสีชมพู
เสียงร้อง : “ชิบ-ชิบ-ชิบ”
พฤติกรรม : เป็นนกที่ปรับตัวเข้ำกับคนได้ดี มักพบอยู่เป็นฝูง บำงครั้งอำจมีนกกระจอกตำลหรือ
นกกระจอกใหญ่ปะปนอยู่ในฝูงด้วย หำกินโดยกำรกระโดดไปตำมพื้น จิกกินเมล็ดหญ้ำ แมลง
ตัวหนอน หรือเศษอำหำรตำมพื้นดิน
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปทรงกลมหรือรูปแบบอืน่ ๆ ตำมแบบสภำพแวดล้อม
ส่วนใหญ่จะอยู่ใต้ชำยคำบ้ำน ขื่อ แป ซอกหลังคำบ้ำน หรือโคมไฟที่แขวนตำมเพดำน โดยใช้
ใบหญ้ำ ดอกหญ้ำ ขนนก และใยมะพร้ำวมำสำนกันอย่ำงหยำบๆ มีทำงเข้ำออกอยู่ด้ำนข้ำง
แม่นกออกไข่สีขำวถึงน�้ำตำลอ่อนเป็นมันไม่มีลำย จ�ำนวน 4-5 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่
และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ชุมชนและบ้ำนเรือน จำกที่รำบไปจนถึงระดับควำมสูง 1,800 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อย สำมำรถพบเห็น
นกกระจอกบ้ำนหำกินเป็นฝูงอยู่ทั่วไปริมคลองและสวนผลไม้

79
นกกระติ๊ดขี้หมู
Scaly-breasted Munia | Lonchura punctulata
ลักษณะทั่วไป : นกขนำดเล็กมำก ประมำณ 11 ซม. ขนำดเล็กกว่ำนกกระจอกบ้ำน ปำกหนำแบบ
กรวยสีเทำเข้ม ล�ำตัวเพียวยำว หัวและล�ำตัวด้ำนบนสีน�้ำตำลเข้ม มีลำยขีดสีขำวกระจำย คอหอย
สีน�้ำตำลคล�้ำ ล�ำตัวด้ำนล่ำงสีขำว มีลำยเกร็ดสีน�้ำตำล หำงสั้นสีน�้ำตำล นกวัยอ่อน ล�ำตัวด้ำนบน
สีน�้ำตำล ล�ำตัวด้ำนล่ำงสีน�้ำตำลจำง ปำกสีด�ำ
เสียงร้อง : “คิด-อี้อี้อี้อี้”
พฤติกรรม : มักพบอยู่รวมกันเป็นฝูงขนำดเล็ก ชอบบินตำมกันไปเป็นฝูงพร้อมกับส่งเสียงร้อง
หำกินเมล็ดหญ้ำตำมพงหญ้ำและข้ำวเปลือกในนำข้ำวที่ก�ำลังสุก บำงครั้งกินแมลงหรือตัวหนอน
ที่เกำะอยู่ตำมต้นหญ้ำด้วย
ผสมพันธุ์ : ท�ำรังวำงไข่ในประเทศไทย รังเป็นรูปทรงกลมวำงอยู่ตำมง่ำมไม้ พุ่มไม้ หรือไม้เลื้อย
ในที่รกทึบ โดยใช้ใบหญ้ำ ใบสน ใบไม้ ดอกหญ้ำ และขนนก รองรังด้วยดอกหญ้ำ ขนนก หรือวัสดุ
อ่อนนุ่ม มีทำงเข้ำออกอยู่ด้ำนข้ำง แม่นกออกไข่สีขำว จ�ำนวน 3-6 ฟอง พ่อแม่นกจะช่วยกันฟักไข่
และเลี้ยงดูลูกนกจนแข็งแรง สำมำรถบินออกจำกรังได้เอง
ถิ่นอาศัย : ทุ่งหญ้ำ ป่ำละเมำะ ทุ่งนำ ทุ่งโล่ง พื้นที่เกษตรกรรม และชุมชน จำกที่รำบไปจนถึง
ระดับควำมสูง 1,500 เมตร
สถานภาพ : จัดเป็นนกประจ�ำถิ่นและสัตว์ป่ำคุ้มครองของประเทศไทย พบบ่อย สำมำรถพบเห็น
นกกระติ๊ดขี้หมูหำกินดอกหญ้ำริมคลองทั่วไป

