You are on page 1of 75

¡

Òè
Ñ́
¡ÒÃ
·
ÃÑ
¾ÂÒ
¡Ã·Ò
§· Ð
àÅ
áÅ
Ъ
Ò½˜

§ấÂ
ªØ
Áª
¹
¡
óÕ
È
Ö
¡ÉÒ
µÓº
ÅáË
ÅÁâ
¾¸Ô
ì
ÍÓ
à
ÀÍÂ
ÐËÃ
Ô
è
§¨Ñ
§
ËÇÑ́»µ̃µÒ
¹Õ

Ç
Ò
‹·Ã
è
Õ
Í
ŒÂµ
ÃÍ
ÕÊ
Ñ
ÃÂ
Տ
á́à
ºÒ
Ð
Ê
¶Òº
¹
ÑÇÔ̈
Â
ÑáÅ
п„
¹
œ
¿Ù
·Ã
¾Â
Ñ Ò¡
êÒ
½˜
§

ÊÁÒ
¤ÁÃ
¡
ÑÉ·
Ð
à
Åä
·Â
การจัดการทรัพยากรทางทะเล
และชายฝั่งโดยชุมชน
กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์
อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

ผู้เขียน ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ


บรรณาธิการ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ปรีชา ร่มบ้านโหล๊ะ
จัดพิมพ์โดย สถาบันวิจัยและฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่ง สมาคมรักษ์ทะเลไทย
57/219-220 หมู่บ้านเคหสถานครูไทย
หมู่ 3 ตำ�บลพะวง อำ�เภอเมือง จังหวัดสงขลา 90100
โทรศัพท์ 08 9466 6063 เว็บไซต์ www.raktalaethai.org
สนับสนุนโดย มูลนิธิสถาบันดนตรีคนตาบอด
ภาพปก ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ
รูปเล่ม ฝนพรรษ อินทรนิวาส
พิมพ์ที่ โฟ-บาร์ด 280/2 หมู่ที่ 6 ถนนปุณณกัณฑ์
ตำ�บลทุ่งใหญ่ อำ�เภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา 90110
โทรศัพท์ 08 9659 5338
E-mail: fonpat1971@gmail.com
พิมพ์ครั้งแรก กรกฎาคม 2564
จำ�นวน 500 เล่ม
บทคัดย่อ ทิศทางพัดนาน 1-2 เดือน ทิศทางลมมีความสัมพันธ์กับชนิดของ
สัตว์น้ำ�ที่ชาวประมงพื้นบ้านจับในบริเวณอ่าวปัตตานี เป็นภูมิปัญญา
สำ�คัญของคนในชุมชนที่ใช้ในการทำ�ประมงพื้นบ้านสืบต่อกันมา
หัวข้อวิจัย การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชนประมง องค์ความรู้เรื่องกระแสน้ำ�ขึ้นน้ำ�ลง
พื้นบ้านตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี กระแสน้�ำ ในอ่าวปัตตานีไหลไม่เชีย่ ว มีคลองน้�ำ จืดไหลลงสูอ่ า่ ว
ชื่อผู้วิจัย อัสรีย์ แดเบาะ สถาบันวิจัยและฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่ง เกิดดินเลนและสันดอน ป่าชายเลนทีม่ คี วามอุดมสมบูรณ์เป็นทีอ่ ยูอ่ าศัย
ที่ปรึกษา ว่าที่ร้อยตรี ดร.ปรีชา ร่มบ้านโหล๊ะ นางสาวรอฮานี ดาโอ๊ะ การขยายพันธุ์ การเจริญเติบโตของสัตว์น้ำ�วัยอ่อน จากอิทธิพลของ
____________________________________________________ ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ ทำ�ให้น้ำ�ขึ้นน้ำ�ลงในแต่ละวันจะเกิดขึ้นวันละ
2 ครั้ง ที่ส่งผลต่อวิธีการและเครื่องมืออุปกรณ์ที่ใช้ในการจับสัตว์น้ำ�
องค์ความรู้เรื่องฤดูกาลของสัตว์น้ำ�
การศึ ก ษาการจั ด การทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝั่ ง โดย จากสภาพพื้นที่ในอ่าวที่อุดมสมบูรณ์ สัตว์น้ำ�หลากหลายชนิด
ชุมชนประมงพื้นบ้านตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี อพยพเข้ามาอาศัย หากิน ขยายพันธุ์ เจริญเติบโตเป็นระยะเวลา 1-2
มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ในการทำ�ประมงชายฝั่ง เดือน หมุนเวียนตลอดทั้งปี เกิดเป็นฤดูกาลของสัตว์น้ำ� ทำ�ให้ชาว
ในตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี 2) เพื่อศึกษาวิถีชีวิต ประมงพื้นบ้านในอ่าวปัตตานีสามารถประกอบอาชีพจับสัตว์น้ำ�ด้วย
ของชาวประมงพื้นบ้านในการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เครื่องมือและวิธีการต่างๆ ตามฤดูกาลของสัตว์น้ำ�ได้ตลอดทั้งปี
ของตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริง่ จังหวัดปัตตานี 3) เพือ่ ศึกษารูปแบบ วัตถุประสงค์ขอ้ ที่ 2 พบว่า คนชุมชนนับถือศาสนาอิสลามทัง้ หมด
การจั ด การทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝั่ ง ของคนในชุ ม ชนตำ � บล ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักคำ�สอนศาสนาอิสลามอย่างเคร่งครัด มีความ
แหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานีใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ สัมพันธ์กันอย่างแน่นแฟ้นระบบเครือญาติ ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ร้อยละ
ประกอบด้วยการศึกษาเอกสาร การศึกษาภาคสนาม โดยการสังเกตแบบ 70 ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน นำ�หลักคำ�สอนของศาสนาอิสลาม
ไม่มีส่วนร่วม การสังเกตแบบมีส่วนร่วม การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก มาใช้ในการดำ�เนินชีวิตประจำ�วัน ใช้ในการจัดการทรัพยากรทางทะเล
การสัมภาษณ์กลุ่ม และการตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า และนำ�ข้อมูล และชายฝั่งโดยคำ�สอนที่ว่า “ทรัพยากรเป็นสิ่งที่อัลลอฮฺสร้างขึ้น” เป็น
ไปทำ�การวิเคราะห์และสรุปผลการวิวัยตามวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้ ของทุกคนที่ต้องดูแลรักษาและนำ�ไปสู่การกำ�หนดข้อตกลง กฎระเบียบ
พบว่า ต่างๆ ในการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและคุ้มค่าเท่าที่จำ�เป็นต่อการ
วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ดำ�รงชีวิต “อยู่อย่างนก” มีหน้าที่ดูแลรักษา ปกป้องทรัพยากรให้อยู่คู่
องค์ความรู้เรื่องทิศทางลม ชุมชนสืบไป
อ่าวปัตตานีมกี ระแสลม 8 ทิศ คือ 1) ลมเหนือ 2) ลมตะวันออก วั ต ถุ ป ระสงค์ ข้ อ ที่ 3 พบว่ า ชุ ม ชนมี รู ป แบบการจั ด การ
เฉียงเหนือ 3) ลมตะวันออก 4) ลมตะวันออกเฉียงใต้ 5) ลมใต้ 6) ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทั้ง 7 ขั้นตอน คือ 1) การก่อเกิดวิถีชีวิต
ลมตะวันตกเฉียงใต้ 7) ลมตะวันตก 8) ลมตะวันตกเฉียงเหนือ ลมแต่ละ ชาวเลแหลมตาชี ด้วยความอุดมสมบูรณ์ของฐานทรัพยากร เรียนรู้

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
2 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 3
ถ่ายทอดวิถีชีวิตพึ่งพิงฐานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจากรุ่นสู่รุ่น
จวบจนปัจจุบนั 2) อัลลอฮฺทรงประทานหลักคำ�สอนศาสนา “เฮาะออแร
กิตติกรรมประกาศ
ฆามา ทรัพยากรเป็นของทุกคนทีต่ อ้ งร่วมกันดูแลและใช้อย่างประหยัด”
“อยูอ่ ย่างนก ใช้ทรัพยากรให้คมุ้ ค่าและเกิดประโยชน์สงู สุด” นำ�สูข่ อ้ ตกลง ขอขอบคุณมูลนิธิสถาบันดนตรีคนตาบอด ที่ให้การสนับสนุน
ของชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ ของชุมชน 3) การ งบประมาณในการดำ�เนินงานวิจัยในครั้งนี้ ให้สามารถดำ�เนินการได้
รวมกลุ่มของคนในชุมชนเพื่อการจัดการทรัพยากรสัตว์น้ำ� ความยาก สำ�เร็จลุล่วงไปด้วยดี
ลำ�บากในการดำ�รงชีวิตจากทรัพยากรถูกทำ�ลาย ด้วยอวนลากอวนรุน งานวิจัยฉบับนี้ สำ�เร็จลุล่วงได้อย่างสมบูรณ์ตามวัตถุประสงค์
เรือปั่นไฟ จากบุคคลภายนอก ก่อให้เกิดการรวมตัวของคนในชุมชนมา ด้วยความเอาใจใส่และให้ความช่วยเหลือเป็นอย่างดีจาก ว่าที่ร้อยตรี
ปกป้องและ การเฝ้าระวังในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ดร.ปรีชา ร่มบ้านโหล๊ะ ทีป่ รึกษาสมาคมรักษ์ทะเลไทย นายบรรจง นะแส
โดยการใช้มาตรการทุกรูปแบบจากเบาไปหาหนัก โดยการเจรจา ขับไล่ ผู้ อำ�นวยการสถานบันวิจัยและฟื้นฟูท รัพยากรชายฝั่ง สมาคมรักษ์
ใช้กำ�ลังและอาวุธ 4) กลุ่มคนรักทะเลจังหวัดปัตตานี การรวมกลุ่มของ ทะเลไทย และนายวิโชคศักดิ์ รณรงค์ไพรี นายกสมาคมรักษ์ทะเลไทย
คนรักทะเลจังหวัดปัตตานีโดยมิได้นดั หมาย รวมพลังเรียกร้องการจัดการ นางสาวรอฮานี ดาโอะ สถาบันกัลยานิวฒ ั นา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
ทรัพยากรของอ่าวปัตตานีต่อหน่วยงานราชการ 5) การหนุนเสริมจาก วิทยาเขตปัตตานี ที่ให้ความอนุเคราะห์ ดูแล ให้คำ�ปรึกษา แนะนำ�
หน่วยงานภายนอก ในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ องค์กร ในการแก้ไขข้อบกพร่องเป็นอย่างยิ่ง
พัฒนาเอกชน ตัวแทนชาวประมงพื้นบ้าน 6 จังหวัดภาคใต้ (ปัตตานี ขอขอบคุณหน่วยงานภาครัฐและเอกชนประกอบด้วย องค์การ
บริหารส่วนตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี คณะวิทยา-
สงขลา สตูล ตรัง นครศรีธรรมราช กระบี่) ร่วมกันจัดตั้งเป็นสมาพันธ์
ศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
ชาวประมงพื้นบ้านภาคใต้ เสนอแนวทางการจัดการทรัพยากรทางทะเล
สมาคมลุ่มน้ำ�สายบุรี ในการอนุเคราะห์ข้อมูลที่มีส่วนสำ�คัญที่ทำ�ให้งาน
และชายฝัง่ ต่อหน่วยงานรัฐ นำ�ไปสู่ พรบ.ประมง 6) ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ วิจัยฉบับนี้ออกมาได้อย่างสมบูรณ์
ใหม่ เพื่อการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอ่าวปัตตานี การ ขอขอบคุณทีมวิจัย แกนนำ� และชาวประมงพื้นบ้านในชุมชน
แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับหน่วยงานองค์กร กลุ่มอนุรักษ์ เครือข่ายภายนอก ประมงพืน้ บ้านตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริง่ จังหวัดปัตตานี ทีใ่ ห้ความ
ได้องค์ความรู้ ใหม่ประยุกต์ใช้ในชุมชน การทำ�ซั้งกอ กำ�หนดแนวเขต ร่วมมือด้วยดีในการจัดเก็บข้อมูลองค์ความรู้ วิถีชีวิตและรูปแบบการจัด
อนุรักษ์ฯ การปลูก ป่าชายเลน ธนาคารปูม้า ปล่อยพันธุ์สัตว์ และร่วม การทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งของชุมชนได้อย่างสำ�เร็จและสมบูรณ์
กับหน่วยงานรัฐการเฝ้าระวัง ป้องกัน จับกุม 7) บูรณการการจัดการ ท้ายที่สุดนี้ ขอขอบคุณเพื่อนๆ พี่ๆ ที่ทำ�งานด้วยกันในส่วน
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ สูว่ ถิ ชี วี ติ ยึดมัน่ ในหลักการคำ�สอนศาสนา ของสมาคมรักษ์ทะเลไทย สำ�หรับการให้กำ�ลังใจ สนับสนุน และส่งเสริม
อิสลาม ร่วมปฏิบัติตามกฎระเบียบ ข้อตกลงของชุมชน ถ่ายทอดสู่รุ่น ให้ข้าพเจ้าได้มีกำ�ลังใจในการทำ�งานวิจัยครั้งนี้
ลูกหลานสืบไป
อัสรีย์ แดเบาะ

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
4 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 5
คำ�นำ�

งานวิจัยเรื่องการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ทางสถาบันฯ ขอขอบพระคุณ คณาจารย์ที่ปรึกษาของ


โดยเป็นกรณีศึกษาชุมชนประมงพื้นบ้านตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอ สถาบันฯ โดยเฉพาะ ว่าที่ร้อยตรี ดร.ปรีชา ร่มบ้านโหล๊ะ และ
ยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี เป็นส่วนหนึ่งของชุดวิจัย 4 เรื่องของการ อาจารย์รอฮานี ดาโอะ สถาบันกัลยานิวัฒนา มหาวิทยาลัย
ดำ�เนิ น งานของสถาบันวิจัยและฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลและ สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี และทีมวิจัยในพื้นที่ ที่ช่วยกัน
ชายฝั่ง สมาคมรักษ์ทะเลไทย ซึ่งได้รับการสนับสนุนด้านงบ ให้งานชิน้ นี้ สำ�เร็จลุลว่ งไปด้วยดี และคาดหวังว่าจะเป็นประโยชน์
ประมาณในการดำ�เนินงานจากมูลนิธิสถาบันดนตรีคนตาบอด ต่อชุมชน และชุมชนอื่นๆ ตลอดถึงสถาบันการศึกษา ผู้ใฝ่รู้จะได้
ซึ่ ง ทางสถาบั น ฯ ต้ อ งขอขอบพระคุ ณ มู ล นิ ธิ ฯ เป็ น อย่ า งสู ง นำ�ไปศึกษาเรียนรู้ในโอกาสต่อไป
มา ณ โอกาสนี้ด้วย
การบันทึกเรือ่ งราว ประวัตคิ วามเป็นมา ตลอดถึงพัฒนาการ บรรจง นะแส
ของขุมชน ทั้งในด้านประวัติศาสตร์ การประกอบอาชีพ ปัญหา ผู้อำ�นวยการสถาบันวิจัยและฟื้นฟูทรัพยากรชายฝั่ง
สมาคมรักษ์ทะเลไทย
และอุปสรรค ตลอดจนการลุกขึ้นมาจัดการปัญหาของชุมชน กรกฎาคม 2564
เป็นส่วนสำ�คัญของการเดินไปข้างหน้า เพือ่ สร้างอนาคตของชุมชน
ฐานทรัพยากร ให้สามารถดำ�รงอยู่ เป็นฐานที่มั่นที่ยั่งยืน มีความ
สำ�คัญ และจำ�เป็นอย่างยิ่งในสถานการณ์ปัจจุบัน งานวิจัยชิ้นนี้
จะทำ�ให้ผอู้ า่ นได้รบั รู้ ได้เข้าใจ สภาพทางภูมศิ าสตร์ การประกอบ
อาชีพ ตลอดถึงปัญหาต่างๆ ทีช่ มุ ชนประมงเล็กๆ ชุมชนหนึง่ ต้อง
เผชิญ และฝ่าฟันปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น ทำ�ให้เราได้รับรู้ ปัญหา
โดยรวมของชุมชนประมงพืน้ บ้าน โดยเฉพาะชุมชนประมงพืน้ บ้าน
ที่กระจายตัวอยู่ตามพื้นที่ต่างๆ ที่มีพื้นที่ติดทะเลในอีกหลาย
จังหวัดของประเทศ

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
6 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 7
สารบัญ

บทคัดย่อ ……………………………………………………………………………………… 2 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ……………………………………………………… 61


กิตติกรรมประกาศ ………………………………………………………………………… 5 ผลการศึกษาเอกสาร (Document Study) ………………… 61
สารบัญ ………………………………………………………………………………………… 8 การสังเกตแบบไม่มสี ว่ นร่วม ……………………………………… 76
สารบัญตาราง ………………………………………………………………………………… 10 การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ………………………………………… 82
สารบัญภาพ ………………………………………………………………………………… 11 การสัมภาษณ์กลุม่ (Group Interview) …………………… 103
บทที่ 1 บทนำ� ………………………………………………………………………………… 12 การวิเคราะห์ข้อมูลการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ความเป็นมาและความสำ�คัญของปัญหา ………………………………… 12 โดยใช้ทฤษฎีระบบในพื้นที่ตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง
วัตถุประสงค์ของการวิจยั ……………………………………………………… 15 จังหวัดปัตตานี …………………………………………………………………… 107
ผลทีค่ าดว่าจะได้รบั ……………………………………………………………… 16 ปัจจัยนำ�เข้า (Input) ……………………………………………… 111
กรอบแนวคิดในการวิจยั ………………………………………………………… 16 กระบวนการ (Process) …………………………………………… 112
ขอบเขตการวิจยั …………………………………………………………………… 17 ผลผลิต (Product) …………………………………………………… 113
นิยามศัพท์เฉพาะ ………………………………………………………………… 17 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลตามวัตถุประสงค์ขอ้ ที่ 1 ……………………… 114
ข้อจำ�กัดในการวิจยั ……………………………………………………………… 19 องค์ความรูเ้ รือ่ งทิศทางลม ………………………………………… 114
บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และเอกสารงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง ………………… 20 องค์ความรูเ้ รือ่ งกระแสน้�ำ และน้�ำ ขึน้ น้�ำ ลง…………………… 116
แนวคิดเกีย่ วกับวิถชี วี ติ ชุมชน ………………………………………………… 20 องค์ความรูเ้ รือ่ งฤดูกาลของสัตว์น� ้ำ …………………………… 118
แนวคิดเกีย่ วกับชุมชนในการจัดการทรัพยากร ………………………… 24 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลตามวัตถุประสงค์ขอ้ ที่ 2 ……………………… 120
การบริหารจัดการ ……………………………………………………………… 26 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูลตามวัตถุประสงค์ขอ้ ที่ 3 ……………………… 122
แนวคิดการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ อย่างมีสว่ นร่วม 27 บทที่ 5 สรุปผลการวิจยั และข้อเสนอแนะ …………………………………… 126
แนวคิดชุมชนกับการจัดการทรัพยากรประมง ………………………… 30 สรุปผลการวิจยั ………………………………………………………… 126
ทฤษฎีทเี่ กีย่ วข้อง ………………………………………………………………… 32 ข้อเสนอแนะ ……………………………………………………………… 137
การจัดการความรู้ ………………………………………………………………… 38 บรรณานุกรม ………………………………………………………………………………… 139
งานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง ……………………………………………………………… 43 ภาคผนวก ก รายชื่อผู้ให้ข้อมูลสำ�คัญ ……………………………………………… 142
บทที่ 3 วิธกี ารดำ�เนินการวิจยั ………………………………………………………… 51 ประวัติผู้วิจัย ………………………………………………………………………………… 144
การศึกษาจากเอกสาร …………………………………………………………… 51
การศึกษาภาคสนาม …………………………………………………………… 52

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
8 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 9
สารบัญตาราง สารบัญภาพ

ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรในตำ�บลแหลมโพธิ์ ……………………………………… 66 ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการทำ�วิจยั …………………………………………………… 16


ตารางที่ 2 จำ�นวนประชากรจำ�แนกช่วงอายุและเพศ ……………………………… 67 ภาพที่ 2 ความสัมพันธ์ของทฤษฎีระบบ …………………………………………… 32
ตารางที่ 3 จำ�นวนผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ป่วยเอดส์ ของแต่ละหมู่บ้านของ ภาพที่ 3 แผนทีต่ �ำ บลในอำ�เภอยะหริง่ จังหวัดปัตตานี ……………………… 63
ตำ�บลแหลมโพธิ์ ………………………………………………………………… 69 ภาพที่ 4 แผนทีต่ �ำ บลแหลมโพธิ์ ……………………………………………………… 64
ตารางที่ 4 จำ�นวนเรือประมงพื้นบ้านในตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง ภาพที่ 5 ทีต่ งั้ แต่ละหมูบ่ า้ นในตำ�บลแหลมโพธิ์ …………………………………… 65
จังหวัดปัตตานี …………………………………………………………………… 71 ภาพที่ 6 ผังแสดงทรัพยากรในตำ�บลแหลมโพธิ์ …………………………………… 75
ตารางที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ภาพที่ 7 การตัง้ บ้านเรือนริมอ่าวปัตตานี ………………………………………… 77
โดยใช้ทฤษฎีระบบในพื้นที่ตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง ภาพที่ 8 อ่าวปัตตานี ลำ�คลองและทีจ่ อดเรือ …………………………………… 78
จังหวัดปัตตานี ………………………………………………………………… 107 ภาพที่ 9 กิจกรรมอนุรกั ษ์อา่ วปัตตานี ………………………………………………… 81
ตารางที่ 6 ฤดูกาลจับสัตว์น�้ำ ในอ่าวปัตตานี ………………………………………… 119 ภาพที่ 10 การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก …………………………………………………… 82
ภาพที่ 11 อวนปลากระบอก (ปูกะโช่เลย์) ………………………………………… 85
ภาพที่ 12 อวนลอยปลาใหญ่ (ปูกะปีตา) …………………………………………… 87
ภาพที่ 13 บ่อเลีย้ งปูด�ำ และปูด�ำ ในอ่าวปัตตานี …………………………………… 90
ภาพที่ 14 แนวเขตอนุรกั ษ์ในอ่าวปัตตานี …………………………………………… 98
ภาพที่ 15 การสัมภาษณ์กลุม่ ……………………………………………………………… 103
ภาพที่ 16 ทิศทางลมที่มีความสัมพันธ์กับช่วงเวลาในการจับสัตว์น้ำ�
แต่ละชนิดในอ่าวปัตตานี …………………………………………………… 116
ภาพที่ 17 กระแสน้�ำ และน้�ำ ขึน้ น้�ำ ลง ในอ่าวปัตตานี ………………………… 118
ภาพที่ 18 วิถชี วี ติ ชุมชนประมงพืน้ บ้าน ……………………………………………… 122

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
10 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 11
บทที่ 1 (รวมชายฝั่งอ่าวปัตตานี) ส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ตำ�บลแหลมโพธิ์
บทนำ� ที่มีลักษณะเป็นแหลมยื่นออกไปในอ่าวไทยเรียกว่าแหลมตาชี
เกิดเป็นพื้นที่ทะเลใน (อ่าวปัตตานี) และทะเลนอก (อ่าวไทย)
ตำ�บลแหลมโพธิ์มีทั้งหมด 4 หมู่บ้าน ประกอบด้วย หมู่ที่ 1
บ้านกำ�ปงบูดี หมูที่ 2 บ้านตะโละสะมีแล หมูที่ 3 บ้านปาตาบูดี
หมูที่ 4 บ้านดาโต๊ะ มีพนื้ ทีท่ งั้ หมดประมาณ 15.45 ตารางกิโลเมตร
มี 1,966 หลังคาเรือน จำ�นวนประชากร 10,046 คน นับถือศาสนา
1. ความเป็นมาและความสำ�คัญของปัญหา อิสลาม 100% ประชากรร้อยละ 70 ประกอบอาชีพประมงพืน้ บ้าน
สังคมในปัจจุบนั มีการเปลีย่ นแปลงไปตามยุคสมัย รวมถึง มีเรือประมงพืน้ บ้านประมาณ 699 ลำ� (องค์การบริหารส่วนตำ�บล
จำ�นวนประชากรในพื้นที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ทำ�ให้ระบบนิเวศลด แหลมโพธ์, 2561) ส่วนที่เหลือจะเป็นการประกอบอาชีพค้าขาย
น้ อ ยลงรวมถึ ง ปั ญ หาต่ า งๆ ที่ เ กิ ด ขึ้ นไม่ ว่ า จะเป็ น ด้ า นสั ง คม และรับจ้างทั่วไป
โครงสร้างวัฒนธรรมรวมถึงการศึกษาในพื้นที่และที่สำ�คัญที่สุด อ่าวปัตตานีเป็นอ่าวขนาดใหญ่ เนือ้ ทีป่ ระมาณ 74 ตาราง
ด้านการจัดการทรัพยากร ในประเทศไทยมีจังหวัดที่ติดทะเล กิโลเมตร มีความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่
ทั้งหมด 23 จังหวัดซึ่งมีชายฝั่งทะเลความยาวประมาณ 3,148 แม่น�้ำ หลายสายไหลลงสูอ่ า่ วปัตตานี นำ�น้�ำ จืด แร่ธาตุ สารอาหาร
กิโลเมตร แบ่งออกเป็นชายฝั่งทะเลด้านอ่าวไทยประมาณ 2,055 เกิดแพลงตอนพืช สัตว์ เป็นอาหารของสัตว์น�้ำ วัยอ่อน ป่าชายเลน
กิโลเมตร ชายฝั่งด้านทะเลอันดามันประมาณ 1,093 กิโลเมตร รอบอ่าวเป็นที่อยู่อาศัย ผสมพันธุ์และวางไข่ของสัตว์น้ำ� ส่งผล
(กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง, 2558) เนื่องจากในปัจจุบัน ให้สัตว์น้ำ�เข้ามาอยู่อาศัยเป็นจำ�นวนมากทั้งชนิดและปริมาณ
ได้มีมาตรการในการดูแลทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งในชุมชน คนในชุมชนประกอบอาชีพประมงพื้นบ้านเป็นอาชีพหลัก ที่เป็น
ที่ติดชายฝั่งทะเล จำ�เป็นต้องมีการดูแลและฟื้นฟู เอกลักษณ์ของพื้นที่สืบต่อกันมา
จังหวัดปัตตานีห่างจากกรุงเทพฯ 1,055 กิโลเมตรมีพื้นที่ พื้นที่อ่าวปัตตานีเคยประสบปัญหาหลายๆ ด้าน ปัญหา
ทั้งหมด 1,940.35 ตารางกิโลเมตร มี 12 อำ�เภอ อำ�เภอยะหริ่ง ด้านสังคม ปัญหาภัยธรรมชาติ ปัญหาภัยพิบัติ ปัญหาทรัพยากร
เป็นอำ�เภอหนึง่ ในจังหวัดปัตตานี ห่างจากตัวเมืองปัตตานีประมาณ ทางทะเลและชายฝั่งจากการทำ�ประมงผิดกฎหมาย ทำ�ให้แกนนำ�
14 กิโลเมตร อำ�เภอยะหริ่งมี 18 ตำ�บล มีพื้นที่รวม 169.8 และคนในชุมชนมีประสบการณ์ในการจัดการสิ่งเหล่านี้และมี
ตารางกิโลเมตร มีความยาวชายฝัง่ ทัง้ หมดประมาณ 120 กิโลเมตร พัฒนาการที่ดีขึ้นเรื่อยๆ แกนนำ�สามารถสร้างจิตสำ�นึกให้คน

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
12 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 13
รุ่นหลังมีความรักและหวงแหนทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนให้ใช้ได้ เกิดสันดอนทรายที่สร้างปัญหากับชาวประมงในพื้นที่และเกิด
อย่างยั่งยืน ปัญหาหลายอย่างตามมาที่ยังรอการแก้ไข ได้มีการระดมความ
การต่อสูใ้ นช่วงปี พ.ศ.2535 จากปัญหาทรัพยากรสัตว์น� ้ำ คิดเห็นและข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหา ผ่านทางสมาชิกสภา
ในอ่าวปัตตานีลดลง กระแสน้ำ�ไหลเวียนช้าลง น้ำ�จืดมีเวลาอยู่ใน ผู้แทนราษฎรจังหวัดชายแดนใต้ องค์การบริหารจังหวัดปัตตานี
อ่า วมากขึ้ น มี ต ะกอนทับทมมากขึ้น แหล่ง หญ้ า ทะเลลดลง และผู้นำ�ท้องที่ ผู้นำ�ท้องถิ่น เพื่อหาทางออกต่อไป (เวทีรับฟัง
เกิดการรณรงค์การใช้เครื่องมือผิดกฎหมาย ได้แก่ อวนลาก ความเดือนร้อนของชาวประมงพื้นบ้านรอบอ่าวปัตตานี, 24
อวนรุน เรือปั่นไฟ นำ�ไปสู่การรวมตัวของชาวประมงพื้นบ้าน มกราคม 2564) กระบวนการแก้ปัญหาและทิศทางการทำ�งาน
ทั้ ง 6 อำ � เภอและคนในพื้ น ที่ ตำ � บลแหลมโพธิ์ ก ว่ า หมื่ น คน ของชาวประมงพื้นบ้านในพื้นที่ ในการจัดการทรัพยากรทางทะเล
รวมตัวกันที่หน้าศาลากลางจังหวัดปัตตานีเพื่อประท้วงกรณีการ และชายฝั่งให้ยั่งยืนสู่ลูกหลานในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ทำ�ประมงพาณิชย์ อวนลาก อวนรุน เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. รวมถึงวิถีการทำ�ประมงพื้นบ้านในพื้นที่จากอดีตมาถึงปัจจุบัน
2543 ในปี พ.ศ.2547 การเข้ามาของโครงการ SEA FOOD เพื่ อ สร้ า งแรงบั น ดาลใจเสริ ม พลั งให้ แ กนนำ �ในพื้ น ที่ แ ละเป็ น
BANK ซึ่งชาวบ้านเห็นว่า ส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของชุมชน แนวทางการทำ�งานของแกนนำ�ในพื้นที่อื่นๆ ให้มีกำ�ลังใจในการ
ดั้งเดิม เกิดผลกระทบตามมาในระยะยาว เพราะนอกจากจะเสีย ทำ�งานเพื่อชุมชนและสังคมต่อไป จึงทำ�ให้ผู้วิจัยสนใจศึกษาวิจัย
สิทธิใ์ นการเข้าถึงทรัพยากรแล้ว สิง่ ทีต่ ามมาคือต้องสูญเสียอาชีพ เรื่อง การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน กรณี
เสริมรายได้และบางกรณีกอ่ ให้เกิดปัญหาความขัดแย้งขึน้ ในชุมชน ศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
อาจถูกพัฒนาให้กลายเป็นรอยร้าวในสังคมต่อไป (บรรจง นะแส,
2547) เพราะจะทำ�ให้ เกิดข้อจำ�กัดในการทำ�มาหากิน นำ�ไปสู่ 2. วัตถุประสงค์ของการวิจัย
ปัญหาระหว่างคนในพื้นที่กับคนต่างถิ่นที่จะเข้ามาจับจองพื้นที่ 2.1 เพื่ อ รวบรวมองค์ ค วามรู้ ใ นการทำ � ประมงชายฝั่ ง
ในทะเล เพือ่ การเพาะเลีย้ งต่างๆ (มูลนิธเิ ล็ก-ประไพ วิรยิ ะพันธุ,์ ในตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
2548) 2.2 เพื่ อ ศึ ก ษาวิ ถี ชี วิ ต ของชาวประมงพื้ น บ้ า นในการ
ในปัจจุบันชุมชนมีปัญหาหลายอย่าง การใช้เครื่องมือ อนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรทางทะเลและชายฝั่ ง ของตำ � บลแหลมโพธิ์
อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
ลอบพับ (ไอโง่) ที่ชาวประมงพื้นบ้านในพื้นที่ยังใช้อยู่จำ�นวนเรือ
2.3 เพือ่ ศึกษารูปแบบการจัดการทรัพยากรทางทะเลและ
ที่ใช้เครื่องมือดังกล่าว จำ�นวน 80 ลำ� จำ�นวนลอบพับประมาณ
ชายฝั่งของคนในชุมชนตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัด
4,000 หัว ปัญหาร่องน้ำ�ตื้นเขินจากการขุดลอกอ่าวปัตตานี ปัตตานี

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
14 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 15
3. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 5. ขอบเขตการวิจัย
3.1 ได้ อ งค์ ค วามรู้ ใ นการทำ � ประมงชายฝั่ ง ในตำ � บล 6.1 เป็นการศึกษาวิถีชีวิตและการจัดการทรัพยากรทาง
แหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ทะเลและชายฝั่งของชาวประมงพื้นบ้านพื้นที่ตำ�บลแหลมโพธิ์
3.2 มี วิ ถี ชี วิ ต ของชาวประมงพื้ น บ้ า นในการอนุ รั ก ษ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ตั้งแต่เดือนกรกฎาคม 2563-
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ ของตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริง่ เดือนมิถุนายน 2564
จังหวัดปัตตานี 6.2 เป็นการรวบรวมข้อมูลองค์ความรู้ วิถชี วี ติ และรูปแบบ
3.3 ได้รูปแบบการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ของชาวประพื้นบ้าน
ของคนในชุมชนตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ในพื้ น ตำ � บลแหลมโพธิ์ อำ � เภอยะหริ่ ง จั ง หวั ด ปั ต ตานี ที่ มี
ความรู้ ใ นการจั ด การทรั พ ยากรและการทำ � ประมงพื้ น บ้ า นที่ มี
4. กรอบแนวคิดในการวิจัย ประสบการณ์ 20 ปีขึ้นไป

ปัจจัยนำ�เข้า กระบวนการศึกษา ผลผลิต


• ทรัพยากรทางทะเลอุดมสมบูรณ์ • องค์ความรู้ • รูปแบบ 6. นิยามศัพท์เฉพาะ
• วิถชี วี ติ การประกอบอาชีพประมง ในการประกอบ การจัดการ 6.1 แกนนำ�ชุมชน หมายถึง คนในพืน้ ทีต่ �ำ บลแหลมโพธิ์
พื้นบ้าน อาชีพประมง ทรัพยากร
• กระบวนการพัฒนาเครือ่ งมือและ • วิถีชีวิตของ โดยชุมชน อำ�เภอยะหริง่ จังหวัดปัตตานี เป็นคนทีร่ เู้ หตุ รูผ้ ล รูต้ น รูป้ ระมาณ
วิธีการทำ�ประมงพื้นบ้าน ชุมชนประมง • รูปแบบ
• ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากร พื้นบ้าน วิถีชีวิตของ รู้กาลเวลา รู้ชุมชน รู้บุคคล และเลือกใช้คุณธรรมนั้นอย่าง
ทางทะเลลดลงจากปัญหาต่างๆ • องค์ความรู้ ชาวประมง เหมาะสม หลั ก การที่ ทำ �ให้ เ ป็ น ผู้ นำ � นั้ น ประกอบด้ ว ยหลาย
• ผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน ในการจัดการ พื้นบ้าน
ประสบปัญหาจับสัตว์น้ำ�ได้ลดลง ทรัพยากร • องค์ความรู้ องค์ประกอบ การรู้จักตนเองและค้นหาปรับปรุงตัวเอง ให้รู้จัก
• การร่วมกันจัดการทรัพยากร ในการทำ�
โดยชุมชน ประมง ตัวเอง ให้เกิดความเชี่ยวชาญ เพื่อชี้นำ�องค์กรสู่สิ่งใหม่ๆ ด้วย
ชายฝั่ง ความรับผิดชอบและมีการวางแผนในการดำ�เนินงานเพื่อให้เป็น
การจัดการความรู้ (KM) ทฤษฎีระบบ แบบอย่างแก่คนในชุมชน รวมถึงเป็นตัวอย่างให้กบั บุคคลอืน่ และ
เข้าถึงผูค้ นในชุมชนด้วยความเข้าใจอันเป็นแนวทางก้าวไปสูค่ วาม
ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการทำ�วิจัย
สำ�เร็จ

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
16 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 17
6.2 เครือข่ายชุมชน หมายถึง กลุ่ม องค์กร ในพื้นที่ 6.7 สิ่งแวดล้อม  หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่มีลักษณะทาง
ตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี หลายกลุ่มมา กายภาพและชีวภาพที่อยู่รอบตัวมนุษย์ ซึ่งเกิดขึ้นโดยธรรมชาติ
รวมตัวกัน ประสานเชือ่ มโยง สร้างความสัมพันธ์ ถักทอ สร้างสรรค์ และสิ่ ง ที่ ม นุ ษ ย์ ไ ด้ ทำ � ขึ้ น (พรบ.ส่ ง เสริ ม และรั ก ษาคุ ณ ภาพ
กิจกรรม บนพื้นฐานของความเอื้ออาทร เกิดพลังในการทำ�งาน สิ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ชาติ พ.ศ.2535) สิ่ ง แวดล้ อ มที่ เ กิ ด ขึ้ นโดย
ให้บรรลุเป้าหมายทุกองค์กรและให้ชุมชนเข้มแข็ง ธรรมชาติ ได้แก่ บรรยากาศ น้ำ� ดิน แร่ธาตุ พืช และสัตว์
6.3 การมีสว่ นร่วม หมายถึง การเปิดโอกาสให้ประชาชน ส่วนสิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น ได้แก่ สาธารณูปการต่างๆ เช่น
ได้มีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน การพัฒนาทั้งในการแก้ไขปัญหาและ ถนน เขื่อนกั้นน้ำ� ฝาย คูคลอง เป็นต้น
ป้องกันปัญหาโดยเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมในการคิดริเริ่ม ร่วม
กำ�หนดนโยบาย ร่วมวางแผน ตัดสินใจและปฏิบัติตามแผน 7. ข้อจำ�กัดในการวิจัย
ร่วมตรวจสอบการใช้อำ�นาจรัฐทุกระดับ ร่วมติดตามประเมินผล 7.1 ในช่ ว งการทำ � ข้ อ มู ล วิ จั ย เป็ น ช่ ว งระบาดของโรค
และรับผิดชอบในเรื่องต่างๆ อันมีผลกระทบถึงประชาชน ชุมชน โควิ ด -19 และเป็ น ช่ ว งเกิ ด ภั ย พิ บั ติ น้ำ � ท่ ว มทำ �ให้ ไ ม่ ส ามารถ
และเครือข่ายทุกรูปแบบในพื้นที่ ลงพื้นที่เก็บข้อมูลได้บางช่วงเวลา
6.4 ชุมชน หมายถึง เขตพื้นที่ที่บุคคลในพื้นที่มีการ 7.2 ภาษา เพศ และวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี
ปฏิสั มพั น ธ์ แ ละการติดต่อ ตลอดจนพื้นฐานความยึ ด เหนี่ ย ว ของคนในพืน้ ทีเ่ ป็นอิสลาม 100% ทำ�ให้การเข้าถึงข้อมูลบางอย่าง
เฉพาะบางอย่างที่ทำ�ให้ชุมชนมีความเป็นลักษณะเฉพาะในพื้นที่ ต้องระมัดระวังเพราะเป็นพื้นที่เปราะบางในเรื่องนี้
ตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
6.5 ชาวประมงพื้นบ้าน หมายถึง ชาวบ้านในพื้นที่
ตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ที่ทำ�การประมง
ในเขตทะเลชายฝั่งในพื้นที่ไม่ว่าจะใช้เรือประมงหรือใช้เครื่องมือ
โดยไม่ใช้เรือประมง
6.6 ทรัพยากรธรรมชาติ  หมายถึง สิ่งที่มีอยู่ตาม
ธรรมชาติ ได้แก่ อากาศ น้ำ� ดิน แร่ธาตุ ป่าไม้ สัตว์ป่า พลังงาน
ความร้อน พลังงานแสงแดด และอื่นๆ มนุษย์ได้ใช้ทรัพยากร
ธรรมชาติในการดำ�รงชีวิตนับตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย ทรัพยากร
ธรรมชาติจงึ เป็นประโยชน์และมีความสำ�คัญอย่างยิง่ ต่อมวลมนุษย์

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
18 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 19
บทที่ 2 เพราะวัฒนธรรมเป็นสิง่ กำ�หนดพฤติกรรมตัง้ แต่เกิดจนตาย ตัง้ แต่
แนวคิด ทฤษฎี ตื่นนอนจนเขานอน พฤติกรรมต่างๆ ที่มนุษย์กระทำ�ลวนแลวแต่
เป็นเรื่องของวัฒนธรรมทั้งสิ้น วัฒนธรรมเป็นตัวกำ�หนดรูปแบบ
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ของครอบครัว เศรษฐกิจ การปกครอง การศึกษา ศาสนา เป็นต้น
วัฒนธรรมจะกำ�หนดว่าสิง่ ใดดี สิง่ ใดไม่ดี สิง่ ใดถูก สิง่ ใดผิด รวมทัง้
เป้าหมายในชีวิตวาควรเป็นอย่างไร ฉะนั้น กิจกรรมทุกอย่างของ
มนุษย์ไม่ว่าจะเป็นการกิน การดื่ม การพูด การอ่าน การเขียน
การคิด การทำ�งาน การเล่น การติดต่อสัมพันธ์กัน ลวนแล้ว
การศึกษาวิจัยเรื่อง “การจัดการทรัพยากรทางทะเลและ แต่เป็นเรื่องของวัฒนธรรมทั้งสิ้น วัฒนธรรมจึงเป็นวิถีชีวิตของ
ชายฝัง่ โดยชุมชนกรณีศกึ ษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริง่ จังหวัด มนุษย์ในสังคม สังคมหนึง่ หรือชุมชนหนึง่ ๆ จะตอ งมีวถิ กี ารดำ�เนิน
ปัตตานี” ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ชีวติ เป็นลักษณะเฉพาะของสังคม วิถชี วี ติ จึงเป็นเสมือนเอกลักษณ
ซึ่งเป็นกรอบวิจัยในครั้งนี้ดังนี้ หรือตราประจำ�สังคม ซึ่งมีความแตกต่างกันไปทั้งนี้ขึ้นอยู่กับเหตุ
ดังนี้ (อ้างใน พวงเพชร สุรัตนกวีกุล, 2542, น.53-54)
แนวคิดในการทำ�วิจัย 1. ความคิดเห็นและการมองโลกต่างกัน
ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิดในการวิจัย 4 แนวคิดคือ แนวคิด ความคิ ด เห็ น และการมองโลกต่ า งกั น จะทำ �ให วิ ถี ชี วิ ต
เกีย่ วกับวิถชี วี ติ ชุมชน แนวคิดการบริหารจัดการ แนวคิดการจัดการ แตกต่างกันไป ในเรื่องนี้จะเห็นได้วามนุษย์ทุกแหงของโลกตองมี
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอย่างมีส่วนร่วม แนวคิดชุมชนกับ ระเบียบกฎเกณฑ ความเชื่อ ศาสนา การปกครอง เศรษฐกิจ
การจัดการทรัพยากรประมง ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ การอบรมเลี้ยงดูเด็ก ตลอดจนคบเพื่อนเหมือนๆ กัน แต่รูปแบบ
ของสิ่งเหลานี้จะแตกต่างกันไปตามความคิดเห็นและคานิยมของ
1. แนวคิดเกี่ยวกับวิถีชีวิตชุมชน แต่ละสังคม
วิถีชีวิตชุมชนในภาพรวม 2. สภาพแวดลอมทางภูมิศาสตร์ต่างกัน
เวธกา เสวครบุรี, 2554 (อางใน พวงเพชร สุรัตนกวีกุล, วิชชุตา ใหเจริญ, 2552 กล่าวว่าสภาพแวดลอมทาง
2542, น.50-51) กลาวว่า วิถีชีวิตชุมชนเป็นวิถีชีวิตของมนุษย์ ภู มิ ศ าสตร์ ต่ า งกั น ทำ �ให  พ บป  ญ หาแตกต่ า งกั น เช  น มนุ ษ ย์
ในสังคม หมายถึง วัฒนธรรมในทางสังคมศาสตร์นั้นเอง ทั้งนี้ ที่อยู่ในเขตหนาวตองพบปญหาตางกับมนุษย์ที่อยู่ในเขตร้อน

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
20 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 21
มนุษยที่อยูบนภูเขายอมมีปญหาตางจากมนุษยที่อยูในที่ลุม 3. การกํ า หนดเงื่ อ นไขของความสั ม พั น ธ ใ นลั ก ษณะ
ดวยเหตุนี้แตละสังคมจักตองคิดหาวิธีการแกปญหาใหเหมาะสม เครือญาติ เพื่อน เครือขาย คูคาขาย ผูมีสวนไดสวนเสียในผล
กับสภาพแวดลอม ในบางกรณีจะพบวามนุษยที่อยูในสภาพ ประโยชนรวมกัน หรือคูแขงขันกัน
แวดลอมที่คลายกันแตมีวิถีชีวิตตางกัน ที่เปนเชนนี้อธิบายไดวา 4. กําหนดขอตกลง กฎเกณฑทางสังคมที่อาจพัฒนา
การทีว่ ถิ ชี วี ติ จะมีลกั ษณะ 6 อยางนัน้ นอกจากจะขึน้ อยูก่ บั สภาพ ขึ้นเปนระเบียบ บรรทัดฐานทางสังคม ประเพณี และกฎหมาย
แวดลอม ความคิดเห็น การมองโลกแลว ยังขึน้ อยูก่ บั เหตุการณใน ที่มีบทบังคับ
ประวัติศาสตร์ที่ผ่านมาของแต่ละสังคม ซึ่งจะมีสวนสำ�คัญในการ 5. มีการสรางกลไกทางสังคมเปน Law Enforcement
กำ�หนดลักษณะของวิถีชีวิตดังที่เป็นอยู่ในปจจุบัน ที่มีพลังและอํานาจบังคับใชกฎเกณฑดังกลาว ในรูปแบบของ
วิ ถี ชี วิ ต ของชุ ม ชน เป็ น แนวทางการดำ � เนิ น ชี วิ ต ของ ความเชื่อ พิธีกรรม กลไกทางสังคมที่มีอํานาจและเปนพลังของ
สมาชิกสวนใหญ่ในแต่ละชุมชนที่พิจารณาได้จาก ตัวแทนของสมาชิก สถาบัน องคกร และชุมชน ทั้งประเภท
1. บทบาทที่สมาชิกแสดงออกมาตามหนาที่และความ Law Enforcement ที่ มี ข อบเขตการบั ง คั บใช  ที่ มี ว งกว  า ง
รับผิดชอบ ทั้งในระดับปจเจกบุคคล สถาบัน องคกร และชุมชน แตกตางกัน ตามอํานาจที่หนุนหลังกลไกนั้นๆ ทั้งอํานาจที่นา
โดยที่ แ ต่ ล ะปั จ เจกอาจมี ห ลายบทบาทเมื่ อ ทํ า หน า ที่ อ ยู  ต  า ง เชื่อถืออยางเปนเหตุเปนผล หรืออํานาจที่นอกเหนือการควบคุม
สถานที่และเวลา หรือเวลาและสถานที่เดียวกัน เปรียบเสมือน ทางธรรมชาติ (Super Natural Power)
ครูใหญทําหนาที่ในโรงเรียนที่มีลูกชายของตนเรียนอยู และมี เนื้ อ หาแห  ง วิ ถี ชี วิ ต ของแต  ล ะชุ ม ชนย  อ มแตกต  า งกั น
คุณแมเปนครูในสังกัดโรงเรียนนี้ดวย แตที่เหมือนกันคือการทําหนาที่ของกลไกทางสังคม ที่แฝงไปดวย
2. โครงสรางและหนาที่ของสมาชิก ที่ย่อมเปนไปตาม ความเชื่อ คานิยม ทัศนคติที่พัฒนาขึ้นเปนประเพณีที่ถือปฏิบัติ
ความสัมพันธระหวางสมาชิกและระหวางสถาบัน องคกร และ สวนขอหาม (Taboo) และกฎเกณฑในการปฏิบัติก็กลายเปน
ชุมชน ที่จะมีเปาหมายการอยูรวมกันอยางสันติ แตเมื่อชุมชนใด บรรทัดฐาน (Norms) ที่ถายทอดเรียนรูสืบตอกันมาในรูปแบบ
มี ผ ลประโยชน  เ หลื่ อ มซ  อ นกั นในเชิ งได  เ ปรี ย บเสี ย เปรี ย บกั น ตางๆ เชน นิทานปรัมปะรา การละเลน ละคร เพลงพื้นบาน
สถานการณยอมเปลี่ยนแปลงไปในทางลบไดถาปราศจากการ ลิเก ซอ จอย (ออกเสียงทางภาคเหนือเปน จอย) ลําตัด งิ้ว
ประนีประนอมกัน และอาจสงผลกระทบตอการทําลายโครงสราง และอาจมีสัญลักษณแทนตัวอักษร แตสะทอนความเชื่อหรือ
และหนาที่ของอีกชุมชนหนึ่งที่ไมสามารถปกปองตนเองได ขอหามไดชัดเจน โดยอาจอาศัยความเชื่อเรื่องผีและสิ่งเหนือ
ธรรมชาติ มาเปนกลไกในการควบคุมความประพฤติ

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
22 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 23
ชุมชนยอมมีวธิ กี ารจัดการความรูด ว ยตนเอง ความรูร ะดับ ทรัพยากรในครั้งนี้จะนำ�เสนอในส่วนของความสัมพันธ์ระหว่าง
ชุมชนมักเรียกกันวา เปนภูมปิ ญ  ญาทองถิน่ ทีอ่ าจจาํ แนกไดห ลาย ทรั พ ยากรกั บ ชุ ม ชน และสิ ท ธิ ชุม ชนกั บ การจั ด การทรั พ ยากร
สาขาตามประเภทขององคความรู ซึ่งเนื้อแทขององคความรูคือ ธรรมชาติ (กรรณิการ์ นาคฤทธิ,์ 2559 อ้างใน จิราพร โชติพาณิช,
ความเปนธรรมชาติ หรือธรรมชาติวทิ ยา เพียงแตนกั วิชาการมาคิด 2555, น.27)
แตกยอยเปนสาขาตางๆ สาขาหลักๆ ไดแก สาขาสังคมศาสตร ความสัมพันธ์ระหว่างทรัพยากรกับชุมชน การจัดการ
และมนุษยศาสตร สาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ และสาขาวิทยา- ทรัพยากรภายใต้ลักษณะการใช้ประโยชน์ร่วมกันของคนจำ�นวน
ศาสตรแ ละเทคโนโลยี นอกจากนีย้ งั มีการแยกแยะองคค วามรูย อ ย มากในสังคมนั้น ประกอบไปด้วยสิ่งสำ�คัญ คือ การผสมผสาน
เหลานี้ออกเปนเฉพาะดาน เชน สาขาวิทยาศาสตรสุขภาพ เพือ่ ลดความขัดแย้งหรือการผูกขาด เป้าหมายหลักจึงมุง่ ไปสูช่ มุ ชน
อาจจําแนกเปนของคน พืช สัตว ถาพิจารณาจากคน ไดแก อันเป็นกลุ่มประชากรกลุ่มแรกและเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการ
สาขาทางการแพทย พยาบาล ทันตแพทย เทคนิคการแพทย จัดการทรัพยากรในอันดับต้นๆ ชุมชนจึงมีความสำ�คัญต่อการจัด
ที่เกี่ยวของตั้งแตเสนผม ประสาท ลงไปถึงสนเทาก็ได แตสาขาใด การทรัพยากรทั้งนี้เนื่องจากชุมชนมีความเกี่ยวโยงกับทรัพยากร
จะสําคั ญ กว า กั น นั้น ยอมขึ้น กับบริบทและมิติที่ พิ จ ารณากั น อย่างแยกไม่ออก ตามความหมายของชุมชนทีก่ ล่าวว่า ชุมชนเป็น
อยางไรก็ตาม ทุกองคความรูยอมมีความสัมพันธตอกันไมทางใด การอยูร่ ว่ มกันของกลุม่ คนจำ�นวนหนึง่ ในพืน้ ทีแ่ ห่งหนึง่ เพือ่ อาศัย
ก็ทางหนึ่ง ซึ่งวิถีชุมชนตองพึ่งพาความเชื่อมโยงเหลานี้ดวยความ ทรัพยากรธรรมชาติในบริเวณนั้น ในการดำ�รงชีวิตจนก่อให้เกิด
เขาใจที่ปราศจากความเยอหยิ่งแตเอื้ออาทรกัน ระบบความสัมพันธ์ของคน ความเชือ่ ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
ระบบ เศรษฐกิจ อาชีพ การเป็นชุมชนซึ่งมีความเกี่ยวพันกับ
2. แนวคิดเกีย่ วกับชุมชนในการจัดการทรัพยากร ทรัพยากรธรรมชาติอย่างแยกไม่ออก ความหมายข้างต้นส่งผลให้
แนวคิดเกีย่ วกับชุมชนในการจัดการทรัพยากรของพืน้ ทีน่ นั้ ชุมชนพัฒนาการจัดการทรัพยากรของถิ่นที่อยู่อาศัยควบคู่ไปกับ
เป็นข้อมูลของชุมชนที่มีส่วนต่อการจัดการทรัพยากรและแสดง การใช้ทรัพยากรในการประกอบอาชีพ หรือแม้แต่ใช้ควบคู่ไปกับ
ให้เห็นถึงศักยภาพในการจัดการทรัพยากรต่างๆ ซึ่งจะมีมากหรือ ชีวิตประจำ�วันซึ่งการจัดการดังกล่าวเป็นลักษณะของการจัดการ
น้อยเพียงใดนัน้ ขึน้ อยูก่ บั ปัจจัยหลายอย่างทีช่ ว่ ยผลักดัน ไม่วา่ จะ ตามภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่ ดังเช่น กรณีของชุมชนชาวประมงพืน้ บ้าน
เป็นปัจจัยภายในชุมชนและแรงผลักดันจากภายนอกนำ�ไปสู่แนว ซึ่งจะมีความรู้เกี่ยวกับเรื่องทะเล คลื่นลม รวมถึงทรัพยากร
ความคิดการจัดการทรัพยากรของชุมชนภายใต้ปัจจัยต่างๆ ที่เข้า สัตว์น้ำ�ต่างๆ ซึ่งเป็นความรู้ที่มีพื้นฐานมาจากประสบการณ์
มากระทบทัง้ ในแง่บวกและลบ ดังนัน้ แนวคิดชุมชนกับการจัดการ การสั ง เกตและการได้ รั บ การถ่ า ยทอดภู มิ ปั ญ ญาต่ า งๆ จาก

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
24 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 25
บรรพบุรุษสามารถดูแลและจัดการใช้ทรัพยากรสัตว์น้ำ�ได้อย่าง การวางแผน การจัดองค์กร การนำ�และบังคับบัญชา
ยั่ ง ยื น แต่ ม าในยุ ค ปั จ จุ บั น การจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ และการควบคุม เป็นหน้าที่ในการบริหารซึ่งเกี่ยวพันกันและ
ส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลมาจากชาติตะวันตกเพราะเชื่อว่าเป็นชาติ ดำ�เนินการอย่างต่อเนื่องตลอดเวลา โดยหน้าที่ทั้งสี่จะหมุนไป
ที่พัฒนาแล้วแต่แนวคิดและวิธีการจัดการแบบตะวันตกนั้นไม่ได้ พร้อมๆ กันตามการเคลื่อนไหวขององค์กรและสภาพแวดล้อม
เรียนรู้ถึงวิถีหรือจารีตแบบชาวประมงพื้นบ้านไทยที่มีมิติของการ แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างหน้าที่ต่างๆ ของการบริหารที่
ใช้ประโยชน์ส่วนหนึ่งจากทรัพยากรธรรมชาติเพื่ออนาคตและ เชื่อมโยงเกี่ยวพันในรูปของกระบวนการ (วิทยา ด่านธำ�รงกูล,
รักษาให้ยั่งยืนภูมิปัญญาท้องถิ่นหลายอย่างสามารถอธิบายได้ 2546, อ้างใน กรรณิการ์ นาคฤทธิ์, 2558, น.12)
ตามหลักวิชาการและสอดคล้องกับการจัดการอนุรักษ์ทรัพยากร การจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ ม ไม่ ใ ช่ สิ่ ง ที่ ทุ ก คนต้ อ งเข้ า มามี
ในการวางแผนการจัดการทรัพยากรอย่างชาญฉลาดนั้นจะต้อง ส่ ว นร่ ว มในรายละเอี ย ดทุ ก อย่ า งเพี ย งแต่ ทุ ก คนจะต้ อ งเข้ าใจ
ไม่แยกมนุษย์ออกจากสภาพแวดล้อมทางสังคมและวัฒนธรรม ช่วยเหลือ ร่วมมือ และประสานงานในส่วนที่ตัวเองเกี่ยวข้อง
หรือจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติเพราะว่าวัฒนธรรมและ ไม่ว่าจะเป็นในระดับท้องถิ่นเล็กๆ จนถึงระดับชาติ ภาครัฐบาล
สังคมได้พฒ ั นาตัวเองมาพร้อมๆ กับการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ซึ่งเป็นผู้กำ�หนดนโยบายหรือเป้าหมายหลัก การแก้ไขปัญหา
ธรรมชาติของสังคมนั้นๆ กล่าวโดยทั่วไปการอนุรักษ์ถือได้ว่าเป็น ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นปัญหาระดับชาติและ
ทางแห่งการดำ�เนินชีวิตเพราะมีส่วนเกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจและ ทวีความรุ่นแรงขึ้นทุกวันทำ�ให้เกิดภาวะโลกร้อนส่งผลกระทบต่อ
สั ง คมไม่ เ ฉพาะอย่ า งใดอย่ า งหนึ่ ง แต่ ทุ ก ๆ อย่ า งรวมกั น ซึ่ ง มี มวลมนุษยชาติและสิ่งมีชีวิตตลอดจนเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ
บทบาทต่อชีวิตมนุษย์เป็นอย่างมาก กระทบต่อระบบการพัฒนาเศรษฐกิจและประเทศชาติ (จริยา
มหาเทียร, 2559)
3. การบริหารจัดการ (Management)
การบริหารจัดการ (Management) หมายถึง กระบวนการ 4. แนวคิ ด การจั ด การทรั พ ยากรทางทะเลและ
ของการวางแผน (Planning) การจัดองค์กร (Organizing) ชายฝั่งอย่างมีส่วนร่วม
การนำ�และบังคับบัญชา (Leading) และการควบคุม (Control- การจัดการร่วม (Collaborative Management หรือ
ling) ทรัพยากรต่างๆ ขององค์กรเพื่อการบรรลุในเป้าหมาย Co-Management เพชรพร เจริญวินัย, 2554, น.17, อ้างใน
ที่กำ�หนดไว้ กรรณิการ์ นาคฤทธิ์, 2559, น.36) ได้ให้คำ�จำ�กัดความไว้ว่า