80
เอกสารอ้างอิง
ฟิลลิป ดี ราวด์ และ วิเชียร คงทอง. (2551). นกแหลมผักเบี้ย. นนทบุรี : อมรินทร์พริ้นติ้ง
แอนด์พับลิชชิ่ง.
ภัทรวรรณ เลิศสุชาตวนิช. (2548). การประเมินผลกระทบจากการท่องเที่ยวแบบโฮมสเตย์ต่อ
ประชากรหิ่งห้อย ณ บ้านโคกเกตุ จังหวัดสมุทรสงคราม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต
สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา). กรุงเทพมหานคร :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รุ่งโรจน์ จุกมงคล. (2553). Thailand Bird Guide. กรุงเทพฯ : ส�ำนักพิมพ์สารคดี.
วีระ เทพกรณ์. (2549). ป่าชายคลอง : ป่าพี่ป่าน้องของป่าชายเลน. กรุงเทพมหานคร :
อักษรเจริญทัศน์.
พิพัฒน์ สุดเสน่ห์. (2543). ปัจจัยที่ส่งผลท�ำให้ความหลากหลายและจ�ำนวนนกในกว๊านพะเยาลดลง.
ปริญญานิพนธ์ ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต, เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
อนุสาร อ.ส.ท. ฉบับเดือนมกราคม 2554.
โอภาส ขอบเขตต์. (2541). นกในเมืองไทย เล่ม 1. กรุงเทพ: ส�ำนักพิมพ์สารคดี
โอภาส ขอบเขตต์. (2542). นกในเมืองไทย เล่ม 2. กรุงเทพ: ส�ำนักพิมพ์สารคดี
โอภาส ขอบเขตต์. (2543). นกในเมืองไทย เล่ม 3. กรุงเทพ: ส�ำนักพิมพ์สารคดี
โอภาส ขอบเขตต์. (2544). นกในเมืองไทย เล่ม 4. กรุงเทพ: ส�ำนักพิมพ์สารคดี
โอภาส ขอบเขตต์. (2545). นกในเมืองไทย เล่ม 5. กรุงเทพ: ส�ำนักพิมพ์สารคดี
Lekagul, B. และ P.D.Round (1991). A guide to the bird of Thailand. Bangkok :
Damsutha Press
Lekagul,B.& P.D. Round (1991). A guide to the Birds of Thailand. Bangkok :
Saha karn Bhaet Co.,Ltd.

81
ดัชนีชื่อไทย
INDEX OF THAI NAMES

ก ข
กระจอกตำล 78 ขมิ้นท้ำยทอยด�ำ 58
กระจอกบ้ำน 79 เขำชวำ 41
กระจิบธรรมดำ 74 เขำไฟ 39
กระจิบหญ้ำสีเรียบ 73 เขำใหญ่ 40
กระติ๊ดขี้หมู 80 แขกเต้ำ 36
กระเต็นน้อยธรรมดำ 26
กระเต็นหัวด�ำ 28 ค
กระเต็นอกขำว 27 เค้ำกู่ 37
กระแตแต้แว้ด 44
กระทุง 54 จ
กะปูดเล็ก 35 จับแมลงคอแดง 66
กะปูดใหญ่ 34 จับแมลงสีน�้ำตำล 67
กวัก 43 จำบคำหัวเขียว 30
กำงเขนบ้ำน 64
กำน�้ำเล็ก 53 ซ
กำแวน 55 แซงแซวสีเทำ 61
กำเหว่ำ 32 แซงแซวหำงปลำ 60
กินปลีคอสีน�้ำตำล 76 แซงแซวหำงบ่วงใหญ่ 62
กินปลีอกเหลือง 77 แซวสวรรค์ 63
กินเปี้ยว 29