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
26 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 27
การจัดการร่วมหมายถึง การแบ่งปันอำ�นาจและความรับผิดชอบ พระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทาง
ระหว่างรัฐและผู้ใช้ทรัพยากรท้องถิ่นหรือวาระที่กำ�หนดให้ระบบ ทะเลและชายฝัง่ พ.ศ.2558 มาตรา 16 เพือ่ ส่งเสริมการมีสว่ นร่วม
รัฐรวมการควบคุมไว้กับท้องถิ่นกระจายอำ�นาจการตัดสินใจและ และสนับสนุนชุมชนชายฝัง่ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในการ
รั บ ผิ ด ชอบร่ ว มสิ่ ง ที่ เ ป็ น จุ ด แข็ ง และบรรเทาส่ ว นที่ เ ป็ น จุ ด อ่ อ น บริหารจัดการการปลูก การบำ�รุงรักษา การอนุรักษ์ การฟื้นฟู
ในแต่ละจุดด้วย นอกจากนีก้ ารจัดการร่วมยังหมายถึง การแบ่งปัน และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งให้กรม
การรั บ ผิ ด ชอบสิ ท ธิ ห น้ า ที่ ร ะหว่ า งผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย ปฐมภู มิ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งพิจารณาให้ความช่วยเหลือหรือ
โดยเฉพาะระหว่างชุมชนท้องถิ่นและรัฐ โดยต้องมีกระบวนการ สนับสนุนในการจัดทำ�นโยบายและแผนให้คำ�ปรึกษา ให้ความรู้
กระจายอำ�นาจการตัดสินใจให้ท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมเท่าเทียม ข่าวสารและเรื่องอื่นๆ อันเป็นประโยชน์ต่อการบริหารจัดการ
กับรัฐซึ่งแสดงกลุ่มของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและการจัดการร่วม ทรัพยากรฯ เนื้อความตาม พ.ร.บ. มาตรา 16 สอดคล้องเป็น
ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรชายฝั่งอันเนื่องมาจากวิถี แนวทางเดียวกันกับโครงการบทบาทชุมชนในการบริหารจัดการ
ความสัมพันธ์การผลิตและการใช้ประโยชน์ทรัพยากรนำ�ไปสู่การ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ ซึง่ โครงการนีไ้ ด้เล็งเห็นความสำ�คัญ
ก่อตัวของชุมชนในการเข้ามามีบทบาทจัดการทรัพยากรในรูปแบบ ของชุมชนชายฝัง่ ว่าเป็นกลไกหลักทีจ่ ะเป็นตัวขับเคลือ่ นให้เกิดการ
ต่างๆ ภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง บริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรที่ ดี ทั้ ง นี้ มี เ ป้ า ประสงค์ ใ นการพั ฒ นา
โดยเฉพาะภาครัฐและองค์กรพัฒนาเอกชนทำ�ให้สามารถนำ�ไปสู่ ศักยภาพของชุมชนในการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมโดย
การจัดการทรัพยากรของชุมชนที่เป็นระบบเป็นรูปธรรมและคืน ชุมชนเอง ชุมชนจะต้องทราบว่าในท้องถิ่นตนเองมีอะไรอยู่บ้าง
ความสมบู ร ณ์ แ ก่ ร ะบบนิ เ วศชายฝั่ ง ซึ่ ง แนวทางในการจั ด การ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงอย่ า งไรมี ผ ลกระทบต่ ออะไรบ้ า งแล้ ว จะแก้
ทรัพยากรชายฝัง่ แบบยัง่ ยืนโดยการมีสว่ นร่วมของชุมชนควรมีการ อย่างไร ชุมชนสามารถกำ�หนดมาตรการในการบริหารจัดการ
ประสานความร่วมมือจากภาคส่วนต่างๆ เพื่อร่วมสร้างความ อันจะเป็นการใช้ประโยชน์หรือการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
เข้มแข็งให้กบั องค์กรชุมชนให้สามารถพึง่ ตนเองสนับสนุนให้ชมุ ชน และสิง่ แวดล้อมในท้องถิน่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึง่ เจ้าหน้าทีก่ รม
เข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มในการจั ด การทรั พ ยากรชายฝั่ ง อย่ า งยั่ ง ยื น ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจะเป็นผู้ให้คำ�ปรึกษาให้ความรู้
ส่งเสริมการเรียนรู้ถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนประสบการณ์และร่วม ข่าวสารและช่วยเหลือสนับสนุนตามความเหมาะสม (สมพงค์
สืบสานภูมิปัญญาพัฒนาองค์ความรู้ในการจัดการทรัพยากรและ บันติวิวัฒน์กุล, 2552)
การดำ�รงชีวิต รวมทั้งการสนับสนุนจากภาคีองค์กรที่เกี่ยวข้อง
ทั้งภาครัฐและเอกชน (จิราพร โชติพานิช, 2556)

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
28 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 29
5. แนวคิดชุมชนกับการจัดการทรัพยากรประมง การมีสว่ นร่วมของชุมชนในการจัดการทรัพยากร หมายถึง
ข้ อ มู ล พื้ น ฐานและปั ญ หาการประกอบอาชี พ ของชาว การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการเขตอนุรักษ์สัตว์น้ำ�โดย
ประมงพื้นบ้านด้านข้อมูลฐานเทศบาลตำ�บลพุมเรียงเป็นชุมชน ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจแสดงความคิดเห็นการใช้
ประมงชายฝั่งด้านตะวันออกของอำ�เภอไชยาเหนือสุดของอ่าว ประโยชน์การดูแลรักษาเพื่อให้ความเป็นอยู่ของชุมชนดีขึ้นโดย
บ้านดอน มีการตั้งชุมชนบริเวณปากคลองพุมเรียง ประชาชน ผ่ า นเวที ป ระชาคมและร่ ว มกั น วางกฎระเบี ย บในการจั ด การ
ส่วนใหญ่เป็นชาวพุทธและชาวมุสลิม มีวฒ ั นธรรมประเพณีทสี่ �ำ คัญ ทรัพยากรร่วมกันของชุมชนเพือ่ ให้สามารถใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
ได้แก่ เทศกาลวันฮารีรายอ ผ้าไหมพุมเรียง มวยไชยาและผัดไทย นั้นได้อย่างยาวนาน (อรทัย หนูสงค์, 2560)
ไชยา สถานการณ์ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน วิ ถี ชี วิ ต ของชาวประมงพื้ น บ้ า นนั้ น มี ค วามสอดคล้ อ ง
พื้นที่การเฝ้าระวังการใช้เครื่องมือที่ผิดกฎหมายและทำ�ลายล้าง ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงภายใต้เงื่อนไขความรู้และคุณธรรม
ในการประกอบอาชีพประมงพื้นบ้านปัญหาการประกอบอาชีพ แต่ยังไม่ครอบคลุมในทุกมิติเนื่องจากในการทำ�ประมงนั้นชาว
ประมงพื้นบ้าน ได้แก่ ปัญหาปัจจัยการผลิต วิทยาการสมัยใหม่ ประมงพื้นบ้านยังขาดความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องต่อการใช้
จำ�นวนทรัพยากรสัตว์น้ำ� การฟื้นฟูอนุรักษ์และดูแลทรัพยากร ประโยชน์ของทรัพยากรสัตว์น้ำ�อย่างยั่งยืนอีกทั้งปรากฏการณ์
ชายฝั่งและความไม่ชัดเจนเรื่องเขตแดนในทะเลด้านการกำ�หนด น้�ำ เบียดน้�ำ กนซึง่ ส่งผลต่อวิถชี วี ติ ของชาวประมงพืน้ บ้าน ทัง้ นีค้ วร
ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพของชาวประมงพื้นบ้านพบว่า มีการสร้างเครือข่ายในการเฝ้าระวังสถานการณ์น้ำ�และหน่วยงาน
ยุ ท ธศาสตร์ ก ารอนุ รั ก ษ์ แ ละฟื้ น ฟู ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง ทางภาครัฐควรมีการจัดอบรมให้ความรู้เพื่อสร้างความตระหนัก
แวดล้อม ได้แก่ การอนุบาลสัตว์น�้ำ และปลูกป่าชายเลน การสร้าง ต่อการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน (ศิริพรรณ หุตะโชค และคณะ,
ความเข้มแข็งของเครือข่ายการจัดการทรัพยากรชายฝั่งโดยวิถี 2562)
ประมงพืน้ บ้านยุทธศาสตร์การพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วชุมชน ได้แก่ การจัดการทรัพยากรประมงเชิงระบบนิเวศคือหนทางหนึง่
การสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ในการพัฒนาการท่องเที่ยวสีเขียว ของการปฏิบตั ใิ นการนำ�หลักการจัดการอย่างยัง่ ยืนไปทำ�ให้เกิดผล
ของชุมชน ยุทธศาสตร์ถ่ายทอดความรู้ด้านโฉนดทางทะเล ได้แก่ สำ�หรับการจัดการประมงโดยการหาสมดุลระหว่างความอุดม
การถ่ายทอดความรู้ด้านโฉนดทางทะเล ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการ สมบูรณ์ของระบบนิเวศและความเป็นอยู่ที่ดีของมนุษย์ด้วยหลัก
วิจัยและพัฒนาการ (อติกานต์ วิชิต, 2559) ธรรมาภิบาล (นายอิสระ ชาญราชกิจ และคณะ, 2563, น.16)

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
30 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 31
6. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง องค์ประกอบทั้ง 4 ส่วนนี้ จะมีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน
ทฤษฎีเชิงระบบ ผู้วิจัยได้ใช้ทฤษฎีระบบวิเคราะห์ผล ดังภาพที่ 2 วิธีการระบบที่ดีต้องเป็นการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยู่
การวิจัย จึงต้องศึกษาทฤษฎีระบบ ดังนี้ มาใช้อย่างประหยัด เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม และสถานการณ์
ระบบ คือ ภาพส่วนรวมของโครงสร้างหรือของขบวนการ เพื่อให้การทำ�งานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุเป้าหมาย
อย่างหนึ่งที่มีการจัดระเบียบความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบ ที่วางไว้ถ้าระบบใดมีผลผลิต ทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพมาก
ต่างๆ ที่รวมกันอยู่ในโครงการหรือขบวนการนั้น กว่าข้อมูล วัตถุดิบที่ป้อนเข้าไป ก็ถือได้ว่าเป็นระบบที่มีคุณภาพ
ในทางตรงข้ามถ้าระบบมีผลผลิตที่ต่ำ�กว่าข้อมูลวัตถุดิบที่ไปใช้
ข้อมูลย้อนกลับ ก็ถือว่าระบบนั้นมีประสิทธิภาพต่ำ�
(Feedback)
ลักษณะสำ�คัญของวิธีระบบ 
โครงการ ผลสัมฤทธิ์ RESULTS 1. เป็นการทำ�งานร่วมกันเป็นคณะของบุคคลที่เกี่ยวข้อง
วัตถุประสงค์
OBJECTIVES
ปัจจัยนำ�เข้า
INPUT
กิจกรรม
PROCSESSES
ผลผลิต
OUTPUTS
ผลลัพธ์
OUTCOMES
ในระบบนั้นๆ 
2. เป็นการแก้ปัญหาโดยการใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 
ความประหยัด ความมีประสิทธิภาพ 3. เป็นการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างเหมาะสม 
ความมีประสิทธิผล 4. เป็นการแก้ปญ ั หาใหญ่ โดยแบ่งออกเป็นปัญหาย่อยๆ
ภาพที่ 2 ความสัมพันธ์ของทฤษฎีระบบ เพื่ อ สะดวกในการแก้ ปั ญ หาอั น จะเป็ น ผลให้ แ ก้ ปั ญ หาใหญ่ ไ ด้
ที่มา: สำ�นักปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 2558
สำ�เร็จ 
5. มุ่งใช้การทดลองให้เห็นจริง 
ระบบ เป็นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทีใ่ ช้ในการวางแผน 6. เลื อ กแก้ ปั ญ หาที่ พ อจะแก้ ไ ขได้ แ ละเป็ น ปั ญ หาเร่ ง
และดำ�เนินการต่างๆ เพือ่ ให้บรรลุผลตามจุดมุง่ หมายทีก่ �ำ หนดไว้ ด่วนก่อน 
ระบบมีองค์ประกอบที่สำ�คัญ 4 ประการ คือ  องค์ประกอบของระบบ
1. ข้อมูลวัตถุดิบ (Input) ไม่ว่าจะเป็นระบบใดก็ตาม จะประกอบด้วย 3 ส่วนคือ 
2. กระบวนการ (Process) 1. สิ่งที่ป้อนเข้าไป (Input) หมายถึง สิ่งต่างๆ ที่จำ�เป็น
3. ผลผลิต (Output) ต้องใช้ในกระบวนการหรือโครงการต่างๆ เช่น ระบบการเรียน
4. การตรวจผลย้อนกลับ (Feedback) การสอนในชั้นเรียน ได้แก่ ครู นักเรียน ชั้นเรียน หลักสูตร

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
32 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 33
ตารางสอน วิธกี ารสอน เป็นต้น ถ้าในเรือ่ งระบบหายใจ อาจได้แก่ ขั้นตอนของการวิเคราะห์ระบบ
จมูก ปอด กระบังลม อากาศ เป็นต้น 1. ปัญหา (Identify Problem)
2. กระบวนการหรือการดำ�เนินงาน (Process) หมายถึง 2. จุดมุ่งหมาย (Objectives) 
การนำ � เอาสิ่ ง ที่ ป้ อ นเข้ าไปมาจั ด กระทำ �ให้ เ กิ ด ผลบรรลุ ต าม 3. ศึกษาข้อจำ�กัดต่างๆ (Constraints)
วัตถุประสงค์ที่ต้องการ เช่น การสอนของครู หรือการให้นักเรียน 4. ทางเลือก (Alternatives)
ทำ�กิจกรรม เป็นต้น 5. การพิจารณาทางเลือกที่เหมาะสม (Selection) 
3. ผลผลิตหรือการประเมินผล (Output)  หมายถึง 6. การทดลองปฏิบัติ (Implementation) 
ผลที่ได้จากการกระทำ�ในขั้นที่สอง ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 7. การประเมินผล (Evaluation) 
ของนักเรียน หรือผลงานของนักเรียน เป็นต้น  8. การปรับปรุงแก้ไข (Modification)
ผลที่ได้จากการกระทำ�ในขั้นที่สอง การวิเคราะห์ระบบ
(System Analysis) เป็นวิธีการนำ�เอาผลที่ได้ ซึ่งเรียกว่า ข้อมูล ขั้นตอนของการวิเคราะห์ระบบ (System Analysis)
ย้อนกลับ (Feed Back) จากผลผลิตหรือการประเมินผลมา ประกอบด้วย 8 ขั้นตอน ดังนี้
พิจารณาปรับปรุงระบบให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ขั้นที่ 1  ขั้นตั้งปัญหาหรือกำ�หนดปัญหา ในขั้นนี้ต้อง
การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) ศึกษาให้ถ่องแท้เสียก่อนว่าอะไรคือปัญหาที่ควรแก้ไข
ทำ�หลังจากผลที่ได้ออกมาแล้ว เป็นการปรับปรุงระบบ ขั้นที่ 2  ขั้นกำ�หนดเป้าหมายหรือวัตถุประสงค์เพื่อการ
การทำ�งานให้มีประสิทธิภาพขึ้น ข้อมูลที่ได้จากการประเมินผล แก้ไขปัญหานั้นๆ ว่าจะให้ได้ผลในทางใด มีปริมาณและคุณภาพ
และมาใช้แก้ไขข้อบกพร่องในส่วนต่างๆ หรือการดูขอ้ มูลย้อนกลับ เพียงใดซึ่งการกำ�หนดวัตถุประสงค์นี้ควรคำ�นึงถึงความสามารถ
(Feedback) ดังนั้นการนำ�ข้อมูลย้อนกลับมาใช้ในการวิเคราะห์ ในการปฏิบัติและออกมาในรูปการกระทำ�
ระบบจึงเป็นส่วนสำ�คัญของวิธีระบบ (System Approach) ขั้นที่ 3  ขั้นสร้างเครื่องมืดวัดผล การสร้างเครื่องมือนี้
ซึ่งจะขาดองค์ประกอบนี้ไม่ได้ มิฉะนั้นจะไม่ก่อให้เกิดการแก้ จะสร้างหลังจากกำ�หนดวัตถุประสงค์แล้วและต้องสร้างก่อนการ
ปัญหาได้ตรงเป้าหมายและการปรับปรุงที่มีประสิทธิภาพ ทดลองเพื่อจะได้ใช้เครื่องมือนี้วัดผลได้ตรงตามเวลาและเป็นไป
ทุกระยะ

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
34 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 35
ขั้นที่ 4 ค้นหาและเลือกวิธีการต่างๆ ที่จะใช้ดำ�เนินการ 2. มีจุดหมายหรือเป้าประสงค์ (Purpose)
ไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ ควรมองด้วยใจกว้างและเป็นธรรมหลายๆ 3. มีการรักษาสภาพตนเอง (Self-Regulation)
แง่ หลายๆ มุม พิจารณาข้อดีข้อเสียตลอดจนข้อจำ�กัดต่างๆ 4. มีการแก้ไขตนเอง (Self-Correction)
ขัน้ ที่ 5 เลือกเอาวิธที ดี่ ที สี่ ดุ จากขัน้ ที่ 4 เพือ่ นำ�ไปทดลอง มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม (Interact with Environ-
ในขั้นต่อไป ment) ระบบทุกๆ ระบบจะมีปฏิสัมพันธ์ไม่ทางใดก็ทางหนึ่งกับ
ขั้นที่ 6  ขั้นการทำ�เองเมื่อเลือกวิธีการใดแล้วก็ลงมือ โลกรอบๆ ตัวของระบบ โลกรอบๆ ตัวนี้ เรียกว่า “สิ่งแวดล้อม”
ปฏิบตั ติ ามวิธกี ารนัน้ การทดลองนีค้ วรกระทำ�กับกลุม่ เล็กๆ ก่อน การทีร่ ะบบมีปฏิสมั พันธ์กบั สิง่ แวดล้อมนีเ้ อง ทำ�ให้ระบบดังกล่าว
ถ้าได้ผลดีจึงค่อยขยายการปฏิบัติงานให้กว้างขวางออกไป จะได้ กลายเป็นระบบเปิด (Open System) กล่าวคือ ระบบจะรับปัจจัย
ไม่เสียแรงงาน เวลา และเงินทองมากเกินไป นำ�เข้า (Inputs) จากสิ่งแวดล้อม ซึ่งอาจจะเป็นพลังงาน อาหาร
ขั้นที่ 7  ขั้นการวัดผลและประเมินผลเมื่อทำ�การทดลอง ข้อมูล ฯลฯ  ระบบจะจัด กระทำ� เปลี่ยนแปลง ปัจจัยนำ�เข้านี้
แล้วก็น�ำ เอาเครือ่ งมือวัดผลทีส่ ร้างไว้ในขัน้ ที่ 3 มาวัดผลเพือ่ นำ�ผล ให้เป็นผลผลิต (Output) แล้วส่งกลับไปให้สิ่งแวดล้อมอีกที่หนึ่ง
ไปประเมินดูว่าปฏิบัติงานสำ�เร็จตามเป้าหมายเพียงใด ยังมีสิ่งใด มีจดุ หมายหรือเป้าประสงค์ (Purpose) ระบบจะต้องมีจดุ มุง่ หมาย
ขาดตกบกพร่อง จะได้นำ�ไปปรับปรุงแก้ไข ทีช่ ดั เจนแน่นอนสำ�หรับตัวของมันเอง ระบบทีเ่ กิดขึน้ ตามธรรมชาติ
ขัน้ ที่ 8 ขัน้ การปรับปรุงและขยายการปฏิบตั งิ าน จากการ เช่น ระบบการดำ�เนินชีวิตของมนุษย์นั้นก็มีจุดมุ่งหมายสำ�หรับ
วัดผลและประเมินผลในขัน้ ที่ 7 ก็จะทำ�ให้เราทราบว่า การดำ�เนิน ตัวของระบบเองอย่างชัดเจนว่า “เพื่อรักษาสภาพการมีชีวิตไว้ให้
งานตามวิธกี ารทีแ่ ล้วมานัน้ ได้ผลตามวัตถุประสงค์ หรือไม่ เพียงใด ได้ดีที่สุด” จุดมุ่งหมายนี้ดูออกจะไม่เด่นชัดสำ�หรับเรานัก เพราะ
จะได้นำ�มาแก้ไขปรับปรุงจนกว่าจะได้ผลดีจึงจะขยายการปฏิบัติ เราไม่ใช่ผู้คิดสร้างระบบดังกล่าวขึ้นมาเอง 
หรือยึดถือเป็นแบบอย่างต่อไป มีการรักษาสภาพตนเอง (Self-Regulation) ลักษณะ
ลักษณะของระบบที่ดี  ที่สามของระบบ คือ การที่ระบบสามารถรักษาสภาพของตัวเอง
ระบบที่ดีต้องสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ให้อยู่ในลักษณะที่คงที่อยู่เสมอ  การรักษาสภาพตนเองทำ�ได้
(Efficiency) และมีความยั่งยืน (Sustainable) ต้องมีลักษณะ โดยการแลกเปลี่ยนอินพุทและเอาท์พุทกันระหว่างองค์ประกอบ
4 ประการคือ  ต่างๆ  ของระบบหรือระบบย่อย ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนคือ
1. มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม (Interact with Envi- ระบบย่อยอาหารของร่างกายมนุษย์ ซึง่ ประกอบด้วย องค์ประกอบ
ronment) ย่อยๆ หรือระบบย่อยต่างๆ เช่น ปาก น้�ำ ย่อย น้�ำ ดี หลอดอาหาร

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
36 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 37
กระเพาะอาหาร ฯลฯ มีการแก้ไขตนเอง (Self-Correction) 7. การจัดการความรู้ (Km) เพื่อให้ได้ความรู้ถูกต้อง
ลักษณะที่ดีของระบบ คือ มีการแก้ไขและปรับตัวเอง  ในการที่ ครบถ้ ว นผู้ วิ จั ยใช้ ท ฤษฎี ก ารจั ด การความรู้ ใ นการเก็ บ รวบรวม
ระบบมีปฏิสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมบางครั้งปฏิสัมพันธ์นั้นก็จะ ข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล
ทำ�ให้ระบบการรักษาสภาพตัวเองต้องย่ำ�แย่ไป ระบบก็ต้องมีการ การจั ด การความรู  ใ นองค  ก ร หมายถึ ง การรวบรวม
แก้ไขและปรับตัวเองเสียใหม่ ตัวอย่างเช่น การปฏิสมั พันธ์ระหว่าง องคความรูท มี่ อี ยูใ่ นองคกร ซึง่ กระจัดกระจายอยูใ่ นตัวบุคคลหรือ
ร่างกายกับอากาศหนาว (สภาพแวดล้อม) อาจจะทำ�ให้เกิดอาการ เอกสาร มาพัฒนาใหเป็นระบบ เพื่อใหทุกคนในองคกรสามารถ
หวัดขึ้นได้ ในสถานการณ์นี้ ถ้าระบบร่างกายไม่สามารถที่จะ เขาถึงความรู และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้
รักษาสภาพตัวเองได้อย่างดี ร่างกายก็จะสามารถปรับตัวเองเพื่อ อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะสงผลใหองคกรมีความสามารถในเชิง
ต่อสู้กับอาการหวัดนั้นโดยการผลิตภูมิคุ้มกันออกมาต้านหวัด แขงขันสูงสุด โดยที่ความรูมี 2 ประเภท คือ ความรูที่ฝงอยูในคน
ระบบเปิดและระบบปิด (Tacit Knowledge) เป็นความรูท ไี่ ด้จากประสบการณ์ พรสวรรค์
ระบบเปิด (Open System) คือ ระบบที่รับปัจจัยนำ�เข้า หรือสัญชาตญาณของแต่ละบุคคลในการทำ�ความเขาใจในสิ่ง
จากสิง่ แวดล้อมและขณะเดียวกันก็สง่ ผลผลิตกลับไปให้สงิ่ แวดล้อม ต่างๆ เป็นความรูที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำ�พูดหรือ
อีกครั้งหนึ่ง ตัวอย่างระบบเปิดทั่วๆ ไป เช่น ระบบสังคม ระบบ ลายลักษณอักษรได้โดยง่าย เชน ทักษะในการทำ�งาน งานฝมือ
การศึกษา ระบบหายใจ ฯลฯ หรื อ การคิ ด วิ เ คราะห์ ใ นบางครั้ ง จึ ง เรี ย กว  า เป็ น ความรู  แ บบ
ระบบปิด (Close System) คือ ระบบทีม่ ไิ ด้รบั ปัจจัยนำ�เข้า นามธรรม-ความรูที่ชัดแจง (Explicit Knowledge) เป็นความรู
จากสิ่งแวดล้อม หรือรับปัจจัยนำ�เข้าจากสิ่งแวดล้อมน้อยมากแต่ ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้โดยผ่านวิธีต่างๆ เชน การบันทึก
ขณะเดียวกัน ระบบปิดจะผลิตเอาท์พทุ ให้กบั สิง่ แวดล้อมด้วย เช่น เป็นลายลักษณอักษร ทฤษฎีคูมือต่างๆ และบางครั้งเรียกวาเป็น
ระบบของถ่านไฟฉายหรือระบบแบตเตอรี่ต่างๆ ตัวถ่านไฟฉาย ความรูแบบรูปธรรม
หรือแบตเตอรี่นั้นถูกสร้างขึ้นมาให้มีไฟฟ้าสะสมอยู่ในตัว ภายใน แนวคิดการจัดทำ�แผนการจัดการความรู (Knowledge
ก็มีระบบย่อยอีกหลายระบบที่ทำ�งานสัมพันธ์กันอย่างดี สามารถ Management Action Plan) ตามคูมือฉบับนี้ได้นําแนวคิดเรื่อง
ให้พลังงานไฟฟ้าออกมาได้โดยไม่ได้รับปัจจัยภายนอกเข้ามาเลย กระบวนการจัดการความรู (Knowledge Management Process)
ระบบปิดจะมีอายุสั้นกว่าระบบเปิด  เนื่องจากระบบปิดนั้นทำ� และกระบวนการบริ ห ารจั ด การการเปลี่ ย นแปลง (Change
หน้าที่เพียงแต่เป็น “ผู้ให้” เท่านั้น  Management Process) มาประยุกตใชในการจัดทำ�แผนการ