82
ต ยำงเขียว 52
ตะขำบทุ่ง 25 ยำงควำย 51
ตีทอง 24 ยำงเปีย 49

น ส
นำงนวลแกลบเครำขำว 45 สีชมพูสวน 75
นำงแอ่นบ้ำน 70

บ หัวขวำนสำมนิ้วหลังทอง 22
บั้งรอกใหญ่ 33 เหยี่ยวด�ำ 48
เหยี่ยวแดง 46
ป เหยี่ยวนกเขำชิครำ 47
ปรอดสวน 72
ปรอดหน้ำนวล 71 อ
เปล้ำคอสีม่วง 42 อีกำ 56
อีแพรดแถบอกด�ำ 59
พ อีวำบตั๊กแตน 31
พิรำบป่ำ 38 เอี้ยงสำริกำ 69
โพระดกธรรมดำ 23 เอี้ยงหงอน 68
แอ่นพง 57

ยอดหญ้ำหัวด�ำ 65 ฮ
ยำงกรอกพันธุ์ชวำ 50 ฮูก 37

83
ดัชนีชื่ออังกฤษ
INDEX OF COMMON NAMES

A Common Kingfisher 26
Ashy Drongo 61 Common Myna 69
Ashy Woodswallow 57 Common Tailorbird 74
Asian Brown Flycatcher 67 Coppersmith Barbet 24
Asian Koel 32
Asian Paradise-flycatcher 63 E
Eastern Stonechat 65
B Eurasian Tree Sparrow 79
Barn Swallow 70
Black-capped Kingfisher 28 G
Black Drongo 60 Greater Coucal 34
Black Kite 48 Greater Racket-tailed Drongo 62
Black-naped Oriole 58 Green-billed Malkoha 33
Brahming Kite 46
Brown-throated Sunbird 76 I
Blue-tailed Bee-eater 30 Indian Roller 25

C J
Cattle Egret 51 Javan Pond Heron 50
Collared Kingfisher 29
Collared Scops Owl 37 L
Common Flameback 22 Large-billed Crow 56

84
Lesser Coucal 35 Red Collared Dove 39
Lineated Barbet 23 Red-throated Flycatcher 66
Little Cormorant 53
Little Egret 49 S
Little Heron 52 Scaly-breasted Munia 80
Scarlet-backed Flowerpecker 75
O Shikra 47
Olive-backed Sunbird 77 Spot-billed Pelican 54
Oriental Magpie Robin 64 Spotted Dove 40
Streak-eared Bulbul 72
P
Pied Fantail 59 W
Pink-necked Pigeon 42 White-breasted Waterhen 43
Plain-backed Sparrow 78 White-throated Kingfisher 27
Plain Prinia 73 White-vented Myna 68
Plaintive Cuckoo 31 Whiskered Tern 45

R Y
Racket-tailed Treepie 55 Yellow-vented Bulbul 71
Red-wattled Lapwing 44
Rock Pigeon 38 Z
Red-breasted Parakeet 36 Zebra Dove 41

85
ดัชนีชื่อวิทยาศาสตร์
INDEX OF SCIENTIFIC NAMES

A Crypsirina temia 55
Accipiter Badius 47
Acridotheres grandis 68 D
Acridotheres Tristis 69 Diaeum cruentatum 75
Alcedo atthis 26 Dicrurus leucophaeus 61
Amaurornis phoenicurus 43 Dicrurus macrocercus 60
Anthreptes malacensis 76 Dicrurus paradiseus 62
Ardeola speciosa 50 Dinopium javanense 22
Artamus fuscus 57
E
B Egretta garzetta 49
Bulbulcus ibis 51 Eudynamys scolopaceus 32
Butorides striata 52
F
C Ficedula albicilla 66
Cacomantis merulinus 31
Centropus bengalensis 35 G
Centropus sinnensis 34 Geopelia striata 41
Chlidonias hybrida 45
Columba livia 38 H
Copsychus saularis 64 Halcyon pileata 28
Coracias benghalensis 25 Halcyon smyrnensis 27
Corvus macrorhynchos 56 Haliastur Indus 46