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
38 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 39
จัดการความรู (KM Action Plan) คูมือการจัดการความรู: 6. การแบงปนแลกเปลีย่ นความรู– ทําไดหลายวิธกี าร โดย
จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ กรณีเปน Explicit Knowledge อาจจัดทําเปนเอกสาร, ฐาน
กระบวนการจัดการความรู (Knowledge Management ความรู, เทคโนโลยีสารสนเทศหรือกรณีเปน Tacit Knowledge
Process) กระบวนการจัดการความรู (Knowledge Management อาจจัดทําเปนระบบทีมขามสายงาน, กิจกรรมกลุมคุณภาพและ
Process) เป็นกระบวนการแบบหนึ่งที่จะช่วยใหองคกรเขาใจถึง นวัตกรรม, ชุมชนแหงการเรียนรู, ระบบพีเ่ ลีย้ ง, การสับเปลีย่ นงาน,
ขั้นตอนที่ทำ�ใหเกิดกระบวนการจัดการความรู หรือพัฒนาการ การยืมตัว, เวทีแลกเปลี่ยนความรู เปนตน
ของความรูที่จะเกิดขึ้นภายในองคกร ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน 7. การเรียนรู–ควรทําใหการเรียนรูเปนสวนหนึ่งของงาน
ดังนี้ เชน เกิดระบบการเรียนรูจากการสรางองคความรู นําความรูไปใช
1. การบงชี้ความรู–เชนพิจารณาว่าวิสัยทัศน/พันธกิจ/ มากกว่า เกิดจากการเรียนรูแ ละประสบการณใ หมห มุนเวียนตอ ไป
เป้าหมาย คืออะไร และเพื่อใหบรรลุเป้าหมายเราจำ�เป็นตองรู อยางตอเนื่อง
อะไร, ขณะนี้เรามีความรูอะไรบาง, อยู่ในรูปแบบใด, อยู่ที่ใคร กระบวนการบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลง (Change
2. การสร้างแล้วแสวงหาความรู– เชน การสร้างความรูใ หม่ Management Process) เป็นกรอบความคิดแบบหนึ่งเพื่อให
แสวงหาความรูจากภายนอก, รักษาความรูเกา, กําจัดความรูที่ องคกรที่ตองการจัดการความรูภายในองค์กรมุ้งเน้นถึงปัจจัย
ไม่ใช้แล้ว แวดลอมภายในองคกร ที่จะมีผลกระทบตอการจัดการความรู
3. การจัดความรูใหเป็นระบบ–เป็นการวางโครงสร้าง ประกอบด้วย 6 องคประกอบ ดังนี้
ความรู เพื่อเตรียมพรอมสำ�หรับการเก็บความรูอย่างเปนระบบ 1. การเตรียมการและปรับเปลีย่ นพฤติกรรม-เชน กิจกรรม
ในอนาคต การมีส่วนร่วมและสนับสนุนจากผู้บริหาร (ที่ทุกคนมองเห็น),
4. การประมวลและกลั่ น กรองความรู  – เช น ปรั บ ปรุ ง โครงสร้างพืน้ ฐานขององคกร, ทีม/หน่วยงานทีร่ บั ผิดชอบ, มีระบบ
รูปแบบเอกสารใหเป็นมาตรฐาน, ใชภ าษาเดียวกัน, ปรับปรุงเนือ้ หา การติดตามและประเมินผล, กำ�หนดปัจจัยแห่งความสำ�เร็จชัดเจน
ใหสมบูรณ 2. การสื่อสาร–เชน กิจกรรมที่ทำ�ใหทุกคนเข้าใจถึงสิ่งที่
5. การเขาถึงความรู–เป็นการทำ�ใหผู้ใชความรูนั้นเขาถึง องค์ ก รจะทำ � ประโยชน ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น กั บ ทุ ก คนให้ แ ต่ ล ะคนจะมี
ความรูท ตี่ อ งการได้งา่ ยและสะดวก เชน ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่วนร่วมได้อย่างไร
(IT), Web board, บอรดประชาสัมพันธ์เป็นต้น

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
40 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 41
3. กระบวนการและเครื่องมือ-ช่วยให้การคนหา เข้าถึง 8. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนความรูสะดวกรวดเร็วขึ้น โดยการเลือก สุรินทร์ภรณ์ ศรีอินทร์และอัจฉรา ศรีพันธ์, (2561)
ใช้กระบวนการและเครื่องมือขึ้นกับชนิดของความรู้ลักษณะของ ได้วิจัยเรื่องการจัดการความรู้ของชุมชนเพื่อการจัดการทรัพยากร
องคก ร (ขนาด, สถานทีต่ งั้ ฯลฯ), ลักษณะการทำ�งาน วัฒนธรรม ป่าชายเลนพบว่า 1) ชุมชนมีการจัดการทรัพยากรป่าชายเลน
องค์กร, ทรัพยากร 3 วิธี คือ การปลูกป่าชายเลน การปล่อยพันธุส์ ตั ว์น� ้ำ และกำ�หนด
4. การเรียนรูเ้ พือ่ ความเขา ใจและตระหนักถึงความสำ�คัญ กฎระเบียบป่าชายเลน 2) กระบวนการจัดการความรู้ของชุมชน
และหลักการของการจัดการความรู้ โดยการเรียนรูต้ อ้ งพิจารณาถึง ประกอบด้วย 12 ขัน้ ตอน คือการกำ�หนดหัวข้อความรู้ การแสวงหา
เนื้อหา, กลุ่มเป้าหมาย, วิธีการ, การประเมินผลและปรับปรุง ความรู้ การสร้างความรู้ การจัดความรู้ให้เป็นระบบ การประมวล
5. การวั ด ผล–เพื่ อให้ ท ราบว่ า การดำ � เนิ น การได้ บ รรลุ และกลัน่ กรองความรู้ การเข้าถึงความรู้ การแลกเปลีย่ นและแบ่งปัน
เป้าหมายที่ตั้งไวหรือไม่ มีการนำ�ผลของการวัดมาใช้ในการปรับ- ความรู้ การถ่ายโอนความรู้ การเรียนรู้ การนำ�ความรู้ไปใช้ในการ
ปรุงแผนและการดำ�เนินงานให้ดขี นึ้ มีการนําผลการวัดมาใชในการ จัดเก็บความรู้ และการประเมินผลความรู้ 3) ปัจจัยสนับสนุน
สื่อสารกับบุคลากรในทุกระดับให้เห็นประโยชน์ของการจัดการ การจัดการความรู้ ประกอบด้วย 17 ปัจจัย คือ การมีส่วนร่วม
ความรู  และการวั ด ผลต  อ งพิ จ ารณาด้ ว ยว่ า จะวั ด ผลอย่ า งไร ของสมาชิก ลักษณะกิจกรรมการเรียนรู้ การมีเป้าหมายและ
ขั้นตอนไหน ได้แก่ วัดระบบ (System), วัดที่ผลลัพธ์ (Out Put) ผลประโยชน์รว่ มกัน ผูน้ �ำ และภาวะผูน้ � ำ โอกาสในการแลกเปลีย่ น
หรือวัดที่ประโยชนที่จะได้รับ (Out Come) เรี ย นรู้ ที ม ขั บ เคลื่ อ นการจั ด การความรู้ การบริ ห ารจั ด การ
6. การยกยองชมเชยและใหรางวัล-เป็นการสร้างแรงจูงใจ การติดต่อสื่อสารของคนในชุมชน องค์ความรู้และทักษะของคน
ใหเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและการมีส่วนร่วมของบุคลากร ในชุมชนความสัมพันธ์ของสมาชิกในชุมชน วัฒนธรรมของชุมชน
ในทุกระดับ โดยขอควรพิจารณา ได้แก่ ความตอ งการของบุคลากร, การยกย่อง ชมเชย และให้รางวัล การวัดและประเมินผล โครงสร้าง
แรงจูงใจระยะสั้นและระยะยาว, บูรณาการกับระบบที่มีอยู่ปรับ ของชุมชน ประวัติศาสตร์การต่อสู้ของชุมชน การสนับสนุนจาก
เปลีย่ นให้เข้ากับกิจกรรมทีท่ �ำ ในแต่ละช่วงเวลา (สำ�นักงาน ก.พ.ร. หน่วยงานภายนอก และเทคโนโลยีสารสนเทศ
และสถาบันเพิ่มผลผลิตแหงชาติ, 2548) จิราพร โชติพานิช, ณฐพงศ์ จิตรนิรัตน์, และประมาณ
เทพสงเคราะห์, (2556) ได้วิจัยเรื่องการจัดการทรัพยากรชายฝั่ง
โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน: กรณีศึกษาชุมชนบากันเคย ตำ�บล

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
42 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 43
ตันหยงโป อำ � เภอเมือง จัง หวัดสตูล ผลการวิ จั ย พบว่ า การ การประสานความร่วมมือจากภาคส่วนต่างๆ เพื่อร่วมสร้างความ
ศึกษาแนวทางการจัดการทรัพยากรชายฝั่งโดยการมีส่วนร่วมของ เข้มแข็งให้กบั องค์กรชุมชนให้สามารถพึง่ ตนเอง สนับสนุนให้ชมุ ชน
ชุมชน: กรณีศึกษาชุมชนบากันเคยตำ�บลตันหยงโป อำ�เภอเมือง เข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มในการจั ด การทรั พ ยากรชายฝั่ ง อย่ า งยั่ ง ยื น
จังหวัดสตูล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการตั้งถิ่นฐานของชุมชน ส่งเสริมการเรียนรู้ ถ่ายทอด และแลกเปลี่ยนประสบการณ์และ
ที่สัมพันธ์กับการใช้ประโยชน์ทรัพยากรชายฝั่งและศึกษาแนวทาง ร่วมสืบสานภูมปิ ญ ั ญา พัฒนาองค์ความรูใ้ นการจัดการทรัพยากร
การจัดการทรัพยากรชายฝั่งของชุมชน และผลที่เกิดขึ้นสามารถ และการดำ�รงชีวติ รวมทัง้ การสนับสนุนจากภาคี องค์กรทีเ่ กีย่ วข้อง
พัฒนาเป็นข้อเสนอแนะสำ�หรับการจัดการทรัพยากรชายฝั่งที่ ทั้งภาครัฐและเอกชน
เหมาะสม การวิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการเก็บ นางสาวกรรณิการ์ นาคฤทธิ,์ (2559) ได้ท�ำ สารนิพนธ์เรือ่ ง
รวบรวมข้อมูลจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและภาคสนาม การศึกษารูปแบบการจัดการทรัพยากรประมงชายฝั่งของชุมชน
จากการสัมภาษณ์ การสังเกตแบบมีส่วนร่วมและไม่มีส่วนร่วม ประมงพื้นบ้าน กรณีศึกษาธนาคารปูม้า ชุมชนคลอง อบต.
การสำ�รวจชุมชนวิเคราะห์และนำ�เสนอด้วยข้อมูลแบบพรรณนา หมู่ที่ 4 ตำ�บลบางแก้ว อำ�เภอบ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี
ตามวัตถุประสงค์ ผลการศึกษาพบว่าการตั้งถิ่นฐานของชุมชน ผลการศึกษาพบว่า (1) การตั้งถิ่นฐานของชุมชนสัมพันธ์กับ
สัมพันธ์กบั ลักษณะภูมนิ เิ วศและการใช้ประโยชน์ทรัพยากรชายฝัง่ ลักษณะภูมนิ เิ วศและการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรประมงชายฝัง่
สำ�หรับการประกอบอาชีพประมง และมีวิวัฒนาการของการตั้ง เพื่อประกอบอาชีพประมง โดยมีพัฒนาการของการตั้งถิ่นฐาน
ถิ่นฐานการใช้ประโยชน์ทรัพยากรที่แตกต่างกันออกไปในแต่ละ เพือ่ ใช้ประโยชน์ทรัพยากรที่แตกต่างกันออกไปในแต่ละยุค ซึง่ นำ�
ยุคสมัย ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรชายฝั่งอันเนื่องมาจากวิถี ความเสื่อมโทรมมายังทรัพยากรประมงชายฝั่ง เนื่องจากวิถีความ
ความสัมพันธ์การผลิต และการใช้ประโยชน์ทรัพยากร นำ�ไปสูก่ าร สั ม พั น ธ์ การผลิ ต และการใช้ ป ระโยชน์ จ ากทรั พ ยากรทำ �ให้
ก่ อ ตั ว ของชุ ม ชนในการเข้ า มามี บ ทบาทจั ด การทรั พ ยากรใน ชาวบ้านและชุมชนเกิดความตระหนักและเข้ามามีบทบาทในการ
รูปแบบต่างๆ ภายใต้การมีสว่ นร่วมของภาคส่วนต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง จัดการทรัพยากรของชุมชนภายใต้การมีส่วนร่วมของภาคส่วน
โดยเฉพาะภาครัฐและองค์กรพัฒนาเอกชน ทำ�ให้สามารถนำ�ไปสู่ ต่างๆ ทำ�ให้ชุมชนสามารถจัดการทรัพยากรของชุมชนอย่างเป็น
การจัดการทรัพยากรของชุมชนที่เป็นระบบ เป็นรูปธรรม และคืน ระบบและรูปธรรม โดยจัดตัง้ “ธนาคารปูมา้ ” ชาวประมงพืน้ บ้าน
ความสมบูรณ์แก่ระบบนิเวศชายฝั่ง ซึ่งแนวทางในการจัดการ ดำ�รงชีวิตโดยการพึ่งพาทรัพยากรประมงชายฝั่งเป็นหลัก (2)
ทรัพยากรชายฝั่งแบบยั่งยืน โดยการมีส่วนร่วมของชุมชนควรมี เนื่องจากชาวบ้านประกอบอาชีพประมงจึงมีความจำ�เป็นในการ

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
44 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 45
ใช้ทรัพยากรประมงชายฝั่ง ทรัพยากรประมงชายฝั่งที่ชาวประมง แคบทำ�ให้ไม่มีทางเลือกในการตั้งที่อยู่อาศัยหรือทางเลือกในการ
ใช้ประโยชน์มากที่สุด คือ “ปูม้า” เมื่อมีการใช้ทรัพยากรร่วมกัน ประกอบอาชีพมากนัก โดยชาวบ้านกลุ่มนี้อาศัยอยู่บริเวณนี้มา
จึงต้องมีการบริหารจัดการทรัพยากรเพื่อให้มีความสอดคล้องกับ เป็นเวลาช้านานตั้งแต่รุ่นปู่ย่าจนถึงรุ่นหลาน ยุคที่ 2 ยุคของการ
จำ�นวนเรือที่เพิ่มมากขึ้น การจัดตั้ง “ธนาคารปูม้า” เป็นรูปแบบ ขยายตัวของการทำ�ประมงพาณิชย์มีการทำ�ประมงขนาดใหญ่
หนึ่งของการจัดการทรัพยากรประมงชายฝั่ง ซึ่งมีกระบวนการ ใช้เครือ่ งมือในการทำ�ประมงทีม่ คี วามทันสมัยมากขึน้ และยุคที่ 3
จัดการและกิจกรรมการจัดการที่เป็นระบบขั้นตอนเพื่อให้บรรลุ ยุคแห่งการปรับตัว และการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติโดยมีการ
ตามเป้าหมายของธนาคารปูม้า โดยใช้แนวคิดเรื่องกระบวนการ ประชุ ม ร่ ว มกั น และเดิ น ทางไปศึ ก ษาดู ง านในพื้ น ที่ อื่ น ที่ มี ก าร
จัดการแนวคิดการจัดการร่วม หลักและแนวคิดในการจัดการ อนุ รั ก ษ์ เพื่ อ นำ � ความรู้ ก ลั บ มาพั ฒ นาชุ ม ชน ปี พ.ศ.2552
ทรัพยากรธรรมชาติ แนวคิดชุมชนกับการจัดการทรัพยากรประมง ได้เกิดการคิดค้นหลักการที่จะปรับในรูปแบบใหม่ๆ จึงทำ�ให้เกิด
โดยให้สทิ ธิชมุ ชนเป็นผูจ้ ดั การทรัพยากรของตนเอง ซึง่ ชุมชนมีผนู้ � ำ “ซั้งเชือก” ขึ้นหรือหญ้าทะเลพื้นบ้าน เป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน
ที่เข้มแข็งและชาวบ้านมีความเชื่อมั่นในตัวผู้นำ�ทำ�ให้ชาวบ้าน ที่มีมาแต่อดีต เป็นเครื่องมือดึงดูดสัตว์น้ำ�ให้มาอยู่รวมกันเป็น
ร่ ว มมื อ กั น จั ด การทรั พ ยากรในชุ ม ชนของตนเองพร้ อ มทั้ ง เกิ ด จำ�นวนมาก หลังจากชาวบ้านค้นพบวิธีการประมงรูปแบบใหม่
จิ ต สำ � นึ กในการรั ก ษาแหวงแหนทรั พ ยากรเพื่ อให้ มี อ ยู่ อ ย่ า ง ซึง่ ก็คอื การปักหลักหอย จึงเริม่ มีการทำ�ประมงโดยการน้�ำ ซัง้ เชือก
ต่อเนื่องและยั่งยืน หรือทุ่นปะการังเทียมไปทิ้งไว้ในทะเลเพื่อใช้เป็นแหล่งอาศัยและ
จุตนิ นั ท์ ขวัญเนตร, สิตางศ์ เจริญวงศ์ และเอือ้ มพร รุง่ ศิร,ิ แหล่งอนุบาลสัตว์น้ำ�ขนาดเล็ก การทำ�ประมงพื้นบ้านในปัจจุบัน
(2563) ได้ทำ�งานวิจัยเรื่องแนวทางการปรับตัวของชุมชนประมง ของตำ � บลหาดเล็ ก มี ก ารรวมกลุ่ ม กั น เพื่ อ อนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากร
พื้นบ้านเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนบริเวณ ธรรมชาติ ใ ห้ เ กิ ด ความยั่ ง ยื น ร่ ว มกั นในนามขององค์ ก รชุ ม ชน
ชายแดนไทย-กัมพูชา กรณีศกึ ษา: ตำ�บลหาดเล็ก อำ�เภอคลองใหญ่ ประมงท้องถิน่ ตำ�บลหาดเล็ก โดยชุมชนมีการวางแผนในการจัดการ
จังหวัดตราด และได้สรุปงานวิจัยพบว่าพัฒนาการของการทำ� และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติร่วมกัน อย่างไรก็ตาม การทำ�
ประมงพืน้ บ้านในบริเวณตำ�บลหาดเล็ก อำ�เภอคลองใหญ่ จังหวัด ประมงของชุ ม ชนในปั จ จุ บั น ยั ง ประสบปั ญ หาในเรื่ อ งของข้ อ
ตราดนั้นแบ่งออกเป็น 3 ยุค คือ ยุคที่ 1 ยุคผลิตเพื่อยังชีพ กำ�หนดของกฎหมายต่างๆ ที่มาจากพระราชบัญญัติการประมง
ชาวบ้ า นส่ ว นใหญ่ มี ที่ อ ยู่ อ าศั ย เป็ น ลั ก ษณะการผู ก บ้ า นเรื อ น ดั ง นั้ น จึ ง มี ค วามจำ � เป็ น ที่ จ ะต้ อ งมี ก ารปรั บ เปลี่ ย นข้ อ กำ � หนด
บริเวณชายฝั่งทะเล ส่วนพื้นที่ที่ติดกับชายฝั่งอ่าวไทยค่อนข้าง ในกฎหมายให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชนอย่างมีส่วนร่วม

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
46 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 47
เพื่อให้เกิดการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และความกินดีอยู่ดี พระใบฏีกาสุพจน์ ตปสีโล, (2556) ได้ทำ�วิจัยเรื่อง
ของชุมชน กระบวนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมขององค์กร
จักรี ศรีจารุเมธีญาณ และพระถนัด วฑฺฒโน ได้ทำ�งาน ชุมชนในจังหวัดอุบลราชธานี พบว่ากระบวนการจัดการในองค์กร
วารสารเรือ่ งภาวะผูน้ �ำ กับการพัฒนาชุมชนและได้สรุปว่าผูน้ �ำ เป็น ชุมชน คือ การมีส่วนร่วมในการทำ�งาน การยึดมั่นในอุดมการณ์
สิง่ ทีจ่ �ำ เป็นต่อการพัฒนาในระดับต่างๆ การพัฒนาในระดับชุมชน การวางแผนการทำ�งาน การเปิดโอกาสในการแสดงความคิดเห็น
ก็เช่นเดียวกัน ถ้าผูน้ �ำ มีคณุ สมบัตทิ พี่ งึ ประสงค์ สามารถใช้คณ ุ สมบัติ การมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน การถ่ายทอดแลกเปลี่ยนประสบการณ์ใน
ทีม่ อี ยูใ่ ห้เกิดประโยชน์ตอ่ การพัฒนาชุมชน สังคม จะเป็นการสร้าง การทำ�งาน ลักษณะการมีส่วนร่วม ได้แก่ การพูดคุยแลกเปลี่ยน
ความสุขหรือสร้างความสำ�เร็จให้เกิดขึ้น อำ�นาจของผู้นำ�จะต้องมี ความคิดเห็น การเรียนรู้จากประสบการณ์กับกลุ่มต่างๆ รวมทั้ง
การใช้ให้ถกู ต้องเพราะอำ�นาจเป็นสิง่ ทีส่ ร้างหายนะ หรือก่อให้เกิด ร่วมกันหาทางออกในการจัดการกับปัญหาด้วยความเข้าใจใน
อันตรายแก่ชมุ ชนได้ ชุมชนจะพบกับปัญหาในด้านต่างๆ ตามมา ระบบนิ เ วศ แนวทางพั ฒ นาวั ฒ นธรรมองค์ ก รชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น
การเลือกสรรผูน้ �ำ ของชุมชนสังคมก็เป็นสิง่ ทีม่ คี วามสำ�คัญอย่างยิง่ ในจังหวัดอุบลราชธานี คือ การทำ�งานเป็นทีม ความคิดสร้างสรรค์
คนทีเ่ ป็นผูน้ �ำ มักมีลกั ษณะบางอย่างทีเ่ ด่นกว่าผูต้ าม คนทีเ่ ป็นผูน้ � ำ เพิ่มศักยภาพสมาชิกในองค์กร เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงาน
มักเป็นคนทีม่ อี ทิ ธิพลเหนือผูอ้ นื่ ผูอ้ นื่ ยอมทำ�ตาม อีกทัง้ ผูต้ ามย่อม ภายในองค์กร การเรียนรู้และการเปิดรับวัฒนธรรมองค์กร การ
ได้นำ�เอาความประพฤติ ได้นำ�เอาแบบอย่างในการทำ�งาน ผู้ตาม เสริมแรงพฤติกรรม ซึ่งเป็นการแก้ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและ
บางคนถึงกับยอมถอดแบบผู้นำ� ลอกเลียนแบบอย่างของผู้นำ� การจัดการสิ่งแวดล้อมในจังหวัดอุบลราชธานีได้อย่างยั่งยืนสืบไป
การพัฒนาชุมชนประสบความสำ�เร็จ ทำ�ให้เห็นว่าผู้นำ�มีบทบาท และกระบวนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรมของ
ที่ชัดเจนในการทำ�ให้ชุมชนเกิดการเปลี่ยนแปลงไปสู่ความยั่งยืน องค์กรชุมชนในจังหวัดอุบลราชธานี มีรูปแบบวัฒนธรรมองค์กร
เป็นตัวอย่างให้ชุมชนอื่นๆ ได้ศึกษาเพื่อนำ�ความสำ�เร็จจากการ ข้อที่ 1 พบว่าองค์กรชุมชนในจังหวัดอุบลราชธานีมีกลุ่มที่ถือได้
พัฒนาที่มาจากผู้นำ�ไปประยุกต์ใช้กับชุมชน แต่ในขณะเดียวกัน ว่ า เป็ น ผู้ นำ � การเปลี่ ย นแปลงขององค์ กรชุ ม ชนในประเทศไทย
ต้องได้รับความร่วมมือจากคนในชุมชนที่จะต้องให้ความสำ�คัญ นั่นคือ กลุ่มแม่มูนมั่นยืน ที่เป็นการรวมกลุ่มประชาชนที่ได้รับ
และรับรู้ปัญหาที่กำ�ลังเกิดขึ้นกับชุมชนเพราะปัญหาชุมชนไม่ได้ ผลกระทบจากโครงการต่างๆ ของรัฐบาล เรียกร้องเงื่อนไขต่างๆ
เกิดขึ้นจากคนเพียงคนเดียว ทุกๆ คนทำ�ให้เกิดขึ้นก็ต้องช่วยกัน คอยประสานงานการประสานเครือข่ายระหว่างชาวบ้านปากมูล
คิดหาทางแก้พร้อมๆ กันต่อไป กับกลุ่มปัญหาอื่นๆ ได้แน่นแฟ้นมากขึ้น จนกระทั่งมีการก่อตั้ง

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
48 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 49
“สมัชชาคนจน” ขึ้นมาอย่างเป็นทางการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ บทที่ 3
เป็นจุดศูนย์รวมในการรณรงค์เคลื่อนไหวยื่นข้อเรียกร้องของกลุ่ม
เครือข่ายปัญหาต่างๆ ถึง 16 กรณี ได้แก่ เครือข่ายปัญหาเขื่อน
วิธีดำ�เนินการวิจัย
เครือข่ายปัญหาป่าไม้ กำ�กับดูแลกิจการขององค์กรเพื่อแสดงถึง
ทิศทางและกรอบการดำ�เนินการเพือ่ ยืน่ ข้อเสนอต่อรัฐบาลในนาม
สมัชชาคนจน
นายวิสุทธิ์ ทองย้อย, (2559) ได้ทำ�วิทยานิพนธ์เรื่อง
รูปแบบการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งร่วมในพื้นที่ การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ในการ
เขตอนุรกั ษ์สตั วน้�ำ วัยอ่อนสีห่ มูบ่ า้ น (เขตเล-เสบ้าน) จังหวัดตรัง ทำ�ประมงพื้นบ้านในพื้นที่ตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัด
พบว่าการตั้งกลุ่มประมงพื้นบ้านน้ำ�ราบบ้านควนตุ้งกู และบ้าน ปั ต ตานี ศึ ก ษาวิ ถี ชี วิ ต ของชาวประมงพื้ น บ้ า นในการอนุ รั ก ษ์
เกาะมุกด์ เกิดประโยชน์ต่อทั้งทรัพยากรและประชาชนในชุมชน ทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ ของตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริง่
โดยสามารถทำ �ให้ เ กิ ด เวที ห รื อ พื้ น ที่ ท างสั ง คมร่ ว มกั นในการ จังหวัดปัตตานี และศึกษารูปแบบการจัดการทรัพยากรทางทะเล
วิเคราะห์และหาทางออกอย่างเป็นระบบในการจัดการปัญหา และชายฝัง่ ของคนในชุมชนตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริง่ จังหวัด
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง นอกจากนี้ยังเป็นการเสริมสร้าง ปัตตานี โดยใช้วธิ วี จิ ยั เชิงคุณภาพ มีวธิ ดี �ำ เนินการวิจยั 3 ขัน้ ตอน
ให้คนในชุมชนได้เรียนรู้สิ่งต่างๆ เพื่อนำ�มาประยุกต์ใช้ในชุมชน คือ 1) การศึกษาจากเอกสาร 2) การศึกษาภาคสนาม 3) การ
ผ่านกระบวนการเข้าร่วมการสัมมนาประชุมนอกพื้นที่และศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผลการวิจัย ซึ่งมีรายละเอียดวิธีการวิจัย
ดูงาน เป็นต้น ดังนี้

1. การศึกษาจากเอกสาร
วิจัยในขั้นตอนนี้เป็นการศึกษาเอกสาร ได้แก่ ตำ�รา
บทความ ข้อมูลงานวิจยั และสือ่ ออนไลน์ทมี่ ผี จู้ ดั ทำ�ไว้แล้ว เพือ่ ทำ�
ความเข้าใจแนวคิดในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
โดยชุมชนที่มีความสัมพันธ์กับองค์ความรู้ วิถีชีวิตของชาวประมง
พื้นบ้านในพื้นที่ตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
50 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 51
ข้อมูลพืน้ ฐานทีศ่ กึ ษาจะเป็นข้อมูลทัว่ ไป องค์ความรูใ้ นพืน้ ทีข่ อ้ มูล 2.1.2 การกำ�หนดผูใ้ ห้ขอ้ มูลสำ�คัญเพือ่ การสัมภาษณ์
ด้านเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมจะมีองค์ประกอบที่สำ�คัญคือ แบบเจาะลึก (In-Depth Interview) ผู้วิจัยได้เข้าพบการนำ�ของ
องค์ ป ระกอบด้ า นการจั ด การอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรทางทะเลและ กลุ่ ม ต่ า งๆ เพื่ อ คั ด เลื อ กเป็ น ตั ว แทนที ม งานวิ จั ย และชี้ แ จง
ชายฝั่ง องค์ประกอบด้านเศรษฐกิจ องค์ประกอบด้านสังคมและ วัตถุประสงค์ของการวิจัย ได้มีการสำ�รวจรายชื่อผู้ให้ข้อมูลสำ�คัญ
การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมของชุมชน ด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง 10-15 คน เพื่อให้ได้ข้อมูลถูกต้อง
ทบทวนสมบูรณ์มากทีส่ ดุ ได้ก�ำ หนดเกณฑ์การคัดเลือกผูใ้ ห้ขอ้ มูล
2. การศึกษาภาคสนาม สำ�คัญต้องเป็นผู้ร่วมตัดสินใจในการดำ�เนินกิจกรรมต่างๆ ของ
การศึกษาวิจัยในขั้นตอนนี้ ประกอบด้วยกระบวนการ ชุมชนมีประสบการณ์ในการประกอบอาชีพประมงไม่น้อยกว่า
คัดเลือกกรณีศึกษา วิธีการวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย การเก็บ 20 ปี ในกลุ่มเครือข่ายองค์กรในการดำ�เนินการให้ประสบความ
รวบรวมข้อมูล การตรวจสอบและวิเคราะห์ขอ้ มูล ซึง่ มีรายละเอียด สำ�เร็จ ได้แก่ ผู้นำ�กลุ่มหรือผู้นำ�องค์กรชุมชน แกนนำ�ชาวประมง
ในการดำ�เนินการดังนี้  พื้นบ้าน ปราชญ์ชาวบ้านที่มีองค์ความรู้เฉพาะด้าน แกนนำ�กลุ่ม
2.1 การคัดเลือกกรณีศึกษา อาชีพ แกนนำ�จิตอาสา
ผูว้ จิ ยั ได้คดั เลือกพืน้ ทีศ่ กึ ษาตามวัตถุประสงค์แบบเจาะจง 2.2 วิธีการวิจัย
(Purposive Sampling) โดยการเลือกชุมชนในระดับตำ�บล ผู้วิจัยยึดหลักการของทฤษฎีการจัดการความรู้ รวบรวม
ที่ มี อ งค์ ค วามรู้ ด้ า นการประมงพื้ น บ้ า นวิ ถี ชี วิ ต และการจั ด การ องค์ความรู้ ในการทำ�ประมงพื้นบ้านในพื้นที่ตำ�บลแหลมโพธิ์
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี วิถีชีวิตของชาวประมงพื้นบ้าน
2.1.1 การคั ด เลื อ กชุ ม ชนในการวิ จั ย เป็ น ชุ ม ชน ศึกษาการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน ผู้วิจัย
ประกอบอาชีพประมงพืน้ บ้าน มีประสบการณ์ในการแก้ไขปัญหา ได้ใช้ 4 วิธีประกอบกัน คือ
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ ถูกทำ�ลายด้วยตนเอง ฟืน้ ฟูอนุรกั ษ์ 2.2.1 การศึกษาเอกสาร (Document Study) เป็น
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน ที่ส่งผลให้ การศึกษาเพือ่ ทำ�ความเข้าใจกับบริบทของชุมชน เช่น ข้อมูลพืน้ ฐาน
การดำ�รงชีวิตของคนในชุมชนได้ยังปกติสุขร่วมกัน จากการศึกษา ของชุมชน แผนที่ชุมชน จำ�นวนประชากร การประกอบอาชีพ
เอกสารข้อมูลที่มีผู้เก็บรวบรวมไว้แล้ว อาทิ ข้อมูลจากองค์การ เศรษฐกิจของชุมชน โครงสร้างพื้นฐาน การบริการการศึกษา
บริหารส่วนตำ�บลแหลมโพธิ์ ผู้วิจัยเลือกชุมชนประมงพื้นบ้าน สาธารณสุข การคมนาคม การติดต่อสือ่ สาร การรวมกลุม่ กิจกรรม
ในพื้นที่ตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ในการ และบทบาท รวมทั้งประวัติแกนนำ�ชุมชน ข้อมูลสถานการณ์การ
ศึกษาวิจัย เปลี่ยนแปลงของชุมชนในมิติต่างๆ ที่บันทึกเป็นเอกสาร

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
52 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 53
2.2.2 การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-Partic- 2.3.1 ตัวผูว้ จิ ยั ได้ศกึ ษาเอกสาร สังเกตปรากฏการณ์
ipant Observation) ผู้วิจัยลงพื้นที่สังเกตสภาพทั่วไปในชุมชน ในชุมชนและทำ�การโทรสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำ�คัญทุกคนด้วย
สังเกตวิถชี วี ติ ของชุมชน เช่น การประกอบอาชีพ การดำ�เนินกิจกรรม ตัวเอง โดยผู้วิจัยเน้นถึงความไม่มีอคติใดๆ ในการรวบรวมและ
ในแต่ละช่วงเวลา สันทนาการ การไปมาหาสู่ ปฏิกิริยาในการอยู่ สรุปข้อมูลเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป
ร่วมกันเพื่อใช้ประกอบเป็นข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากร 2.3.2 การสังเกตการวิจัยใช้วิธีการจดบันทึกลงใน
ทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชนในพื้นที่ สมุดบันทึก โทรศัพท์สมาร์ทโฟน ถ่ายภาพ ได้กำ�หนดแนวทาง
2.2.3 การสั ม ภาษณ์ แ บบเจาะลึ ก (In-Depth การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมเป็นการสังเกตปรากฏการณ์ต่างๆ
Interview) ผู้วิจัยสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำ�คัญ  ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ที่มองเห็น 1) สภาพทั่วไปของชุมชน 2) สังเกตกระบวนการ
โดยตรงกับองค์ความรูต้ า่ งๆ ในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและ เรียนรู้ด้วยตนเองชุมชน 3) สังเกตผลผลิตที่เกิดจากการจัดการ
ชายฝั่ง การประกอบอาชีพตามวิถีชีวิตของคนในชุมชน ข้อมูล ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน นำ�ข้อมูลที่ได้จากการ
ที่สัมภาษณ์เป็นข้อมูลรายละเอียดที่ไม่ปรากฏที่ใดมาก่อนและไม่ สังเกต เพิม่ เติมข้อมูลทีไ่ ด้จากการศึกษาเอกสาร รายการสัมภาษณ์
สามารถสังเกตเห็นได้ เพื่อนำ�ไปวิเคราะห์การจัดการทรัพยากร
แบบเจาะลึกผูใ้ ห้ขอ้ มูลสำ�คัญ เพือ่ ความสมบูรณ์ของข้อมูลสำ�หรับ
ทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
การวิเคราะห์ต่อไป
2.2.4 การสัมภาษณ์กลุ่ม (Group Interview)
2.3.3 การสัมภาษณ์  เป็นการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูล
เป็นการสัมภาษณ์กลุ่มแกนนำ�ชุมชน ที่มีส่วนเกี่ยวข้องโดยตรง
สำ�คัญอย่างไม่เป็นทางการผูว้ จิ ยั ได้ก�ำ หนดแนวทางการสัมภาษณ์
กับการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน รวมถึง
กระบวนการการจัดการทรัพยากรหลัก รวมถึงวิถชี วี ติ และองค์ความ คือ 1) ลักษณะทั่วไปของชุมชน 2) การรวมกลุ่มองค์กรในชุมชน
รู้ต่างๆ ที่ใช้ในการประกอบอาชีพและใช้เป็นแนวทางในการ 3) องค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับการทำ�ประมงชายฝั่ง
จัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ จากทีไ่ ด้ขอ้ มูลเบือ้ งต้นต่างๆ 4) แบบแผนการประกอบอาชีพประมงชายฝัง่ 5) การใช้ประโยชน์
แล้วเพื่อตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลอีกครั้งหนึ่ง  ร่วมกันจากการดูแลทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
2.3 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 2.4 การเก็บรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบและการ
ในการวิ จั ยผู้วิจัยได้ใช้เ ครื่องมือในการดำ � เนิ น การวิ จั ย วิเคราะห์ข้อมูล
โดยการศึกษาเอกสาร การสังเกตแบบไม่มสี ว่ นร่วม การสัมภาษณ์ 2.4.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล การตรวจสอบข้อมูล
แบบเจาะลึก ผูใ้ ห้ขอ้ มูลสำ�คัญดังทีก่ ล่าวมาแล้ว ในการดำ�เนินการ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนามด้วยตนเอง เพื่อให้ได้ข้อมูล
ดังกล่าวผู้วิจัยได้ใช้เครื่องมือในการวิจัยที่สำ�คัญ 3 ประการคือ ที่ถูกต้องครบถ้วนมากที่สุด ผูว้ ิจัยได้นำ�หลักและวิธกี ารของทฤษฎี

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
54 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 55
การจัดการความรู้มาใช้ในการจัดเก็บข้อมูลและจดบันทึกข้อมูล วิเคราะห์รูปแบบการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งรวมถึง
ด้วยสมุดบันทึก โทรศัพท์สมาร์ทโฟนบันทึกสียง และเพื่อให้บรรลุ วิถชี วี ติ ของชาวประมงพืน้ บ้าน และขอขอบคุณผูใ้ ห้การสัมภาษณ์
วัตถุประสงค์การวิจัย ผู้วิจัยได้ดำ�เนินการดังนี้   2.4.2 การตรวจสอบข้อมูล
1) ผู้วิจัยประสานขอความร่วมมือจากแกนนำ�กลุ่ม เมื่อได้รวบรวมข้อมูลด้วยวิธีต่างๆ ประกอบกันแล้ว
องค์กรในชุมชน และเข้าไปในชุมชนเพื่อสังเกตสภาพทั่วไปของ ก่อนเริม่ วิเคราะห์ขอ้ มูลในขัน้ ตอนต่อไป ผูว้ จิ ยั ได้ท�ำ การตรวจสอบ
ชุมชนก่อน ทำ�ความรูจ้ กั พืน้ ทีแ่ ละพบปะผูน้ �ำ ชุมชน แกนนำ�ชุมชน ข้อมูลก่อนเพื่อให้เกิดความมั่นใจในความเชื่อถือของข้อมูลเพื่อ
เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ของการวิจัยรวมถึงสร้างความสัมพันธ์และ ตรวจสอบความถูกต้องครบถ้วนที่นำ�มาวิเคราะห์และตอบปัญหา
ความคุน้ เคยระหว่างผูว้ จิ ยั กับผูน้ �
ำ แกนนำ�ชาวประมง และตัวแทน การวิจัยดังนี้ 
กลุ่มองค์กรต่างๆ ในพื้นที่ รวมทั้งการทำ�ความเข้าใจเรื่องการเก็บ 1) ตรวจสอบข้อมูลทีไ่ ด้จากการสัมภาษณ์ผใู้ ห้ขอ้ มูล
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการทำ�วิจัยและได้กำ�หนดกลุ่มเป้าหมายที่จะ สำ�คัญ โดยผู้วิจัยอ่านทบทวนข้อมูลจดบันทึกไว้ให้ผู้ให้ข้อมูล
เป็นผู้ร่วมทำ�การวิจัยในครั้งนี้ด้วย สำ�คัญฟังทำ�การปรับปรุงแก้ไขและเพิ่มเติมจนเป็นที่พอใจของผู้
2) ก่อนการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำ�คัญ ผู้วิจัยได้ ให้ข้อมูล
แนะนำ�ตนเอง สร้างความสัมพันธ์ความคุน้ เคย ชีแ้ จงวัตถุประสงค์ 2) การตรวจสอบแบบสามเส้าด้านข้อมูล (Data
ของการทำ�วิจยั รวมถึงหัวข้อในการสัมภาษณ์มคี วามสำ�คัญอย่างไร Triangulation) การเปรียบเทียบและตรวจสอบความแน่นอนของ
จากข้อมูลที่ได้สัมภาษณ์ เช่น  วิจัยมาทำ�อะไร จะเอาข้อค้นพบ ข้อมูลโดยนำ�ข้อมูลทีไ่ ด้มาเปรียบเทียบจากการรวบรวมข้อมูลจาก
จากการสัมภาษณ์ไปทำ�อะไร ทำ�ไมจึงต้องเลือกตำ�บลนี้ ประโยชน์ บุคคลหลายๆ คน ได้แก่ จากผู้ให้ข้อมูลสำ�คัญในชุมชน ผู้วิจัยทำ�
ที่ได้จากงานวิจัยฉบับนี้ รวมถึงการขออนุญาตจดบันทึกข้อมูล การรวบรวมข้อมูลโดยใช้การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกจากผูน้ �ำ ชุมชน
ทีไ่ ด้ ไม่วา่ จะเป็นการบันทึกเสียง การถ่ายภาพ และการทบทวนผล แกนนำ�ชุมชน แกนนำ�กลุ่มต่างๆ และสมาชิกที่เข้าร่วมกิจกรรม
สัมภาษณ์ รวมทั้งสรุปข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ ผู้ให้ข้อมูล อย่างสม่ำ�เสมอแล้วนำ�ข้อมูลที่ได้จากบุคคลหลายคนดังกล่าว
สำ�คัญได้รับทราบและตรวจสอบความถูกต้องอีกครั้ง แต่ละประเด็นว่าตรงกันหรือไม่ อย่างไร หรือสอดคล้องกันหรือไม่
3) ในการปิดสัมภาษณ์ผใู้ ห้ขอ้ มูลสำ�คัญวิจยั ชีแ้ จงผล อย่างไร ถ้าปรากฏว่าข้อมูลมีความแตกต่างกันผู้วิจัยได้ทำ�การ
ที่ได้จากการสัมภาษณ์ไปดำ�เนินการวิเคราะห์รูปแบบการจัดการ บันทึกแนะนำ�ไปสอบถามกลุม่ ผูน้ �ำ ชุมชนในขัน้ ตอนสัมภาษณ์กลุม่
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งและขอความอนุเคราะห์อีกครั้ง (Group Interview) อีกครั้งเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องตรงกันมาก
ในการสั ม ภาษณ์ ก ลุ่ ม เพื่ อ ตรวจสอบความถู ก ต้ อ งของผลการ ที่สุด

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
56 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 57
2.4.3 การวิเคราะห์ข้อมูล ข้อมูล โดยผู้วิจัยจำ�แนกข้อมูลที่วิเคราะห์ตามขั้นตอนเหตุการณ์
ในการวิเคราะห์ข้อมูลผู้วิจัยทำ�การวิเคราะห์ข้อมูล ต่อเนื่องกันไปจากอดีตจนถึงปัจจุบันการก่อตัวของปัญหาการ
แต่ละจุดประสงค์ดังนี้ รวมตัวของบุคคล กลุ่มองค์กรในชุมชนเพื่อจัดการทรัพยากร
2.4.3.1 ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 ผู้วิจัยได้ศึกษา ทางทะเลและชายฝั่งในรูปแบบต่างๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการลดลง
องค์ความรู้ 3 เรือ่ งคือ 1) ทิศทางลม 2) กระแสน้�ำ และน้�ำ ขึน้ น้�ำ ลง ของสั ต ว์ น้ำ � ที่ ก่ อให้ เ กิ ด การขาดแคลนรายได้ ใ นการดำ � รงชี วิ ต
3) ฤดูกาลของสัตว์น้ำ� โดยยึดหลักการทฤษฎีการจัดการความรู้ ประจำ � วั น เป็ น แนวทางการแก้ ไ ขปั ญ หารวมถึ ง การฟื้ น ฟู แ ละ
ในการศึกษาเอกสาร การสังเกต การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและการ อนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งซึ่งผู้วิจัยพิจารณาถึงความ
สัมภาษณ์กลุ่ม เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ของชุมชนในพื้นที่ตำ�บล สัมพันธ์กนั ระหว่างข้อมูลกระบวนการของปรากฏการณ์และความ
แหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี นำ�ข้อมูลที่ได้ประกอบ เป็นเหตุเป็นผลของปรากฏการณ์ สรุปเป็นรูปแบบการจัดการ
กันและใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการจำ�แนกชนิดของข้อมูล ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งในชุมชน โดยใช้ทฤษฎีระบบ
ที่วิเคราะห์ตามขั้นตอนเหตุการณ์ต่อเนื่องกันไป 1) ปัจจัยป้อน (Input) เหตุการณ์สำ�คัญของชุมชน
2.4.3.2 ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 ผู้วิจัยใช้ทฤษฎี ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ รวมถึง
การจัดการความรู้ ทำ�การศึกษาข้อมูลของวิถีชีวิตของชาวประมง วิถีชีวิตของชาวประมงพื้นบ้านในพื้นที่  ระบบนิเวศ เศรษฐกิจ
พื้นบ้านในการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งของตำ�บล สังคม ได้แก่ รายได้จากการประกอบอาชีพของคนในชุมชน
แหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริง่ จังหวัดปัตตานี ทีไ่ ด้จากการศึกษาเอกสาร ปริมาณสัตว์น้ำ� การใช้ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเพื่อการ
การสังเกต การสัมภาษณ์แบบเจาะลึกประกอบกันและใช้ในการ ประกอบอาชีพและสภาพของสังคมในชุมชน
วิเคราะห์ขอ้ มูล การจำ�แนกชนิดของข้อมูล โดยผูว้ จิ ยั จำ�แนกข้อมูล 2) กระบวนการ (Process) เป็นกระบวนการที่คน
ที่วิเคราะห์ตามขั้นตอนเหตุการณ์ต่อเนื่องกันไป ในชุ ม ชนร่ ว มกั น จั ด การทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝั่ ง ตั้ ง แต่
2.4.3.3 ตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 3 ผู้วิจัยได้ทำ�การ ในอดีตถึงปัจจุบัน เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น เช่น การรวมกลุ่ม
วิเคราะห์ข้อมูลการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดย การเรียนรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การถ่ายทอดองค์ความรู้ การ
ชุมชนในพื้นที่ตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รับรู้ปัญหา การร่วมกันคิดวิเคราะห์ การตัดสินใจร่วมกัน การแก้
ที่ได้จากการศึกษาเอกสาร การสังเกต การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ปัญหาและลงมือปฏิบัติ ในการดูแล รักษา ฟื้นฟูระบบนิเวศและ
ประกอบกันและใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการจำ�แนกชนิดของ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
58 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 59
3) ผลผลิต (Output) ผลผลิตทีเ่ กิดจากความร่วมมือ บทที่ 4
ร่วมใจกันของคนในชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝั่ง เช่น การจัดตั้งกลุ่มต่างๆ การออกกฎระเบียบของชุมชน
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการเรียกร้องการต่อสู้ กิจกรรมต่างๆ เพือ่ การอนุรกั ษ์ทรัพยากร
ทางทะเลและชายฝัง่ ระบบนิเวศของชุมชน เช่น การทำ�ปะการังเทียม
การทำ�ซั้ง บ้านปลา เป็นต้น
2.4.4 การตรวจสอบผลการวิเคราะห์ หลังจากได้ข้อ
สรุปจากข้อมูลกรณีศึกษาแล้วผู้วิจัยได้ดำ�เนินการวิเคราะห์ข้อมูล การเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล องค์ความรู้ วิถีชีวิต
ที่ได้จากการไปสัมภาษณ์กลุ่ม (Group Interview) ผู้นำ�องค์กร รวมถึงรูปแบบการจัดการทรัพยากรประมงในชุมชนประมงพืน้ บ้าน
ในชุมชนเป็นผู้ให้ข้อมูลสำ�คัญเพื่อให้พิจารณาวิเคราะห์ข้อมูล ตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริง่ จังหวัดปัตตานี โดยการศึกษาจาก
กระบวนการมีสว่ นร่วมทีส่ มบูรณ์ถกู ต้องครบถ้วนจากการพิจารณา เอกสารที่มีผู้เก็บรวบรวมไว้แล้ว การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม
บททบทวนของผู้ที่อยู่ในเหตุการณ์จริง เหตุการณ์ส�ำ คัญสัมภาษณ์แบบเจาะลึกผูท้ มี่ คี วามรูค้ วามสามารถ
มีองค์ความรู้ มีประสบการณ์ รวมถึงการสัมภาษณ์กลุ่ม เพื่อ
ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลนำ�ข้อมูลทีไ่ ด้มาวิเคราะห์โดยใช้
ทฤษฎีระบบและทฤษฎีการจัดการความรู้ (KM) ซึง่ มีผลการศึกษา
การวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้
ผลการศึกษา
4.1 ผลการศึกษาเอกสาร (Document Study)
ผู้วิจัยได้ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับชุมชนที่ศึกษาเพื่อทำ�ความ
เข้าใจเกี่ยวกับบริบทของชุมชน มีผลการศึกษาเอกสารข้อมูล
พื้นฐานตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี (องค์การ
บริหารส่วนตำ�บลแหลมโพธิ์, 2563) ดังนี้

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
60 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 61
ข้อมูลพื้นฐานตำ�บลแหลมโพธิ์ สถานที่ตั้งตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัด
ประวั ติ ศ าสตร์ ชุ ม ชนประมงพื้ น บ้ า นตำ � บลแหลมโพธิ์ ปัตตานี
อำ�เภอยะหริง่ จังหวัดปัตตานี สมัยโบราณตำ�บลแหลมโพธิ์ มีชอื่ ว่า ตำ�บลแหลมโพธิ์ได้ยกฐานะจากสภาตำ�บล เป็นองค์การ
กำ�ปงบูดี ซึ่งเป็นภาษามลายูท้องถิ่น มีความหมายว่าหมู่บ้าน บริหารส่วนตำ�บล โดยพระราชบัญญัติสภาตำ�บลและองค์การ
ต้นโพธิ์ทะเล ซึ่งขึ้นอยู่หนาแน่นในหมู่บ้าน (ฝั่งอ่าวปัตตานี) บริหารส่วนตำ�บล พ.ศ.2537 เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2540
เดิมหมู่บ้านบูดีอยู่ในเขตการปกครองของตำ�บลตะโละกาโปร์ โดยมีอาณาเขตดังนี้
ต่อมาเมื่อประชากรมีจำ�นวนเพิ่มมากขึ้น จึงได้มีการตั้งตำ�บล อาณาเขตทางทิศเหนือ ติดต่อกับ ทะเลอ่าวไทย
ขึน้ มาใหม่ ชือ่ ว่าตำ�บลแหลมโพธิ์ เป็นพืน้ ทีท่ มี่ คี วามอุดมสมบูรณ์ อาณาเขตทางทิศใต้ ติดต่อกับ ทะเลอ่าวปัตตานี
อาณาเขตทางทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำ�บลตะโละกาโปร์
ของทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เป็นพื้นที่ที่มีเสน่ห์ มีแหลม
อาณาเขตทางทิศตะวันตก ติดต่อกับ ทะเลอ่าวไทย
ตาชี ย่ื น ลงไปในอ่ า วไทย ทำ � ให้ เ กิ ด เป็ น พื้ น ที่ ท ะเลในเรี ย กว่ า
“อ่าวปัตตานี” และทะเลนอก เรียกว่า “อ่าวไทย” ในตำ�บล
แหลมโพธิม์ ที รัพยากรอุดมสมบูรณ์ มีแม่น�้ำ และลำ�คลองหลายสาย
ไหลลงสู่อ่าว ป่าชายเลนรอบอ่าว สัตว์น้ำ� หลากหลายชนิด
รวมถึงการทำ�ประมงพื้นบ้านที่เป็นเอกลักษณ์ของพื้นที่ โดยใช้
เครื่องมือการทำ�ประมงที่ถูกกฎหมายและเป็นพื้นที่ที่เคยประสบ
ปัญหาหลายๆ ด้านไม่ว่าจะเป็นปัญหาด้านสังคม ปัญหาภัย
ธรรมชาติ ปั ญ หาภั ย พิ บั ติ ทำ � ให้ แ กนนำ � และคนในชุ ม ชน
มีประสบการณ์ในการจัดการสิ่งเหล่านี้และมีพัฒนาการที่ดีขึ้น
เรื่อยๆ ก่อให้เกิดประสบการณ์ที่ควรบันทึก กระบวนการเรียนรู้
และวิธีการต่างๆ ของคนในชุมชน โดยเฉพาะแกนนำ�ได้สร้าง
จิตสำ�นึกให้คนรุ่นหลัง มีความรักและห่วงแหนทรัพยากรที่อยู่ใน
ชุมชนให้สามารถใช้ได้อย่างยั่งยืน

ภาพที่ 3 แผนที่ตำ�บลในอำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี


ที่มา: สำ�นักงานเทศบาลตำ�บลตอหลัง อำ�เภอยะหริ่ง จังวัดปัตตานี, 2563

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
62 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 63
ที่ทำ�การองค์การบริหารส่วนตำ�บลแหลมโพธิ์ ตั้งอยู่ที่ ด้านการเมืองการปกครอง
หมูท่ ี่ 3 บ้านปาตาบูดี ตำ�บลแหลมโพธิ์ ห่างจากทีว่ า่ การอำ�เภอยะหริง่ ตำ�บลแหลมโพธิแ์ บ่งเขตการปกครอง ออกเป็น 4 หมูบ่ า้ น
ไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณ 13 กิโลเมตร และอยู่ ดังนี้
ห่างจากตัวจังหวัดปัตตานี ประมาณ 28 กิโลเมตร
องค์การบริหารส่วนตำ�บลแหลมโพธิ์ มีเนื้อที่ประมาณ หมู่ที่ 1 บ้านกำ�ปงบูดี
15.45 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 10,439 ไร่ หมู่ที่ 2 บ้านตะโละสะมิแล
หมู่ที่ 3 บ้านปาตาบูดี
หมู่ที่ 4 บ้านดาโต๊ะ
อ่าวไทย

ตำ�บลแหลมโพธิ์

อ่าวปัตตานี

ภาพที่ 4 แผนที่ตำ�บลแหลมโพธิ์
ที่มา: Google Earth Pro, 2563

ลักษณะภูมิประเทศ
ลักษณะภูมิประเทศของตำ�บลแหลมโพธิ์ มีลักษณะเป็น
แหลมยืน่ ออกไปในทะเลฝัง่ อ่าวไทย ทำ�ให้พนื้ ทีส่ ว่ นใหญ่มลี กั ษณะ
เป็นดินทราย
ลักษณะภูมิอากาศ มี 2 ฤดู ได้แก่ ฤดูร้อน ฤดูฝน ภาพที่ 5 ที่ตั้งแต่ละหมู่บ้านในตำ�บลแหลมโพธิ์
ลักษณะของดิน ในพื้นที่เป็นดินทราย ที่มา: Google Earth Pro, 2563

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
64 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 65
ประชากร ช่วงอายุประชากร เพศชาย เพศหญิง รวม
ประชากรทั้ ง สิ้ น จำ � นวน 10,046 คน แยกเป็ น ชาย
น้อยกว่า 1 ปี 108 97 205
4,974 คน หญิง 5,072 คน มีความหนาแน่นเฉลี่ย 650.22
คนต่อตารางกิโลเมตร (ข้อมูล ณ เดือนมีนาคม 2562) 1 – 10 ปี 1,074 1,030 2,104
11 – 20 ปี 896 905 1,801
ประชากร 21 – 30 ปี 831 843 1,674
รวม หลังคา
หมู่ที่ หมู่บ้าน ชาย หญิง 31 – 40 ปี 748 750 1,498
(คน) เรือน
(คน) (คน)
41 – 50 ปี 599 594 1,193
1 กำ�ปงบูดี 1,567 1,578 3,145 512 51 – 60 ปี 370 484 854
2 ตะโละสะมิแล 457 461 918 185 61 ปีขึ้นไป 348 369 717
3 ปาตาบูดี 1,634 1,686 3,320 589 รวม 4,974 5,072 10,046
4 ดาโต๊ะ 1,316 1,347 2,663 680 ตารางที่ 2 จำ�นวนประชากรจำ�แนกช่วงอายุและเพศ
ที่มา: สำ�นักงานองค์การบริหารส่วนตำ�บลแหลมโพธ์
รวม 4,974 5,072 10,046 1,966 อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี, 2563

ตารางที่ 1 ข้อมูลประชากรในตำ�บลแหลมโพธิ์
ที่มา: สำ�นักงานองค์การบริหารส่วนตำ�บลแหลมโพธ์
อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี, 2563 สภาพทางสังคม
1. การศึกษา
โรงเรียนประถมศึกษา 3 แห่ง ได้แก่
ช่วงอายุและจำ�นวนประชากร 1. โรงเรียนบ้านบูดี (อนุบาล–ประถมศึกษาปีที่ 6)
จำ�นวนประชากรของตำ�บลแหลมโพธิโ์ ดยจำ�แนกตามช่วง จำ�นวนนักเรียน 752 คน
อายุ 8 กลุ่มเป้าหมาย ข้อมูลจากสำ�นักงานทะเบียนและบัตร 2. โรงเรียนบ้านตะโละสะมิแล จำ�นวนนักเรียน 167 คน
อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ณ เดือนพฤษภาคม 2563 3. โรงเรียนบ้านดาโต๊ะ จำ�นวนนักเรียน 214 คน