86
Hirundo rustica 70 Pelecanus philippensis 54
Phalacrodorax niger 53
L Prinia inomata 73
Lonchura punctulata 80 Psittacula alexandri 36
Pycnonotus blanfordi 72
M Pycnonotus goiavier 71
Megalaima lineata 23
Megalaima haemacephala 24 R
Merops philippinus 30 Rhipidura javanica 59
Milvus migrans 48 Rhopodytes tristis 33
Muscicapa dauurica 67
S
N Saxicola maurus 65
Nectarinia jugularis 77 Streptopelia chinensis 40
Streptopelia tranquebarica 39
O
Oriolus Chinensis 58 T
Orthotomus sutorius 74 Terpsiphone paradisi 63
Otus lettia 37 Todiramphus chloris 29
Treron Vernans 42
P
Passser flaveolus 78 V
Passer montanus 79 Vanellus indicus 44

87
คู่มือศึกษาชนิดนกชายคลองอ�าเภออัมพวา : Bird of Amphawa
ผู้เขียน : นิธินำถ เจริญโภครำช
ผู้ถ่ายภาพ : ค�ำรณ เพ็ชรประยูร หน้ำ 18, 35, 42, 47 ขวำ, 63 ซ้ำย, 65 ซ้ำย
ศุภชัย สังขทัต ณ อยุธยำ หน้ำ 37, 47 ซ้ำย, 48
ก�ำศักดิ์ อติพิบูลย์ศิลป หน้ำ 7 ซ้ำย, 71, 78 ขวำ
ศำนิต สุขพร หน้ำ 14, 15, 17, 20, 22 ซ้ำย, 28, 30, 36, 49, 62
เพชรพนม จิตมั่น หน้ำ 2, 3, 7 ขวำ, 9, 10, 12, 13, 22 ขวำ, 23, 24, 25,
26, 27, 29, 31, 32, 33, 34, 38, 39, 40, 41, 43, 44,
45, 46, 50, 51, 52, 53, 54, 55, 56, 57, 58, 59, 60,
61, 63 ขวำ, 64, 65 ขวำ, 66, 67, 68, 69, 70, 72, 73,
74, 75, 76, 77, 78 ซ้ำย, 79, 80,
ออกแบบรูปเล่ม : ปริญญ ปรังพันธ์
ISBN 978-616-202-579-2
พิมพ์ : แม็ทช์พอยท์
1563/61 ถ.ประชำรำษฎร์ สำย 1 แขวงบำงซื่อ เขตบำงซื่อ กรุงเทพฯ 10800
โทร 0-2913-0408-9 โทรสำร 0-2913-0408-9
พิมพ์ครั้งที่ 1 กุมภำพันธ์ 2555
ส�านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
328 ถ.ศรีอยุธยำ แขวงทุ่งพญำไท เขตรำชเทวี กรุงเทพฯ 10400
เบอร์โทรศัพท์อัตโนมัติ 0-2610-5200 โทรสำร. 0-2354-5524-6
สงวนลิขสิทธิ์โดย ส�านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ไม่สงวนลิขสิทธิ์ในกำรท�ำซ�้ำเพื่อกำรศึกษำ โดยไม่ท�ำในเชิงกำรค้ำหรือหวังผลก�ำไร
กำรจัดพิมพ์ซ�้ำเพื่อเผยแพร่ไม่ว่ำกรณีใดๆ ให้ขออนุญำตจำก ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรกำร
อุดมศึกษำ เป็นลำยลักษณ์อักษรก่อน และต้องเป็นกำรพิมพ์ครบถ้วนทั้งเล่มเหมือนต้นฉบับ
รวมทั้งประกำศนี้ โดยไม่มีกำรตัดหรือเติมหรือเปลี่ยนแปลงใดๆ ทั้งสิ้น
ปกหน้า : นกกินเปี้ยว (ภำพ : เพชรพนม จิตมั่น)
ปกหลัง : นกกินปลีอกเหลือง (ภำพ : เพชรพนม จิตมั่น)
88

You might also like