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
66 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 67
มัธยมศึกษา 4. การสังคมสงเคราะห์
โรงเรียนบ้านบูดี (มัธยมศึกษาปีที่ 1-3) จำ�นวนนักเรียน องค์การบริหารส่วนตำ�บลแหลมโพธิ์ มีภาระหน้าที่
ประมาณ 233 คน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กก่อนวัยเรียน 2 แห่ง ได้แก่ เกี่ยวกับการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ คนชรา คนพิการ และ
1. ศูนย์พฒั นาเด็กเล็กมัสยิดกำ�ปงบูดี จำ�นวนนักเรียน ผู้ป่วยเอดส์ ผู้ด้อยโอกาส การส่งเสริมสวัสดิการและเยาวชน
การพัฒนาชุมชน การส่งเสริมการกีฬา การจัดให้มีและสนับสนุน
ประมาณ 160 คน
กิจกรรมศูนย์เยาวชน การส่งเสริมงานประเพณีท้องถิ่น งานส่วน
2. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านปาตาบูดี จำ�นวนนักเรียน
สาธารณะ งานสำ � รวจวิ จั ย ข้ อ มู ล สภาพปั ญ หาสั ง คมต่ า งๆ
ประมาณ 100 คน การให้คำ�ปรึกษา แนะนำ� หรือตรวจสอบเกี่ยวกับงานสวัสดิการ
ศูนย์อบรมจริยธรรม (โรงเรียนตาดีกา) 6 แห่ง ได้แก่ สังคม โดยงานเบี้ยยังชีพคนชรา คนพิการ และผู้ป่วยโรคเอดส์
1. ตาดีกานูรูลฮีดายะห์ หมู่ที่ 1 บ้านกำ�ปงบูดี ซึ่งมีจำ�นวนคนชรา คนพิการและผู้ป่วยเอดส์ ดังนี้ (ข้อมูลเดือน
2. ตาดีกานูรูลฮูดา หมู่ที่ 1 บ้านกำ�ปงบูดี พฤษภาคม 2562)
3. ตาดีกานูรูลฟุรกอน หมู่ที่ 2 บ้านตะโละสะมิแล
4. ตาดีกาซีนารมูรนีล หมู่ที่ 3 บ้านปาตาบูดี หมู่ที่ หมู่บ้าน ผูส้ งู อายุ คนพิการ ผู้ป่วยเอดส์ รวม
5. ตาดีกาอัศฮาบุลยามีน หมู่ที่ 3 บ้านปาตาบูดี 1 กำ�ปงบูดี 211 77 1 289
6. ตาดีกาดารุลฮูดา หมู่ที่ 4 บ้านดาโต๊ะ 2 ตะโละสะมิแล 49 23 - 72
โรงเรียนสอนศาสนา (ตะฟิกฮ์) 1 แห่ง
3 ปาตาบูดี 156 60 1 217
2. สาธารณสุข
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำ�บล 2 แห่ง 4 ดาโต๊ะ 180 52 1 233

3. ยาเสพติด รวม 596 212 3 811


ปัญหายาเสพติดมีพื้นที่เฝ้าระวัง คือ บ้านกำ�ปงบูดี
ตารางที่ 3 จำ�นวนผู้สูงอายุ คนพิการ ผู้ป่วยเอดส์
บ้านปาตาบูดี บ้านตะโละสะมิแล และบ้านดาโต๊ะ ของแต่ละหมู่บ้านของตำ�บลแหลมโพธิ์
ที่มา: สำ�นักงานองค์การบริหารส่วนตำ�บลแหลมโพธ์
อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี, 2563

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
68 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 69
ระบบบริการพื้นฐาน ระบบเศรษฐกิจ
1. การคมนาคมขนส่ง 1. การเกษตร
การคมนาคมของตำ�บลแหลมโพธิ์ ใช้เส้นทางคมนาคม ราษฎรประมาณร้อยละ 10 มีอาชีพทำ�การเกษตรกรรม
ทางบกเป็นหลัก โดยมีถนนสายหลักคือ ถนนหมายเลข ปน.2062 ได้แก่ สวนมะพร้าว
สายยามู–แหลมตาชี ของกรมทางหลวงชนบท 2. การประมง
ถนนคอนกรีตและทางเท้าคอนกรีตเสริมเหล็ก จำ�นวน ราษฎรส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 70 ประกอบอาชีพ
77 สาย ประมงพื้ น บ้ า นขนาดเล็ ก ที่ เ หลื อ ประกอบอาชี พ ค้ า ขายและ
ถนนบุกเบิกลงลูกรัง จำ�นวน 2 สาย รับจ้างทั่วไป
2. การไฟฟ้า
ภายในเขตองค์การบริหารส่วนตำ�บล มีไฟฟ้าเข้าถึงทุก
พื้นที่ จำ�นวน เครื่องมือ
หมู่บ้าน แต่มีบางครัวเรือนที่ยังไม่มีไฟฟ้าใช้ เรือประมง ที่ใช้ในการทำ�ประมง
3. การประปา พื้นบ้าน(ลำ�)
มีระบบประปาหมู่บ้านขนาดเล็ก จำ�นวน 13 แห่ง ดังนี้
หมู่ที่ 1 บ้านกำ�ปงบูดี จำ�นวน 4 แห่ง หมู่ที่ 1 287 อวนจมปู, อวนลอยกุ้ง,
บ้านกำ�ปงบูดี อวนปลากระบอก
หมู่ที่ 2 บ้านตะโละสะมิแล จำ�นวน 2 แห่ง
หมู่ที่ 3 บ้านปาตาบูดี จำ�นวน 4 แห่ง หมู่ที่ 2 67 อวนลอมปลากระบอก,
หมู่ที่ 4 บ้านดาโต๊ะ จำ�นวน 3 แห่ง บ้านตะโละสะมิแล อวนจมปู
4. โทรศัพท์ ปัจจุบันทุกหมู่บ้านใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่เป็น หมู่ที่ 3 200 อวนลอยกุ้ง,
ส่วนใหญ่ บ้านปาตาบูดี อวนปลาจะละเม็ด
5. ไปรษณีย์ การสื่อสาร หรือการขนส่ง และวัสดุ
หมู่ที่ 4 145 อวนจมปู, อวนลอยกุ้ง,
ครุภัณฑ์ บ้านดาโต๊ะ อวนปลากระบอก, อวนปลาขีต้ นั
ทีท่ �ำ การไปรษณียท์ ใี่ กล้ทส่ี ดุ ได้แก่ ไปรษณียย์ ะหริง่ ตัง้ อยู่
ตำ�บลยามู อำ�เภอยะหริง่ จังหวัดปัตตานี ห่างจากตำ�บลแหลมโพธิ์ ตารางที่ 4 จำ�นวนเรือประมงพื้นบ้าน
ประมาณ 13 กิโลเมตร แต่ปัจจุบันมีที่ทำ�การไปรษณีย์อนุญาต ในตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
ที่มา: สำ�นักงานองค์การบริหารส่วนตำ�บลแหลมโพธ์
ตำ�บลแหลมโพธิ์ ซึ่งตั้งอยู่หมู่ที่ 4 บ้านดาโต๊ะ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี, 2563

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
70 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 71
3. การปศุสัตว์ ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม
ตำ�บลแหลมโพธิ์ มีการปศุสัตว์ คือ การเลี้ยงแพะและ 1. การนับถือศาสนา นับถือศาสนาอิสลาม 100% โดยมี
แกะในพื้นที่หมู่ที่ 1–หมู่ที่ 4 ข้อมูลศาสนสถาน ดังนี้
1.1 มัสยิด จำ�นวน 6 แห่ง
4. การบริการ
1.2 บาลาเซาะห์ จำ�นวน 12 แห่ง
มีรีสอร์ทในพื้นที่ จำ�นวน 33 แห่ง 2. ประเพณีและงานประจำ�ปี
ร้านจำ�หน่ายของชำ� จำ�นวน 69 แห่ง เทศกาลงานเมาลิด ตรงกับวันที่ 12 เดือนรอบีอุลเอาวัล
ร้านค้าบริการน้ำ�มันรายย่อย จำ�นวน 10 แห่ง ของปฏิทินอิสลามซึ่งคำ�ว่า “เมาลิด” เป็นภาษาอาหรับแปลว่า
ร้านรับซื้อ-ขายสัตว์น้ำ� จำ�นวน 15 แห่ง วันเกิด “เมาลิดนบี” จึงแปลว่า วันเกิดของนบี เมื่อครบรอบทุกๆ
5. การท่องเที่ยว ปีจะมีการจัดทำ�เมาลิดนบี ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ซึ่งเป็น
ส่งเสริมการท่องเที่ยวธรรมชาติทางทะเล ได้แก่ ชายหาด การให้เกียรติยกย่องและรำ�ลึกคุณงามความดีของท่านนบีมฮุ มั มัด
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และเป็นการเฉลิมฉลองวันสำ�คัญ
ตะโละสะมิแล แหลมตาชี และป่าชายเลน การท่องเทีย่ วชมโบราณ
ดังกล่าวไว้
สถานคือมัสยิดโบราณบ้านดาโต๊ะ ซึ่งมีอายุร่วมสมัยกับมัสยิด เทศกาลอาซูรอ เป็นประเพณีคนที่นับถือศาสนาอิสลาม
กรือเซะ กุโบร์โบราณบ้านดาโต๊ะที่มีพื้นที่กว้างที่สุดในเอเชีย คำ�ว่า “อาซูรอ” เป็นภาษาอาหรับ แปลว่าชื่อของวันที่ 10 เดือน
ตะวันออกเฉียงใต้ มุฮมั รัม เป็นเดือนแรกตามปฏิทนิ ของศาสนาอิสลาม ซึง่ ตรงกับวันที่
6. การพาณิชย์และกลุ่มอาชีพ 10 ซึ่งเป็นการระลึกถึงความยากลำ�บากของชาวมุสลิมในสมัย
กลุ่มผลิตข้าวเกรียบปลา 2 กลุ่ม ท่านศาสดานุฮ ที่ประสบกับอุทกภัยครั้งยิ่งใหญ่ และการสร้าง
กลุ่มผลิตปลาเส้นและปลาตากแห้ง 2 กลุ่ม ความสัมพันธ์ระหว่างมุสลิมด้วยกันเอง
พิธีเข้าสุนัต ภาษามลายูเรียกว่า มาโซ๊ะยาวี หรือภาษา
วิสาหกิจชุมชนกลุ่มสตรีบ้านดาโต๊ะ 1 กลุ่ม
อาหรับเรียกว่า คิตาน คือ การขลิบหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศชาย
วิสาหกิจชุมชนผลิตข้าวเกรียบปลา 70 ราย ซึ่งการเข้าสุนัตจะกระทำ�เมื่อถึงวัยอันควรคือช่วงอายุระหว่าง
8-13 ปี และถือเป็นส่วนหนึ่งของความดีตามบทบัญญัติอิสลาม
และทำ�ให้ความดีทงั้ ภายนอกและภายในมีความสมบูรณ์ เนือ่ งจาก
เป็นการชำ�ระความสกปรกสร้างความสะอาด

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
72 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 73
เทศกาลการถือศีลอด ในเดือนรอมฎอนตรงกับเดือนที่ 9 3. ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาถิ่น
ของปฏิ ทิ น อิ ส ลาม เป็ น เดื อ นที่ ช าวมุ ส ลิ ม ถื อ ศี ล อดทั้ ง เดื อ น ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่โดดเด่น คือ การผลิตข้าวเกรียบปลา
การถือศีลอด หรือภาษามลายูปตั ตานีเรียกว่า ปอซอ หรือ ศิยาม และการต่อเรือกอและ ภาษาถิ่น คือ มาลายู
ในภาษาอาหรับ หมายถึง การอดอาหารเครือ่ งดืม่ และการเสพกาม 4. สินค้าพื้นเมืองและของที่ระลึก
งด ละ เลิก จากสิ่งที่ไม่ดีทั้งหมดไม่ว่าจากมือ ตา หู และปาก สินค้าพืน้ เมืองและของทีร่ ะลึกทีโ่ ดดเด่น คือ ข้าวเกรียบปลา
ทำ�ความดี บริจาคทานแก่คนยากจน และอ่านคัมภีร์อัลกุรอาน เรือกอและจำ�ลอง
5. ทรั พ ยากรธรรมชาติ ที่ สำ � คั ญ ขององค์ ก รปกครอง
ซึ่งเดือนนี้ถือเป็นเดือนศักดิ์สิทธิ์ที่พระเจ้าประทานคัมภีร์อัล-
ส่วนท้องถิน่ ส่งเสริมและพัฒนาทรัพยากรป่าชายเลนในพืน้ ทีท่ ยี่ งั
กุรอาน ตั้งแต่ยามรุ่งอรุณ จนกระทั่งถึงเวลาหลังตะวันตกดิน สมบูรณ์ให้สามารถเป็นทีเ่ พาะพันธุ์ วางไข่ของสัตว์ทะเลหลายชนิด
เทศกาลวันตรุษอีด หรือวันอีด เป็นวันเฉลิมฉลองในศาสนา เพิ่มจำ�นวนสัตว์น้ำ�ทางทะเล เพื่อให้ทรัพยากรธรรมชาติสมบูรณ์
อิสลาม โดยในวันนี้จะมีกิจกรรมต่างๆ เช่น แต่งกายให้สะอาด คนอยู่ร่วมกับธรรมชาติได้อย่างเป็นสุข
เรียบร้อย ร่วมกันทำ�พิธีละหมาดวันอีดที่สนามหรือในมัสยิด
เยี่ยมเยียนญาติพี่น้อง รับประทานอาหารร่วมกัน เป็นต้น
วันอีดมี 2 วันในแต่ละปีคือ
1. อีดิลฟิตรี ภาษามลายูปัตตานีเรียก ฮารีรายอปอซอ
มุสลิมภาคกลางเรียก วันอีดเล็ก ในวันที่ 1 เดือนเชาวาล เป็น
เฉลิมฉลองที่ได้ถือศีลอดในเดือนรอมฎอน จะมีการละหมาด
ที่มัสยิด หากใครมีฐานะดีก็จะบริจาคเงินแก่เด็กและคนชรา และ
ขออภัยญาติมิตรหากเคยล่วงเกินต่อกัน
2. อีดิลอัฎฮา ภาษามลายูปัตตานีเรียก ฮารีรายอฮายี
มุสลิมภาคกลางเรียก วันอีดใหญ่ ในวันที่ 10 เดือนซุลฮิจญะหฺ
จะมีกิจกรรมใกล้เคียงกับอีดิลฟิตรี แต่เพิ่มเติมการเชือดสัตว์พลี
เพื่ออัลลอฮฺ (กุรบาน) โดยสัตว์นั้นอาจเป็นแพะ แกะ วัว หรือ
อูฐก็ได้ ภาพที่ 6 ผังแสดงทรัพยากรในตำ�บลแหลมโพธิ์
ที่มา: นายดอเลาะ เจ๊ะแต, 2563

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
74 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 75
4.2 การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม
ผูว้ จิ ยั ได้ลงพืน้ ทีส่ งั เกตสภาพทัว่ ไปของชุมชน กระบวนการ
เรียนรู้ของชุมชนกิจกรรมและวิถีชีวิตการใช้ชีวิตร่วมกันในชุมชน
สนทนา สังเกตปฏิกิริยาในการตอบสนองในช่วงการทำ�กิจกรรม
ต่างๆ ผลที่ได้จากการสังเกตรวมถึงการสังเกตผลผลิตที่เกิดจาก
กระบวนการการใช้วิถีชีวิต การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นรวมถึงการ
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากร
ประมงพื้นบ้านของชุมชน ดังนี้
4.2.1 สภาพการตัง้ บ้านเรือนของชุมชนในตำ�บลแหลมโพธิ์
ตำ�บลแหลมโพธิ์ตั้งอยู่ที่อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
มี 4 หมู่บ้านประกอบด้วย หมู่ที่ 1 บ้านกำ�ปงบูดี หมู่ที่ 2
บ้านตะโละสะมิแล หมู่ที่ 3 บ้านปาตาบูดี หมู่ที่ 4 บ้านดาโต๊ะ
ทิ ศ เหนื อ ติ ด กั บ ทะเลอ่ า วไทย ทิ ศ ใต้ ติ ด กั บ ทะเลอ่ า วปั ต ตานี
ทิศตะวันออกติดกับตำ�บลตะโละกาโปร์ ส่วนทิศตะวันตกติดกับ
ทะเลอ่าวไทย มีลักษณะเป็นแหลมยื่นออกไปในทะเล ด้านขวา
จะเป็นทะเลอ่าวไทยด้านซ้ายจะเป็นทะเลอ่าวปัตตานี การตั้ง
บ้านเรือนจะกระจายอยู่แถวฝั่งทางทะเลปัตตานีเป็นส่วนใหญ่
คนส่วนใหญ่ในพื้นที่จำ�นวน 70% จะประกอบอาชีพทำ�ประมง
พืน้ บ้านในพืน้ ทีอ่ า่ วปัตตานี ยกเว้นหมูท่ ี่ 3 บ้านปาตาบูดี ทีเ่ หลือ
อี ก 30% จะประกอบอาชี พ อื่ น ๆ เช่ น ทำ � ข้ า วเกรี ย บปลา ภาพที่ 7 การตั้งบ้านเรือนริมอ่าวปัตตานี
ข้ า วเกรี ย บปลาที่ มี ชื่ อ เสี ย งมากผู้ ค นจะรู้ จั ก ในนามข้ า วเกรี ย บ
บ้านดาโต๊ะ เยาวชนส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพรับจ้างในประเทศ ศาสนาอิสลาม 100% และจะมีการปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา
มาเลเซียซึ่งปัจจุบันจะมีปัญหาเรื่อง Covid-19 ทำ�ให้เยาวชน อย่างเคร่งครัด มีสถานที่สำ�คัญด้านประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้องทาง
กลับมาประกอบอาชีพในพื้นที่มากยิ่งขึ้นคนในชุมชนจะนับถือ ด้านศาสนา เช่น สุสานเจ้าเมืองปัตตานี สุสานโต๊ะยาว (โต๊ะปายัง)

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
76 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 77
สภาพพื้นที่ตั้งอยู่ชายฝั่งทะเลอ่าวปัตตานีและอ่าวไทย 4.2.2 วิถีชีวิตของคนในชุมชนตำ�บลแหลมโพธิ์
ซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์มีสัตว์น้ำ�ชุกชุมและสามารถทำ�ประมง จากการสังเกตการพบปะสนทนาของคนในชุมชน พบว่า
พืน้ บ้านได้ตลอดทัง้ ปีในฝัง่ อ่าวปัตตานี และทำ�ประมงพืน้ บ้านตาม คนในชุมชนมีความรักใคร่สามัคคีมีการพูดคุยสนทนาสอบถาม
ฤดูกาลในฝั่งทะเลอ่าวไทย ในฝั่งอ่าวปัตตานีมีป่าชายเลนเป็น ความเป็นอยู่มีการปรึกษาหารือและแลกเปลี่ยนในวงต่างๆ โดย
แหล่งเพาะพันธุว์ างไข่และเจริญเติบโตของสัตว์น�้ำ วัยอ่อน มีคลอง ส่วนใหญ่พบปะกันในวงร้านน้ำ�ชาของชุมชน ซึง่ มีกระจายไปตาม
น้ำ�จืดหลายสายที่ไหลลงสู่อ่าวปัตตานีตลอดทั้งปีทำ�ให้เกิดระบบ ชุมชนต่างๆ เสร็จจากการทำ�ประมงพื้นบ้านจะมีเวลามานั่งกิน
น้ำ�ชากาแฟในร้านน้ำ�ชา พูดคุยแลกเปลี่ยนในเรื่องต่างๆ เช่น
นิเวศ 3 น้� ำ คือน้�ำ จืด น้�ำ กร่อย น้�ำ เค็มทำ�ให้เกิดแพรงตอนพืชและ
เรื่องการประกอบอาชีพทางการประมง การทำ�กิจกรรมต่างๆ
สัตว์ซึ่งเป็นรากฐานของห่วงโซ่อาหาร อย่างไม่เป็นทางการ รวมถึงการถามและแลกเปลี่ยนเรื่องการ
จัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ ทีส่ ง่ ผลกระทบต่อการดำ�รง
ชีวิตตามวิถีของคนในชุมชน คนในพื้นที่ส่วนใหญ่จะให้ความ
ร่วมมือในการทำ�กิจกรรมต่างๆ ที่ทางหน่วยงานราชการและ
หน่วยงานอื่นๆ เข้ามาจัดกิจกรรมหรือการจัดอบรม ในพื้นที่จะมี
กลุ่มชุมชนประมงท้องถิ่นทั้ง 4 หมู่บ้านที่ทำ�หน้าที่ประสานกับ
หน่วยงานรัฐเรื่องการจัดการทรัพยากรประมงพื้นบ้าน เป็นกลุ่ม
ทีเ่ ป็นแกนหลักในการจัดกิจกรรมทีไ่ ด้รบั งบประมาณสนับสนุนจาก
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการประชุมแต่ละครั้งของแต่ละชุมชน
ผู้เข้าร่วมมีความกล้าแสดงออก การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
การซักถามสิ่งต่างๆ หากตัวเองไม่เข้าใจ เมื่อมีการประชุมเสร็จ
ผู้ที่เข้าร่วมประชุมจะนำ�ความรู้ที่ได้รับมานำ�เสนอต่อที่ประชุม
ชุมชนในลักษณะต่างๆ ร่วมกันแสวงหาทางเลือกจนเป็นข้อตกลง
ของคนในชุมชนนำ�สูก่ ารปฏิบตั ทิ �ำ กิจกรรม บนพืน้ ฐานความยัง่ ยืน
ของทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มทรั พ ยากรทางทะเล
และชายฝั่ ง รวมถึ ง ทรั พ ยากรทางการประมงพื้ น บ้ า นของคน
ภาพที่ 8 อ่าวปัตตานี ลำ�คลองและที่จอดเรือ ในชุมชน

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
78 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 79
4.2.3 ร่องรอยการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง จังหวัดปัตตานี ซึ่งเป็น 2 สมาคมที่มีการขับเคลื่อนด้านการ
คนในพื้ น ที่ ตำ � บลแหลมโพธิ์ ร่ ว มกั น อนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากร จัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ และจดทะเบียนถูกต้องตาม
ทางทะเลและชายฝัง่ มีการดูแลรักษาและเฝ้าระวังสิง่ แวดล้อมทาง กฎหมาย เป็นองค์กรสื่อกลางระหว่างคนในพื้นที่และหน่วยงาน
ทะเลและชายฝั่ง ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันกว่า 20 ปี เพื่อแก้ไข ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรทางทะเล รวมถึง
ปัญหาที่เกิดขึ้นทั้งฝั่งอ่าวปัตตานีและฝั่งอ่าวไทย ที่เป็นจุดเริ่มต้น ชีวิตความเป็นอยู่ของชาวประมงพื้นบ้านในพื้นที่
การฟื้นฟู การอนุรักษ์และเกิดกิจกรรมต่างๆ ในพื้นที่อันสืบเนื่อง
มาจากภัยคุกคามที่เกิดจากการทำ�ประมงด้วยเครื่องมือทำ�ลาย
ล้างคือ อวนลาก อวนรุน เรือคราดหอย โดยมีกลุ่มที่ไม่เห็นด้วย
และมีส่วนร่วมในการคัดค้านและต่อต้านเรือประมงที่ใช้เครื่องมือ
ที่ทำ�ลายล้างและผิดกฎหมาย โดยระยะแรกจะเป็นการรณรงค์ทำ�
ความเข้าใจกับคนในชุมชนเกีย่ วกับการทำ�ประมงเครือ่ งมือทำ�ลาย
ล้าง และมีการสร้างปะการังเทียมในฝั่งอ่าวไทย อ่าวปัตตานีจะมี
กิจกรรมหลายๆ อย่าง เฉพาะเรือ่ งการนำ�ไม้ไผ่มาปักเป็นแนวเขต
การอนุรกั ษ์ในพืน้ ทีห่ น้าบ้าน รวมถึงการสร้างบ้านปลา โดยปัจจุบนั
ในแต่ละกลุ่มชุมชนประมงพื้นบ้านมีความพยายามที่จะมีการ
สร้างธนาคารปูมา้ ของแต่ละชุมชน แต่สว่ นใหญ่จะเกิดปัญหาเรือ่ ง
คุณภาพของน้ำ�ที่มีความเค็มไม่เพียงพอต่อการเพาะพันธุ์ปูม้า
จากร่องรอยของกิจกรรมต่างๆ ในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรทางทะเล
และชายฝั่ง ได้มีการรวมกลุ่มเพื่อทำ�กิจกรรมการอนุรักษ์และมี
กลุ่มที่จดทะเบียนที่จะตั้งอยู่ในพื้นที่ 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ
1. สมาคมชาวประมงพืน้ บ้านชายแดนใต้ ซึง่ มีทตี่ ง้ั อยูท่ ี่
หมูท่ ี่ 4 บ้านดาโต๊ะ ตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริง่ จังหวัดปัตตานี
2. สมาคมผู้หญิงกับการจัดการภัยพิบัติจังหวัดปัตตานี
ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 1 บ้านกัมปงบูดี ตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง ภาพที่ 9 กิจกรรมอนุรักษ์อ่าวปัตตานี

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
80 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 81
4.3 การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ตำ�บลแหลมโพธิ์มีพื้นที่ที่ยื่นเป็นปลายแหลมยื่นเข้าไป
ผู้วิจัยได้สัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำ�คัญ ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ในทะเล มีระยะทางประมาณ 20 กิโลเมตร จากพื้นที่อาณาเขต
โดยตรงเกี่ยวกับองค์ความรู้ด้านการทำ�ประมงพื้นบ้านวิถีชีวิต จนถึงปลายแหลมเป็นพื้นที่ที่มีทะเลล้อมทั้งสองฝั่งเหมาะแก่การ
ของคนในชุมชน และรูปแบบการจัดการทรัพยากรทางทะเลและ ทำ�ประมงพื้นบ้านมีความอุดมสมบูรณ์ทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝั่งของชุมชน ข้อมูลที่สัมภาษณ์เป็นข้อมูลรายละเอียดที่ไม่ ชายฝั่ง พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นดินร่วนปนทรายไม่เหมาะแก่การเพาะ
ปรากฏที่ใดมาก่อนและไม่สามารถสังเกตเห็นได้ มีผลสัมภาษณ์ ปลูก อีกทั้งยังมีป่าชายเลนที่เป็นแหล่งห่วงโซ่อาหารของสระน้ำ�
ดังนี้ ในพื้นที่ รวมถึงการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการทำ�ประมงพื้นบ้าน
ที่เกี่ยวกับการดูสังเกตเรื่องน้ำ�ขึ้นน้ำ�ลง ทิศทางลมซึ่งชาวบ้าน
ในพื้นที่จะมีการสังเกตสิ่งเหล่านี้ก่อนออกทำ�การประมงพื้นบ้าน
รวมถึงองค์ความรูท้ ใี่ ช้เครือ่ งมือต่างๆ ในการจับสัตว์น�้ำ ตามฤดูกาล
ที่ไม่ก่อให้เกิดการทำ�ลายล้างผู้ให้ข้อมูลสำ�คัญหลายคนให้ข้อมูล
ตรงกันว่า ปัตตานีเป็นแหล่งทรัพยากรที่ควรดูแลและรักษาให้ชน
รุ่นหลังได้สามารถใช้ประโยชน์ในการทำ�ประมงพื้นบ้านตราบ
ชัว่ ลูกชัว่ หลานต่อไป จากการสัมภาษณ์ผใู้ ห้ขอ้ มูลเกีย่ วกับวิถชี วี ติ
ของคนในชุมชนรวมถึงองค์ความรู้ในการทำ�ประมงพื้นบ้านดังนี้
ผูใ้ ห้ขอ้ มูลสำ�คัญคนที่ 1 กล่าวว่า สภาพความเป็นอยูข่ อง
คนในชุมชนตำ�บลแหลมโพธิ์มีวิถีชีวิตที่ต่างจากในอดีตไม่มากนัก
จะใช้ชีวิตเรียบง่ายมีการไปมาหาสู่และอยู่แบบเครือญาติ โดย
ส่วนใหญ่จะมีอาชีพทำ�ประมงพื้นบ้าน มีปัญหาบ้างเล็กน้อย
เกี่ ย วกั บ รายรั บ ที่ ไ ม่ พ อกั บ ค่ า ใช้ จ่ า ยแต่ ส ามารถใช้ ท รั พ ยากร
ในพืน้ ทีใ่ นการดำ�รงชีวติ เช่น การหาหอยกุง้ ปูปลาในพืน้ ทีม่ าเป็น
อาหารและที่ เ หลื อ สามารถนำ � ไปขายมาเป็ น ค่ า ใช้ จ่ า ยในชี วิ ต
ภาพที่ 10 การสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ประจำ�วันของครอบครัวได้

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
82 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 83
ผู้ให้ข้อมูลสำ�คัญคนที่ 2 กล่าวว่า การใช้ชีวิตของคน อวนปลากระบอก (ปูกะโช่เลย์)
ในชุมชนตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริง่ จังหวัดปัตตานี ส่วนใหญ่ อวนปลากระบอกหรือในพื้นที่เรียกว่าอวนรถพ่วงข้าง
มีวถิ ชี วี ติ เรียบง่าย ใช้ชวี ติ แบบเดิมๆ และนำ�หลักคำ�สอนทางศาสนา (ปูกะโช่เลย์) เพราะใช้จับสัตว์น้ำ�ได้หลายชนิดเหมือนรถสามล้อ
มาใช้ในการดำ�เนินชีวิตประจำ�วันตามลักษณะของชุมชนอิสลาม พ่วงข้างที่สามารถบรรทุกได้หลายอย่าง จะเป็นอวนสามชั้นใช้
จะตื่นขึ้นมาตั้งแต่หัวรุ่งเพื่อการทำ�ละหมาด หลังจากนั้นก็จะแยก เส้นเอ็นชั้นแรกจะเป็นอวนตาขนาดใหญ่ประมาณ 8 เซนติเมตร
ชั้นในจะเป็นตาอวนขนาด 3.5 เซนติเมตร และจะมีตาอวนขนาด
ย้ายกันไปทำ�ประกอบอาชีพ ส่วนใหญ่ก็จะมีการพบปะในช่วง
8 เซนติเมตร ปิดอีกชั้น หนึ่งผืนจะมีความลึก 75-100 ตาอวน
หัวรุ่งในร้านน้ำ�ชาก่อนออกทำ�ประมงพื้นบ้าน ทั้งในอ่าวไทยและ
ยาวประมาณ 35 เมตร ราคาต้นทุนอยู่ที่ 750-1,000 บาท
จะกลับมาช่วงเที่ยงเป็นต้นไป จะนำ�ปลาที่ได้ไปขายในตลาดของ ต่อผืนและในเรือประมงพื้นบ้านขนาดเล็กจะใช้อวนประมาณ
ชุมชนและคนนอกพื้นที่ที่แวะเวียนมาซื้อขายอาหารทะเลจาก 15-20 ผืนต่อลำ� การวางอวนจะมี 2 รูปแบบ 1.วางแบบปกติ
ชาวประมง และทุกวันศุกร์จะงดออกทะเล ใครฝ่าฟืนจะมีบท ประมาณ 1-2 ชั่วโมง กู้อวนหนึ่งครั้ง 2.วางแบบล้อมฝูงแล้ว
ลงโทษโดยการปรั บ เป็ น เงิ น และผู้ นำ � ทางศาสนาจะไม่ ไ ปร่ ว ม ขดเวียนเข้าข้างในเหมือนก้นห้อย ส่วนใหญ่จะเป็นการจับสัตว์น้ำ�
ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาในบ้านนั้น ในทะเลใน (อ่าวปัตตานี)
ผูใ้ ห้ขอ้ มูลสำ�คัญคนที่ 3 กล่าวว่า ชาวประมงในพืน้ ทีต่ �ำ บล
แหลมโพธิ์เกือบทั้งหมดส่วนใหญ่จะใช้เรือขนาดเล็กออกหาปลา
ตอนเช้า กลับเข้าฝัง่ ตัง้ แต่เทีย่ งถึงเย็น โดยจะใช้เครือ่ งมือจับสัตว์น� ้ำ
เฉพาะแต่ละชนิด เช่น อวนปลากระบอก (ปูกะโช่เลย์) อวนลอยกุง้
อวนปลาทราย อวนปลาทู อวนลอยปลาใหญ่ รวมถึงการหาสัตว์น� ้ำ
ชายฝั่ง เช่น การหาหอย การจับปู การจับกุ้งซึ่ง เป็นวิถีชีวิต
ชาวประมงพื้นบ้านในพื้นที่ที่ใช้เครื่องมือจับสัตว์น้ำ�แต่ดั้งเดิม
ตั้งแต่สมัยโบราณ จนถึงปัจจุบันและยังได้ให้รายละเอียดของ
เครื่องมือการทำ�ประมงพื้นบ้านแต่ละชนิดให้เป็นความรู้ ได้แก่ ภาพที่ 11 อวนปลากระบอก (ปูกะโช่เลย์)

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
84 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 85
อวนลอยปลาใหญ่ (ปูกะปีตา)
ชือ่ ปูกะปีตานัน้ เรียกจากลักษณะของเนือ้ อวนทีใ่ ช้เส้นเอ็น
ขนาดเล็ก ที่ม้วนประสานพันเกลียวเป็นเส้นเอ็นขนาดใหญ่ เมื่อ
วางอวนปลามาติดอวนเส้นเอ็นจะพันตัวทำ�ให้ปลาติดแน่นกว่า
อวนปกติ ขนาดอ้วน 1 ผืนจะมีความยาว 40 เมตร ความลึก
ประมาณ 3 เมตร ขนาดตาอวนมีความกว้าง 4.5 เซนติเมตรขึน้ ไป
ราคาต่อผืน เฉพาะเนือ้ อวนจะอยูท่ ปี่ ระมาณ 1,800 บาท แต่เมือ่
ภาพที่ 12 อวนลอยปลาใหญ่ (ปูกะปีตา)
ประกอบมาตรอวนพร้อมใช้จะอยู่ที่ต้นทุนประมาณ 2,500 บาท
ต่อผืน เรือ 1 ลำ�จะใช้อวน ประมาณ 40 ถึง 100 ผืน จะออกไป
วางห่างจากฝั่งประมาณ 10-15 ไมล์ทะเล จะวางจากผิวน้ำ�ลึก อวนลอยกุ้ง (ปูกะอูแด)
ประมาณ 3 เมตร จะวางแนวยาวตั ด กระแสน้ำ � ให้ ล อยไป ปู ก ะอู แ ดเป็ น ชื่ อ เรี ย กเครื่ อ งมื อ ทำ � ประมงชนิ ด หนึ่ ง
ประมาณ 1-2 ชั่วโมงจะกู้อวนขึ้นเรือ ปลาที่ได้จะมีหลายชนิด มีลักษณะเนื้ออวนวางซ้อนกันสามชั้น อวน 1 ผืนจะมีความยาว
ตัวอย่างเช่นปลากระทงร่ม ปลาอินทรีย์ ปลาจะละเม็ด ปลาโอ ประมาณ 30 เมตร ความลึกประมาณ 2 เมตร ตาอวนชัน้ นอกทัง้
ปลาทูน่า ปลาอีโต้มอญ ฯลฯ อวนลอยปลาใหญ่ หรือปูกะปีตา 2 ด้าน มีความกว้าง 8 เซนติเมตร ชั้นกลางมีความกว้าง 4.5
เป็นเครื่องมือการทำ�ประมงปลาใหญ่ที่อยู่บนผิวน้ำ� การวางอวน เซนติเมตร ราคา 270-320 บาทต่อผืนเฉพาะเนือ้ อวน จะใช้อวน
ส่ ว นใหญ่ จ ะออกไปวางในเวลากลางคื น ประมาณ 02.00- ประมาณ 30-40 ผืนต่อเรือ 1 ลำ� วางขวางกระแสน้ำ�ที่ความลึก
03.00 น. และกู้อวนในช่วงเช้า อุปกรณ์ชิ้นนี้เป็นอุปกรณ์ที่ไม่ได้ 5-15 เมตรเป็นอวนลอยหน้าดิน เมื่อขึ้นชื่อว่าอวนลอยจะวาง
ทำ�ลายล้าง ไม่ได้ล้างผลาญ ทำ�ให้ชาวประมงพื้นบ้านส่วนใหญ่ ขวางกระแสน้ำ� ให้น้ำ�พัดกวาดหน้าดินและจะติดสัตว์น้ำ�หลาย
อนุญาตให้ใช้พื้นที่ปัตตานี นราธิวาสทำ�ประมง โดยเฉพาะพื้นที่ ชนิด แต่ส่วนใหญ่จะเป็นกุ้งที่โดยปกติจะใช้เครื่องมือประเภทนี้
แหลมโพธิ์ จะมีอวนชนิดนี้ใช้อย่างแพร่หลาย ในช่วงต้นฤดูและปลายฤดูมรสุม แต่ในพืน้ ทีช่ มุ ชนประมงพืน้ บ้าน
ตำ�บลแหลมโพธิ์จะนิยมใช้กันมากในหมู่ที่ 3 บ้านปาตาบูดี

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
86 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 87
อวนปลาทู (ปูกะเดะ/ปูกะตาซี) ผู้ให้ข้อมูลสำ�คัญคนที่ 6 กล่าวว่า คนชุมชนมีวิถีชีวิต
เป็ น เครื่ อ งมื อ ชนิ ด หนึ่ ง ที่ ช าวประมงพื้ น บ้ า นในพื้ น ที่ ที่เรียบง่าย ทรัพยากรมีความอุดมสมบูรณ์ เป็นแหล่งอาหารของ
ตำ�บลแหลมโพธิ์ใช้ในการประกอบอาชีพทำ�การประมงเครื่องมือ คนในชุมชนและคนภายนอกชุมชน มีปทู ะเลและปูด�ำ หลากหลาย
ชนิดนี้จะมีลักษณะเป็นเส้นเอ็นตาอวนขนาด 4.5 เซนติเมตร สายพันธุ์ เพื่อสร้างอาชีพให้กับเยาวชนที่อยู่ในชุมชนและใช้เวลา
ความลึกประมาณ 2 เมตรมีความยาวประมาณ 100-180 เมตร ว่างให้เกิดประโยชน์ ได้รวมกลุ่มเยาวชนเลี้ยงปูดำ�ในบ่อกุ้งร้าง
ราคาเฉพาะเนือ้ อวนอยูท่ ปี่ ระมาณ 600-900 บาท ต่อผืนใช้อวน แต่มีปัญหาปูตายในฤดูร้อน เพราะน้ำ�ในบ่อมีอุณหภูมิสูงเกินไป
ประมาณ 30-40 ผืนต่อเรือ 1 ลำ� วางในแนวยาวตามกระแสน้ำ� การเลี้ยงปูที่ประสบผลสำ�เร็จ คือการเลี้ยงปูแบบคอนโดและ
จะวางอวนในช่วงน้ำ�นิ่งของแต่ละวัน ในช่วงหัวรุ่งนานประมาณ ในโรงเลี้ยงปู โดยมีการควบคุมออกซิเจน อุณหภูมิ ความเค็ม
1-2 ชั่วโมง จึงกู้อวนขึ้นเรือ วางอวนในน้ำ�ลึกประมาณ 20-40 สายพันธุ์ของปูดำ�ที่นิยมเลี้ยงมี 2 สายพันธุ์คือ 1.ปูแดง 2.ปูขาว
เมตร ระยะห่างจากฝั่งประมาณ 5-17 ไมล์ทะเล และให้ข้อมูลเรื่องปูดำ�ไว้ดังนี้
ผู้ให้ข้อมูลสำ�คัญคนที่ 4 กับคนที่ 5 กล่าวว่าในปัจจุบัน ปูทะเลหรือปูด�ำ อาศัยในน้�ำ เค็มหรือน้�ำ กร่อยตามลักษณะ
มีปัญหาหลายๆ อย่างที่เข้ามากระทบต่อการดำ�รงชีวิตวิถีดั้งเดิม ที่ชอบ มี 4 สายพันธุ์ตามลักษณะกายภาพ ได้แก่ ปูแดง ปูขาว
รวมถึงการพัฒนาของพื้นที่ในด้านต่างๆ ทำ�ให้กระทบต่อการ ปูเขียว และปูม่วง ทั้ง 4 สายพันธุ์ จะมีลักษณะพิเศษและนิสัย
ทำ�ลายล้างทรัพยากรในพื้นที่หน้าบ้าน เช่น การขุดลอกอ่าว ที่ต่างกัน ในพื้นที่มีปูแดงและปูขาวจำ�นวนมาก ปูแดงจะมีนิสัย
ปัตตานี การใช้เครื่องมือผิดกฎหมายทำ�ลายล้างบางประเภทที่ยัง ก้าวร้าวและกินพวกเดียวกันในเวลาที่เพื่อนลอกคราบ มีการขุดรู
ใช้กันอย่างแพร่หลายในพื้นที่ ปัญหาราคาสินค้าตกต่ำ� จำ�นวน เพื่อหลบซ่อน ส่วนปูขาวจะมีนิสัยไม่ก้าวร้าวสามารถอยู่ด้วยกัน
สั ต ว์ น้ำ � ลดลงก่ อ นสถานการณ์ Covid-19 คนส่ ว นใหญ่ ได้ อาจจะมีการก้าวร้าวเล็กน้อยแต่ไม่มากเท่าปูแดง ลักษณะ
อพยพแรงงานไปทำ�งานที่มาเลเซีย ไปใช้แรงงานเป็นลูกจ้าง ผลผลิตที่ได้ ปูที่โตเต็มที่จะอยู่ที่ 3 ถึง 4 ตัวต่อ 1 กิโลกรัม
ในร้านอาหารและลูกจ้างในภาคทำ�ประมง ทำ�ให้คนในพืน้ ทีท่ เี่ หลือ เป็นขนาดที่ท้องตลาดต้องการ เพราะเหมาะในการทำ�เป็นเมนู
ส่วนใหญ่จะเป็นผู้สูงอายุที่ใช้วิถีชีวิตแบบดั้งเดิมจริงๆ ไม่เร่งรีบ อาหาร วางพอดีจาน ราคา 250 ถึง 300 บาทต่อ 1 กิโลกรัม
จึงทำ�ให้ชุมชนในพื้นที่ตำ�บลแหลมโพธิ์ขาดแรงงานการทำ�ประมง และถ้าเป็นปูไข่จะมีราคาเพิ่มขึ้นเล็กน้อย อาจจะอยู่ที่ 300 ถึง
พืน้ บ้านทีเ่ ป็นคนรุน่ ใหม่ แต่หลังจากเกิดปัญหา Covid-19 ในช่วง 400 บาทต่อ 1 กิโลกรัม ลักษณะของพื้นที่ตำ�บลแหลมโพธิ์ที่เป็น
2 ปีที่ผ่านมามีเยาวชนที่ใช้แรงงานในประเทศมาเลเซียกลับมา อ่าวและมีป่าชายเลนเป็นจำ�นวนมากเหมาะสมสำ�หรับการดำ�รง
อยู่ในพื้นที่มากขึ้น ทำ�ให้มีแนวคิดที่จะกลับมาใช้ชีวิตโดยพึ่ง ชีวติ ของปูทะเล ซึง่ เป็นสัตว์เศรษฐกิจชนิดหนึง่ สามารถสร้างรายได้
ทรัพยากรในพื้นที่ในภาคประมงพื้นบ้านกันมากขึ้น ให้กับคนในชุมชนได้ การประกอบอาชีพจับปูและเลี้ยงปู จึงเป็น

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
88 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 89
อาชีพที่น่าสนใจอีกอาชีพหนึ่งในชุมชน แต่การเลี้ยงยังมีปัญหา ทั้งทะเลนอก (อ่าวไทย) และทะเลใน (อ่าวปัตตานี) มีวิถีชีวิต
เรื่องการเพาะพันธุ์ปูทะเลไม่ประสบผลสำ�เร็จ ศูนย์วิจัยต่างๆ เป็นแบบเรียบง่ายโดยการหาปลา ปู กุ้ง หอย และนำ�สัตว์น้ำ�มา
ไม่สามารถเพาะปูทะเลได้ 100% ทำ�ให้ไม่สามารถหาลูกปูมาเลีย้ ง แปรรูปเป็นข้าวเกรียบปลาและทำ�ปลาคั่ว มะพร้าวคั่ว รวมถึง
ตามต้องการได้ การหากุ้งเคยเพื่อนำ�มาแปรรูปทำ�กะปิ รวมถึงการนำ�ภูมิปัญญา
ชาวบ้านโดยนำ�เปลือกไม้มาต้มเพื่อย้อมตาอ้วนให้คงทน และ
สามารถใช้งานได้ยาวนาน เป็นภูมปิ ญ ั ญาดัง้ เดิมตัง้ แต่สมัยโบราณ
จากข้อมูลที่เคยนำ�เสนอไปแล้วในครั้งที่ผ่านมา ตำ�บลแหลมโพธิ์
มีประชากร 70% ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน ดังนั้นสรุปได้ว่า
ในชุมชนตำ�บลแหลมโพธิ์มีความผูกพันกับท้องทะเล เป็นแหล่ง
ทรัพยากรที่ก่อให้เกิดรายได้สามารถหล่อเลี้ยงชีวิตและครอบครัว
ได้จนถึงทุกวันนี้ เป็นที่น่าสนใจอย่างยิ่งที่เราจะต้องค้นหาวิถีชีวิต
อันเรียบง่ายและมีเสน่ห์ในการใช้อุปกรณ์และเครื่องมือในการ
ทำ�มาหากินทีถ่ กู ต้องตามกฎหมาย รวมถึงเรือกอและ เรือท้ายตัด
มีหลายขนาดหลายประเภท ทำ�จากไม้และหล่อขึ้นรูปไฟเบอร์
กลาส ซึง่ มีขอ้ ดีขอ้ เสียของแต่ละรูปแบบแตกต่างกันไป ทะเลในก็จะ
เป็นการหาปู หากุ้ง หาหอย ส่วนทะเลนอกจะเป็นเครื่องมือ
จำ�พวกอวนลอยกุง้ อวนปลาทู อวนจมปู การตกปลา และอวนลอย
ปลาใหญ่ อุ ป กรณ์ แ ละเครื่ อ งมื อ เหล่ า นี้ ต้ อ งใช้ ง บประมาณ
ต้นทุนมาก ดังนั้น ถ้าเราเดินทางเข้าไปในชุมชนในโซนทะเลใน
มีชาวบ้านกลุ่มหนึ่งลงไปหาหอย ตกปลา ทอดแห หาปู วิธีการ
ภาพที่ 13 บ่อเลี้ยงปูดำ�และปูดำ�ในอ่าวปัตตานี เหล่ า นี้ มี ต้ น ทุ น ที่ ต่ำ � และสามารถหาหล่ อ เลี้ ย งชี วิ ต ได้ อ ย่ า ง
พอเพี ย งและยั่ ง ยื น นอกจากนี้ มี เ ครื่ อ งมื อ และอุ ป กรณ์ ใ ช้ ทำ �
การประมงพื้นบ้านอีกหลายชนิดในพื้นที่ตำ�บลแหลมโพธิ์ ได้แก่
จากการสัมภาษณ์ผใู้ ห้ขอ้ มูลโดยส่วนใหญ่จะให้ความเห็น อวนลอยปลาทู อวนลอยกุ้ง อวนจมปู อวนปลากระบอก อวน
ตรงกันว่า วิถีชีวิตของชาวประมงพื้นบ้านในตำ�บลแหลมโพธิ์ ปลาจะละเม็ด อวนปลาขีต้ นั ลอบปูด� ำ การช้อนกุง้ เคย การหาหอย
อำ�เภอยะหริ่ ง จั ง หวัดปัตตานี มีความผูกพัน ธ์ กับ ท้ อ งทะเล ฯลฯ

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
90 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 91
ผู้ให้ข้อมูลสำ�คัญคนที่ 7 เป็นการให้สัมภาษณ์ข้อมูล 4. ลมตะวันออกเฉียงใต้ ช่วงเดือนมกราคมถึงกุมภาพันธ์
เกีย่ วกับภูมปิ ญั ญาและองค์ความรูเ้ กีย่ วกับทิศทางลม การประกอบ จะเป็นช่วงคลื่นลมแรงฝนตกหนัก กลางวันลมแรงส่วนกลางคืน
อาชีพประมงพื้นบ้านในพื้นที่ตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง ลมเบา และพัดอากาศเย็นเข้าสูฝ่ งั่ หรือชาวบ้านเรียกว่า “อางิงสือ
จังหวัดปัตตานี เป็นเอกลักษณ์ของคนในพื้นที่ต้องมีองค์ความรู้ ลาแตตารอ” ชาวบ้านส่วนใหญ่ที่ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน
หลายๆ อย่าง การดูทิศทางลมเป็นสิ่งสำ�คัญอย่างมากที่บอกว่า จะว่างจากการทำ�งาน เพราะไม่สามารถออกทะเลได้ หรือสามารถ
ช่วงนีเ้ ป็นช่วงฤดูอะไร สามารถจับสัตว์น�้ำ ชนิดใด ใช้อปุ กรณ์อะไร ออกทะเลได้บางเวลาเท่านั้น สัตว์น้ำ�ก็จะเป็นพวกปู กุ้ง เป็นหลัก
5. ลมใต้ ประมาณเดือนมีนาคมถึงเมษายน เข้าสูฤ่ ดูรอ้ น
ออกทำ�ประมงเวลาใด จากการสัมภาษณ์พบว่าในพื้นที่มีทิศทาง
บางช่ ว งลมแรงพั ด จนบ้ า นเรื อนเสี ย หายหรื อชาวบ้ า นเรี ย กว่ า
ลมทั้งหมด 8 ทิศทางได้แก่ “อางิงสลาแต” ผลผลิตจากการทำ�ประมง ได้แก่ ปูมา้ ปลากระบอก
1. ลมเหนือจะพัดจากทิศเหนือเข้าหาฝั่ง ประมาณเดือน กุ้งปูดำ� และปลาโขดหินต่างๆ เช่น ปลากะพง ปลาเก๋า
มิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม กลางวันลมจะพัดสบาย ลมทะเลจะ 6. ลมตะวันตกเฉียงใต้ ช่วงเดือนพฤษภาคมถึงมิถุนายน
เรียบสงบจนมีคำ�ว่า “ลิงเพลินจนตกต้นไม้” หรือชาวบ้านเรียกว่า เป็นลมที่พัดจากภูเขาพัดเข้ามาพร้อมกลิ่นหอมของมวลดอกไม้
อางิงตารอ ส่วนผลผลิตที่ได้ในช่วงเดือนนี้ จะเป็นสัตว์น้ำ�หลายๆ ชาวบ้านเรียกว่า “อางิงบาระดาระ” ความโดดเด่นในช่วงนีเ้ มือ่ เกิด
ชนิดผสมรวมกัน จะไม่มีสัตว์น้ำ�ชนิดไหนที่เด่น แต่จะได้ผลผลิต ลมพัด จะมีกลิ่นหอมหวลจากดอกไม้บนบกจากเทือกเขาที่ล้อม
ที่ได้ไม่ค่อยเยอะ พออยู่ได้ รอบในพื้นที่สัตว์น้ำ�ที่จับได้ คือ กุ้ง หอย ปูดำ� ปูม้า
2. ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณเดือนมิถุนายน 7. ลมตะวันตก หรือทีช่ าวบ้านเรียกว่า “อางิงบาระตือปะ”
ถึงเดือนกรกฎาคม จะเป็นฤดูร้อน น้ำ�ในอ่าวปัตตานีจะร้อนจัด ตอนเย็นลมแรง บางวันฝนตกหนักเพราะได้รับอิทธิพลจากลม
จนทำ�ให้ปลาบางชนิดตายหรือหนีลงไปน้ำ�ลึก ทะเลเรียบสงบ มรสุมตะวันตกเฉียงใต้ฝั่งทะเลอันดามัน น้ำ�ลงมากเมื่อลมแรง
ชาวประมงพื้นบ้านสามารถออกทะเลไปไกลกว่าปกติได้ ชาวบ้านสามารถออกทะเลได้ และที่ลักษณะเด่นในช่วงนี้ปลาดุก
ทะเล และปูดำ� จะมีการวางไข่และสัตว์อื่นมีตามปกติ เช่น กุ้ง
3. ลมตะวั น ออก ประมาณเดื อ นธั น วาคมถึ ง เดื อ น
ปูม้า ปูดำ�
มกราคม อยู่ในฤดูมรสุมจากอิทธิพลลมทะเลจีนใต้ทำ�ให้ฝนตก
8. ลมตะวันตกเฉียงเหนือ หรือชาวบ้านเรียกว่า “อางิง
ชุกคลื่นลมแรง ชาวบ้านเรียกว่า “ลมตาแดง” หรือ “ตารอมาตอ บาระลาโอะ” ประมาณเดือนตุลาคมถึงพฤศจิกายน ลมพัดแรง
แมเราะ” ในช่วงนี้จะมีสัตว์น้ำ�หลายๆ ชนิดที่โดดเด่น ได้แก่ บางครัง้ ทำ�ให้มบี า้ นเรือนเสียหาย จะพัดเวลากลางคืน ตอนหัวค่� ำ
ปลากระบอก กุ้งแชบ๊วย ลูกปลาเก๋าจากทะเล ปูม้า ปูดำ� จับสัตว์น้ำ�ได้ตามปกติในอ่าวปัตตานี

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
92 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 93
จะเห็ น ได้ ว่ า คนในพื้ น ที่ ตำ � บลแหลมโพธิ์ ไ ม่ ว่ า จะเป็ น ที่ได้แตกต่างกัน การใช้อุปกรณ์ในการจับปลาแตกต่างกันด้วย
ฤดู ก าลใด สามารถจั บ สั ต ว์ น้ำ � ได้ ต ลอดทั้ ง ปี เพราะว่ า เป็ น ปริมาณปลาที่จับได้เยอะมากที่สุดขณะที่นำ้�ขึ้นเริ่มหยุดนิ่งและ
เอกลักษณ์ของพื้นที่ที่มี ทะเลในที่เรียกว่าอ่าวปัตตานีและทะเล น้ำ�เริ่มลง เช่น การวางเบ็ดราวปลาดุกทะเลเพราะปลาดุกทะเล
นอกทีเ่ ป็นอ่าวไทย มีทรัพยากรให้ใช้ตลอดทัง้ ปี ในปัจจุบนั ทิศทาง จะออกจากโพรงมาหาอาหาร อวนปลากระบอก อวนกุ้ง อวนปู
ลมเปลีย่ นไปบ้างไม่เหมือนในอดีต ซึง่ ยังคาดการณ์ไม่ได้วา่ สาเหตุ เพราะช่วงนีเ้ ป็นช่วงทีส่ ตั ว์น�้ำ ร่าเริงและออกหากินเป็นจำ�นวนมาก
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงจากสภาพภูมิประเทศในปัจจุบัน รวมถึงหอยที่อยู่ในอ่าวปัตตานี แต่ชาวประมงที่มีอาชีพหาหอย
ผู้ให้ข้อมูลสำ�คัญคนที่ 8 มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับ จะไม่ค่อยชอบน้ำ�ขึ้น เพราะน้ำ�ขึ้นทำ�ให้พื้นที่ชายฝั่งมีความลึก
องค์ความรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ใช้ประโยชน์จากการสังเกตน้ำ�ขึ้น ยากต่อการหาหอย ดังนั้น ชาวบ้านที่มีอาชีพหาหอย จะหาหอย
น้�ำ ลง เพือ่ ใช้ก�ำ หนดอุปกรณ์และชนิดของสัตว์น�้ำ ให้ตรงตามเวลา ในขณะที่น้ำ�เริ่มลงต่ำ�สุดหรือน้ำ�แห้ง แต่เรื่องราวทั้งหมดและ
น้ำ�ขึ้นน้ำ�ลงได้กล่าวว่า จำ�นวนของสัตว์น�้ำ ทีจ่ บั ได้ ก็ตอ้ งขึน้ อยูก่ บั ฤดูกาลด้วย ดังนัน้ ฤดูกาล
วิ ถี ชี วิ ต ของชาวประมงพื้ น บ้ า นในชุ ม ชนของตำ � บล ทิศทางลม เครื่องมือที่ใช้ ภูมิปัญญาชาวบ้าน น้ำ�ขึ้นน้ำ�ลง เป็น
แหลมโพธิ์ ก็ยังดำ�เนินกิจกรรมเกี่ยวกับการทำ�ประมงพื้นบ้าน สิ่งที่ชาวประมงพื้นบ้านทุกพื้นที่ต้องเรียนรู้และเก็บสะสมความรู้
อยูท่ กุ วัน การออกหาปลา ปู กุง้ หอย ในแต่ละครัง้ คนในชุมชนที่ ได้จากประสบการณ์ ตลอดระยะเวลาที่เป็นชาวประมง
เป็นชาวประมงพื้นบ้านใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับการสังเกต จากข้ อ มู ล ที่ ไ ด้ จ ากการสั ม ภาษณ์ ผู้ ใ ห้ ข้ อ มู ล สำ � คั ญ คน
ลักษณะต่างๆ น้�ำ ขึน้ น้�ำ ลงเป็นอีกองค์ความรูห้ นึง่ ทีส่ �ำ คัญต่อการ ที่ 7 และคนที่ 8 จะเห็ น ได้ ว่ า ชุ ม ชนชาวประมงพื้ น บ้ า น
ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน หนึ่งวันเกิดขึ้น 2 ครั้ง น้ำ�ลง ตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ยังต้องพึ่งพา
2 ครั้ง โดยส่วนใหญ่จะเกิดกลางวัน 1 ครั้งและกลางคืน 1 ครั้ง องค์ความรูส้ บื ทอดกันมาอย่างยาวนานเพือ่ เป็นองค์ความรูใ้ นการ
มี อิ ท ธิ พ ลต่ อ การทำ � ประมงพื้ น บ้ า นเป็ น อย่ า งมากเพราะว่ า ทำ�ประมงพื้นบ้าน จากข้อมูลดังกล่าวจะเห็นได้ว่าองค์ความรู้ที่ใช้
เครื่องมือในการจับสัตว์น้ำ�หลายๆ ประเภท ต้องอาศัยกระแสน้ำ� จนถึงปัจจุบนั มี 2 อย่างคือ 1.การสังเกตทิศทางลมทีจ่ ะช่วยในการ
จึงจะสามารถจับสัตว์น้ำ�ได้มากที่สุด รวมถึงการดำ�รงชีวิตของ กำ�หนดฤดูกาล และสามารถบ่งบอกช่วงเวลาได้ว่าในแต่ละช่วงจะ
สัตว์น้ำ�ต้องอาศัยกระแสน้ำ�ขึ้นและน้ำ�ลงในการออกหาอาหาร ต้องใช้อุปกรณ์ประเภทไหนจับสัตว์น้ำ�ชนิดใดบ้าง 2.การใช้การ
จากข้อมูลที่ได้จากชาวประมงพื้นบ้านในพื้นที่ การจับปลาหรือ สังเกตน้ำ�เป็นองค์ความรูท้ ี่จะต้องใช้จนถึงปัจจุบันนี้ เพื่อหาความ
ทรัพยากรในทะเลหน้าบ้านขณะที่น้ำ�ขึ้นและน้ำ�ลงจะมีสัตว์น้ำ� สมดุลในการประกอบอาชีพของชาวประมงพื้นบ้านโดยส่วนใหญ่

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
94 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 95
ชาวประมงพืน้ บ้านทีไ่ ม่มเี รือและมีเรือ บางคนจะสังเกตเรือ่ งน้�ำ ขึน้ หน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการจัดการทรัพยากรทาง
น้ำ�ลงเพื่อเป็นแนวทางในการจัดหาสัตว์น้ำ�ประเภทหอย กุ้ง ปู ทะเลและชายฝั่ง รวมถึงการจัดการทรัพยากรประมงในพื้นที่
ที่อยู่แถบชายฝั่ง โดยส่วนใหญ่จะหาในทะเลในหรือที่เรียกกันว่า เข้ามาให้ความสำ�คัญกับคนในชุมชนโดยผ่านคณะกรรมการหรือ
อ่าวปัตตานี จากนั้นชีวิตและองค์ความรู้ของชาวประมงพื้นบ้าน ตัวแทนกลุ่มที่ร่วมกันหารือเพื่อกำ�หนดกิจกรรมต่างๆ ในการ
จะต้องมีอยู่คู่กนั จนถึงปัจจุบัน แต่ในปัจจุบันเกิดการเปลีย่ นแปลง อนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจนถึงปัจจุบัน
ของสภาพภูมอิ ากาศ ทำ�ให้องค์ความรูบ้ างอย่างอาจจะไม่ถกู ต้อง ผู้ให้ข้อมูลสำ�คัญคนที่ 10 กล่าวว่า คนในชุมชนประมง
เสมอไป ผู้ให้สัมภาษณ์ได้กล่าวไว้ พื้นบ้านตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี มีความ
ผู้ให้ข้อมูลสำ�คัญคนที่ 9 กล่าวว่า คนในชุมชนตำ�บล กระตือรือร้นในการจัดกิจกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเล
แหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ได้มีการต่อสู้เพื่อการ และชายฝั่ง เพราะในอดีตมีปรากฏการณ์หลายๆ อย่างที่ทำ�ให้
จัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง รวมถึงทรัพยากรประมง ชาวประมงพืน้ บ้านเจอปัญหาและเป็นจุดเริม่ ต้นทีม่ กี ารหารือและ
ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันมีการพัฒนาการในรูปแบบต่างๆ ในอดีต มีการรวมตัวกัน เพื่อกำ�หนดทิศทางและหาแนวทางในการฟื้นฟู
จะมีการรวมตัวเฉพาะกิจเพื่อไปยื่นข้อเสนอประท้วงและกิจกรรม ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง โดยเฉพาะปัญหาหลายๆ อย่าง
ต่างๆ ที่แสดงออกให้เห็นว่าคนในพื้นที่ปกป้องทรัพยากรรวมถึง เช่ น ปั ญ หาการใช้ เ ครื่ อ งมื อ ประมงทำ � ลายล้ า งทำ � ให้ จำ � นวน
การที่จะอนุรักษ์และดูแลทรัพยากรของพื้นที่ไว้ โดยส่วนใหญ่จะ สัตว์น้ำ�ในพื้นที่ลดน้อยลง ส่งผลให้ชาวประมงพื้นบ้านในชุมชน
เป็นการรวมกลุ่มเฉพาะกิจ เสร็จงานแต่ละกิจกรรมก็จะแยกย้าย ขาดรายได้หรือรายได้ลดลง ดังนั้น ในปัจจุบันชาวประมงพื้นบ้าน
กันทำ�มาหากิน ในอดีตจะเป็นกระบวนการการจัดการทรัพยากร มีการรวมกลุ่มและจัดกิจกรรมหลายๆ อย่างที่จะให้ฟื้นฟูหรือ
เป็นเฉพาะกิจกรรมไม่มีแบบแผนใช้จิตสำ�นึกในการดูแลรักษา สร้างแหล่งอนุบาลสัตว์น้ำ� ทั้งในอ่าวปัตตานีและฝั่งอ่าวไทย เช่น
โดยส่ ว นใหญ่ จึ ง ต่ า งกั บ ปั จ จุ บั น ที่ ผู้ ใ ห้ สั ม ภาษณ์ ก ล่ า วไว้ ว่ า กิจกรรมกำ�หนดแนวเขตอนุรักษ์ในพื้นที่ โดยจะใช้ไม้ไผ่ปักในเขต
ในปัจจุบันมีการรวมตัวและมีการขึ้นทะเบียนหรือจดทะเบียน พืน้ ที่ ล้อมรัว้ ให้เป็นอาณาเขตทีช่ ดั เจน การสร้างซัง้ กอในพืน้ ทีต่ าม
เป็นกลุ่มเป็นชมรมต่างๆ ที่มีตัวตน อย่างเช่นในพื้นที่ตำ�บล แนวเขตที่ได้ทำ�ไว้รวมถึงการหาแนวทางการเพิ่มจำ�นวนสัตว์น้ำ�
แหลมโพธิ์ก็จะมีกลุ่มชมรมต่างๆ เกิดขึ้นมากมายโดยเฉพาะเรื่อง ธนาคารปูมา้ ในพืน้ ทีห่ มูท่ ี่ 4 บ้านดาโต๊ะ แต่มปี ญ
ั หาเรือ่ งความเค็ม
การจัดการทรัพยากรประมงก็จะมีกลุ่มชุมชนประมงท้องถิ่นของ ของน้ำ� เมื่อมีกิจกรรมต่างๆ เกี่ยวกับการอนุรักษ์จะมีการหารือ
แต่ละหมู่บ้าน มีรูปแบบมีระเบียบและมีโครงสร้างที่ชัดเจน ทำ�ให้ มีการประชุมแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชน อย่างเช่นปัญหาการ

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
96 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 97
ขุดลอกอ่าวปัตตานีที่สร้างปัญหาให้คนในชุมชนในด้านต่างๆ จากข้อมูลผู้ให้สัมภาษณ์คนที่ 9 และคนที่ 10 จะเห็นได้
แต่ประเด็นที่สำ�คัญคือชาวบ้านและคนในชุมชนได้เรียนรู้พัฒนา ว่ า ในปั จ จุ บั น รู ป แบบการจั ด การทรั พ ยากรรวมถึ ง ทรั พ ยากร
การตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันว่า การที่จะสร้างความเข้มแข็งในการ ทางการประมง มีการเปลี่ยนรูปแบบตามยุคตามสมัยจากในอดีต
ทำ�กิจกรรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเล ส่วนใหญ่จะเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
และชายฝัง่ การยืน่ ข้อเสนออะไรต่างๆ ให้กบั หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง รวมถึงการจัดการทรัพยากรของคนในชุมชนโดยใช้จติ สำ�นึกในการ
จะต้องรวมกลุ่มเพื่อสร้างพลังในการต่อรอง ในการยื่นข้อเสนอ อนุรักษ์ทรัพยากร แต่ในช่วงระยะหลังๆ จนถึงปัจจุบันจิตสำ�นึก
แนะข้อตกลงของกลุ่มได้มากกว่าที่ไปเสนอหรือไปติดต่อเพื่อทำ� ต่างๆ อาจใช้ไม่ได้ผล ในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและ
กิจกรรมในรูปแบบเดิมๆ ที่ไม่มีการรวมกลุ่มเป็นกิจจะลักษณะ ชายฝั่งที่มีผู้ทำ�ลายล้างและผู้ท่ีใช้เครื่องมือที่ผิดกฎหมายในการ
ทำ�การประมงในพื้นที่ ทำ�ให้คนในชุมชนเปลี่ยนรูปแบบในการจัด
การทรัพยากรโดยการรวมกลุ่ม มีการจดทะเบียนขึ้นทะเบียนกับ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เพื่อให้ง่ายต่อการนำ�เสนอหรือต่อ
รองหรือร้องเรียนต่อหน่วยงานรวมถึงการออกกฎระเบียบต่างๆ
ที่ให้เป็นกำ�แพงในการดูแลรักษาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ที่มีประสบการณ์จากการผิดพลาดในอดีตที่ก่อปัญหาหลายๆ
อย่าง จากข้อมูลผู้ให้สัมภาษณ์เช่นเรื่องการใช้เครื่องมือทำ�ลาย
ล้างทำ�ให้ทรัพยากรสัตว์น้ำ�ในพื้นที่มีจำ�นวนลดลงอย่างรวดเร็ว
มีผลกระทบต่อชาวประมงพื้นบ้านทำ�ให้มีรายได้ลดลง ส่งผล
ให้คนในพืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่ยา้ ยไปทำ�งานในประเทศเพือ่ นบ้าน แต่ใน
ปัจจุบันเมื่อมีระเบียบรูปแบบและกฎระเบียบของคนในชุมชน
ในแต่ละกลุ่ม โดยเฉพาะทั้งหมด 4 หมู่บ้านในตำ�บลแหลมโพธิ์
อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี มีกลุ่มต่างๆ เกิดขึ้น เป็นกลุ่ม
ประมงท้องถิ่นของแต่ละชุมชน รวมถึงสมาคมประมงพื้นบ้าน
ชายแดนใต้ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ เป็นสื่อกลางในการออกแบบและ
วางแผนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง รวมถึง
ภาพที่ 14 แนวเขตอนุรักษ์ในอ่าวปัตตานี ทรัพยากรประมงให้มีความยั่งยืนของคนในชุมชนต่อไป

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
98 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 99
ผู้ให้ข้อมูลสำ�คัญคนที่ 11 ได้กล่าวว่าในปี พ.ศ2535 ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง และได้กล่าวอีกว่าจากคำ�ที่ว่าชาว
เครือข่ายชาวประมงพื้นบ้านในจังหวัดปัตตานี ได้รวมตัวเพื่อ ประมงพื้นบ้านในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ที่นับถือศาสนา
การประท้วงคัดค้านไม่ให้การทำ�ประมงด้วยเครือ่ งมือผิดกฎหมาย อิสลามนั้นส่วนใหญ่เป็นคนขี้เกียจ ไม่สู้งานแต่พอเดินเข้าไป
เข้ามาทำ�ในพื้นที่เขตชายฝั่ง ได้แก่ เรือปั่นไฟปลากะตัก อวนลาก ในชุมชนทำ�ให้รู้ถึงความเป็นอยู่ของชาวประมงพื้นบ้านที่นับถือ
อวนรุน มีการยื่นหนังสือต่อหน่วยงานรัฐ หลังจากนั้นมีองค์กร ศาสนาอิสลามที่ชัดเจนยิ่งขึ้น จากคำ�ว่าขี้เกียจทำ�ให้เข้าใจว่า
เอกชนมารวบรวมพีน่ อ้ งทีเ่ ป็นแกนนำ�ทีม่ คี วามกล้าในการปกป้อง ชาวประมงพื้นบ้านในพื้นที่ลงไปจับสัตว์นำ้�เท่าที่จำ�เป็นเท่านั้น
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ ของตนเองโดยมีเป้าหมายอันเดียว และจับมาเท่าที่สามารถเลี้ยงครอบครัวได้เพราะชาวบ้านถือว่า
กั น และได้ มี ก ารรวมกลุ่ ม เป็ น เครื อ ข่ า ยสมาพั น ธ์ ช าวประมง ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเป็นสิ่งที่พระเจ้า (อัลลอฮฺ) สร้าง
พื้นบ้านในพื้นที่ 6 จังหวัดภาคใต้ จัดประชุมครั้งแรกที่ตำ�บล ให้คนทุกคนเป็นเจ้าของร่วมกัน ดังคำ�กล่าวของแกนนำ�ชุมชนเมือ่
แหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี และได้ตั้งนายนิราศ ประมาณปี พ.ศ.2530 ว่า เฮาะออแรฆามา ลงไปทำ�มาหากิน
อาแว เป็นประธานเครือข่ายสมาพันธ์ชาวประมงพื้นบ้านภาคใต้ ทุกวันเอาวันละน้อยๆ และไม่ฟุ่มเฟือย ทำ�ให้นึกถึงการทำ�มา
คนแรก และมีการประชุมหารือถึงแนวทางการจัดการทรัพยากร หากินของนก และเปรียบเทียบได้ว่าชาวประมงพื้นบ้านในแถบนี้
ทางทะเลและชายฝัง่ ในปัจจุบนั จากเครือข่ายสมาพันธ์ชาวประมง อยู่ อ ย่ า งนก คื อ จั บ สั ต ว์ น้ำ � เท่ า ที่ จำ � เป็ น และพอใช้ จ่ า ยของ
พื้นบ้านภาคใต้มีสมาชิกทั้งหมด 13 จังหวัดภาคใต้และต่อมาได้มี ครอบครัวเท่านั้น ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาทำ�ให้คนในชุมชนได้รู้จัก
สมาชิกชาวประมงพื้นบ้านจังหวัดต่างๆ เข้าร่วมเป็น 22 จังหวัด นักวิชาการที่เข้าไปมีบทบาทในการจัดการทรัพยากรทางทะเล
ได้ทำ�การจดทะเบียนเป็นสมาคมสมาพันธ์ชาวประมงพื้นบ้าน และชายฝัง่ ร่วมกับชุมชน โดยเฉพาะนักวิชาการจากมหาวิทยาลัย
ภาคใต้ โดยมีนายสะมะแอ เจะมูดอ เป็นนายกคนแรกจนถึงปัจจุบนั สงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี ที่เข้าไปมีส่วนร่วมในการรวม
ผูใ้ ห้ขอ้ มูลสำ�คัญคนที่ 12 ได้กล่าวว่าประมาณปี พ.ศ.2525 กลุ่มของชาวประมงพื้นบ้าน และคนในพื้นที่ ฟื้นฟูและจัดการ
ได้มกี ารสำ�รวจพืน้ ทีเ่ กีย่ วกับการทำ�มาหากินของนกในแถบชายฝัง่ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ให้มีความสมบูรณ์ตั้งแต่อดีต
ได้ลงพื้นที่ตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี เป็น จนถึงปัจจุบันร่วม 40 กว่าปี แต่ได้ข้อคิดอีกอย่างหนึ่งว่าปัญหาที่
ครั้งแรก มีการพบปะหารือกับชาวบ้านในชุมชนประมงพื้นบ้าน เกิดขึ้นในปัจจุบันเป็นปัญหาจากความโลภมากของคน แต่คิดว่า
ในพื้นที่ ส่วนใหญ่เป็นชาวประมงพื้นบ้านที่นับถือศาสนาอิสลาม ปั ญ ญาเท่ า นั้ น ที่ จ ะแก้ ปั ญ หาได้ แ ละชุ ม ชนก็ เ หมื อ นกั บ ลู ก โป่ ง
และมีความสนใจร่วมแลกเปลี่ยนให้ข้อมูลเกี่ยวกับชนิดของนก ลมที่ อ ยู่ ใ นลู ก โป่ ง ก็ คื อ ปั ญ หาที่ เ กิ ด ขึ้ น ในชุ ม ชนถ้ า ลมยิ่ ง เพิ่ ม
และการทำ�มาหากินของนก นำ�ไปสู่ความสนใจในการจัดการ มากขึ้นลูกโป่งก็ยิ่งจะพองโต แต่ถ้ามีการแก้ปัญหาลมในลูกโป่ง

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
100 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 101
ก็จะอ่อนลง แต่ถ้าปัญหาสะสมเรื่อยๆ ลูกโป่งก็จะแตก เหมือน ความช่วยเหลือชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากโครงการขนาดใหญ่
ชุมชนจะระเบิด และคนในชุมชนจะตืน่ ตัวในการจัดการทรัพยากร รายการนี้รวมถึงการประชุมหารือ เพื่อหาแนวทางของหน่วยงาน
ทางทะเลและชายฝัง่ สังเกตได้จากปัจจุบนั แต่ละพืน้ ทีจ่ ะมีการรวม ที่เกี่ยวข้องเพื่อจะแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจนถึงปัจจุบันนี้
กลุ่มเพื่อการอนุรักษ์และจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ของพื้นที่ตนเองให้สามารถใช้ได้ไปถึงชั่วลูกชั่วหลานต่อไป 4.4 การสัมภาษณ์กลุ่ม (Group Interview)
ผูใ้ ห้ขอ้ มูลสำ�คัญคนที่ 13 จากประสบการณ์ท�ำ งานในพืน้ ที่ เป็นการสัมภาษณ์กลุ่มแกนนำ�ชุมชนที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
ตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ได้มีสายสัมพันธ์ เกี่ยวกับองค์ความรู้การทำ�ประมงพื้นบ้าน วิถีชีวิตชุมชนประมง
ซึ้งกับคนในพื้นที่ชาวประมงพื้นบ้านในช่วงแรกตอนที่เข้าทำ�งาน พื้นบ้านและรูปแบบการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ใหม่ๆ ในพื้นที่ตำ�บลแหลมโพธิ์จะมีความอุดมสมบูรณ์มากที่สุด ซึ่งมีข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ดังนี้
มีการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง โดยวิธีทางธรรมชาติ
ต่ อ มาระยะหลั ง มี เ ครื่ อ งมื อ ทำ � ประมงเข้ า มาหลากหลายชนิ ด
เครื่องมือประมงที่ผิดกฎหมายทำ�ลายล้างสูง ทำ�ให้คนในชุมชน
ต้องมีการปรับตัวและมีการต่อสูเ้ พือ่ ความอยูร่ อดของคนในชุมชน
โดยเฉพาะเรื่องการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ซึ่งเป็น
แหล่งหากินของคนในชุมชนเริ่มมีการพัฒนาหลายๆ ครั้งที่ทำ�ให้
เกิดผลกระทบต่อการดำ�รงชีวิตของคนในชุมชนไม่ว่าจะเป็นการ ภาพที่ 15 การสัมภาษณ์กลุ่ม
ขุดลอกร่องน้ำ� การขุดลอกอ่าวปัตตานี วิถีชีวิตและสัตว์น้ำ�บาง
ชนิ ด ได้ รั บ ผลกระทบ ในปั จ จุ บั น ได้ มี ก ารรวมตั ว และได้ มี ก าร ภูมิปัญญาองค์ความรู้ที่ใช้ในการประกอบอาชีพประมง
ส่งเสริมกลุ่มประมงพื้นบ้านในพื้นที่ให้มีการรวมกลุ่มและสามารถ พื้ น บ้ า น เป็ น องค์ ค วามรู้ ที่ ไ ด้ รั บ การถ่ า ยทอดมาจากตั้ ง แต่
กำ�หนดทิศทางของตนเองในการต่อสู้เพื่อรักษาทรัพยากรทาง บรรพบุรุษจากรุ่นสู่รุ่น โดยใช้ทฤษฎีการจัดการความรู้ (Know-
ทะเลและชายฝั่งให้สมบูรณ์ แต่ปัญหาหนักที่สุดคือการขุดลอก ledge Management Process) ในขั้นตอนต่างๆ เพื่อรวบรวม
อ่าวปัตตานีครั้งใหญ่ที่ใช้งบประมาณกว่า 700 ล้านบาท เกิดผล องค์ความรูท้ มี่ อี ยูจ่ ากอดีตและยังมีการใช้อยูใ่ นปัจจุบนั ทีใ่ ช้ในการ
กระทบความเป็ น อยู่ ข องชาวประมงพื้ น บ้ า นมี ก ารรวมตั ว ยื่ น ดำ�รงชีวิตของชาวประมงพื้นบ้านในพื้นที่ตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอ
หนังสือต่อสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรเข้ามามีส่วนดูแลและให้ ยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
102 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 103
4.4.1 ทิศทางลม 6) ลมตะวันตกเฉียงใต้ ช่วงเดือนพฤษภาคมถึงมิถุนายน
สภาพทางภูมิศาสตร์ของตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง เป็นลมที่พัดจากภูเขาพัดเข้ามาพร้อมกลิ่นหอมของมวลดอกไม้
จังหวัดปัตตานี เป็นพื้นดินที่ยื่นลงไปในทะเลดูลักษณะเป็นปลาย 7) ลมตะวันตก หรือทีช่ าวบ้านเรียกว่า “อางิงบาระตือปะ”
แหลม โดยมีน้ำ�ทะเลล้อมรอบเมื่อมีกระแสลมหลักมีลมเหนือ ในช่วงเย็นจะมีลมแรง บางวันฝนตกหนัก เพราะได้รับอิทธิพล
ลมใต้ ลมตะวันออก ลมตะวันตก และทางลมภูมิปัญญาชาวบ้าน จากฝั่งทะเลอันดามัน
ที่ใช้ในการทำ�ประมงพื้นบ้านจะแยกย่อยเป็นลม 8 ทิศดังนี้ 8) ลมตะวันตกเฉียงเหนือ หรือชาวบ้านเรียกว่า “อางิง
1) ลมเหนื อ หรื อ อางิ ง ตารอ จากทิ ศ เหนื อ เข้ า หาฝั่ ง บาระลาโอะ” จะอยู่ในช่วงเดือนตุลาคมถึงพฤศจิกายนเป็นช่วง
ประมาณเดือนมิถนุ ายนถึงเดือนกรกฎาคม กลางวันลมจะพัดสบาย ลมพัดแรง บางครั้งทำ�ให้มีบ้านเรือนเสียหายจะพัดมาตอนกลาง
ลมทะเลจะเรียบสงบจนมีคำ�ว่า “ลิงเพลินจนตกต้นไม้” สามารถ คืนช่วงหัวค่ำ�
ออกทะเลได้
2) ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณเดือนมิถุนายนถึง 4.4.2 กระแสน้ำ�
เดือนกรกฎาคม จะเป็นช่วงฤดูร้อนน้ำ�ในอ่าวปัตตานี จะร้อนจัด ลักษณะทางภูมิประเทศของตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอ
จนทำ�ให้ปลาบางชนิดตายหรือหนีลงไปน้ำ�ลึก ยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี มีลักษณะแหลมยื่นในทะเลทำ�ให้เกิดอ่าว
3) ลมตะวันออก ช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนมกราคม ปั ต ตานี ห รื อ ที่ เ รี ย กว่ า ทะเลใน ส่ ว นอี ก ด้ า นหนึ่ ง จะเป็ น ทะเล
อยู่ ใ นฤดู ม รสุ ม จากอิ ท ธิ พ ลลมทะเลจี น ใต้ ทำ � ให้ ฝ นตกชุ ก อ่าวไทยทำ�ให้กระแสน้�ำ มีอทิ ธิพลต่อการดำ�รงชีวติ ของชาวประมง
คลื่นลมแรง พื้นบ้านที่ทำ�มาหากินในพื้นที่โดยเฉพาะการทำ�ประมงพื้นบ้าน
4) ลมตะวันออกเฉียงใต้ ช่วงเดือนมกราคมถึงกุมภาพัน ในพื้นที่ทะเลในอ่าวปัตตานี แต่ในอ่าวปัตตานีจะเป็นกระแสน้ำ�ที่
ธ์จะเป็นช่วงคลื่นลมแรงฝนตกหนักในบางช่วงกลางวันลมแรง ไหลไม่แรงจึงทำ�ให้เกิดการทับถมของตะกอนจากคลองน้�ำ จืดต่างๆ
ส่วนกลางคืนลมเบาและพัดอากาศเย็นขึ้นมาสู่ฝั่ง กลายเป็นดินเลนและดอนเกิดขึ้นในบริเวณอ่าวปัตตานีกลายเป็น
5) ลมใต้ ช่ ว งเดื อ นมี น าคมถึ ง เมษายนเข้ า สู่ ฤ ดู ร้ อ น แหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำ�หลายๆ ชนิด ทำ�ให้เป็นป่าชายเลน
บางช่วงลมแรงพัดจนบ้านเรือนเสียหาย ทีม่ คี วามอุดมสมบูรณ์จงึ เป็นทีอ่ ยูอ่ าศัยของสัตว์น�้ำ วัยอ่อน รวมถึง
การขยายพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์น้ำ�ได้หลายชนิด

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
104 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 105
4.4.3 ฤดูกาลของสัตว์น้ำ� ในพื้นที่ต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญเรื่องน้ำ�ขึ้นน้ำ�ลงที่เป็นปัจจัย
เป็นองค์ความรู้ภูมิปัญญาของผู้ประกอบอาชีพประมง หนึ่งในการประกอบอาชีพประมงพื้นบ้านในพื้นที่ตำ�บลแหลม-
พื้นบ้านตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ที่ใช้ โพธิ์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
องค์ความรู้ทิศทางลม กระแสน้ำ� ที่ถ่ายทอดมาตั้งแต่บรรพบุรุษ
จนถึงปัจจุบันทำ�ให้ชาวประมงพื้นบ้านในพื้นที่ตำ�บลแหลมโพธิ์ การวิเคราะห์ข้อมูลการจัดการทรัพยากรทางทะเล
อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี สามารถเรียนรู้ได้ว่าฤดูกาลไหน และชายฝั่งโดยใช้ทฤษฎีระบบในพื้นที่
สั ต วน้ำ � ชนิ ด ไหนมี เ ป็ น จำ � นวนมาก เพราะสั ต ว์ น้ำ � แต่ ล ะชนิ ด ตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
จะวางไข่ อพยพ หาอาหาร หลบภัยธรรมชาติและมรสุมที่
ปัจจัยนำ�เข้า กระบวนการ ผลผลิต
แตกต่างกัน จึงทำ�ให้ชาวประมงพื้นบ้านตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอ
ยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี สามารถปรับเปลี่ยนเครื่องมือที่ใช้ในการ 1. สถานที่ตั้งของชุมชน - ทำ�ให้เกิดการเจริญ - จำ�นวนสัตว์
ทำ�ประมงพื้นบ้านให้เหมาะสมกับชนิดของสัตว์น้ำ�ในช่วงเวลา ประมงพื้นบ้านตำ�บล เติบโตของสัตว์น้ำ� มีจำ�นวนเพิ่มขึ้น
แหลมโพธิ์ อำ�เภอ กระบวนการ จากเดิม มีการเพิ่ม
ให้ตรงตามจำ�นวนสัตว์น� ้ำ ทีม่ จี �ำ นวนมากในแต่ละช่วงแต่ละเดือน ยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี การเพาะพันธุ์ของ ความหลากหลาย
ได้ตลอดทั้งปี เป็นพื้นดินที่ยื่น สัตว์และเป็นแหล่ง ของสัตว์น้ำ�
ไปในทะเล ทางด้าน การเจริญเติบโตของ
4.4.4 น้ำ�ขึ้นน้ำ�ลงเป็นการไหลของกระแสน้ำ� ทิศเหนือเป็นทะเล สัตว์น้ำ�วัยอ่อน
อ่าวไทย ทิศใต้ติดอ่าว
ขึน้ ลงตามอิทธิพลของดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ท�ำ ให้เกิด
ปัตตานี มีป่าชายเลน
กระแสน้ำ�ไหลเวียนในพื้นที่ การประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน ที่ตลอดแนวชายฝั่ง
ทำ�ให้ชาวประมงมีวิธีใช้เครื่องมืออุปกรณ์ที่ต้องอาศัยกระแสน้ำ� อ่าวปัตตานี มีระบบ
ในการจัดสวนน้� ำ ต้องมีความรูใ้ นเรือ่ งน้�ำ ขึน้ น้�ำ ลงว่าช่วงไหนเวลา นิเวศ 3 น้ำ�คือ น้ำ�จืด
ไหนจะเป็นน้ำ�ขึ้นน้ำ�ลงอย่างเช่นการวางอวนลอยกุ้ง อวนลอย น้ำ�กร่อย น้ำ�เค็ม
ปลากระบอกที่ต้องอาศัยน้ำ�เป็นหรือน้ำ�ที่มีการไหลเวียนในช่วง 2. เกิดความอุดมสมบูรณ์ - เกิดการเรียนรู้ - ทำ�ให้คนในพื้นที่
ระยะเวลาสั้นๆ อยู่ที่ว่าน้ำ�ขึ้นน้ำ�ลงเพราะอุปกรณ์และเครื่องมือ มีความหลากหลาย วิถีชีวิตของการ ร้อยละ 70
บางชนิดไม่เหมาะที่จะนำ�ไปใช้ในช่วงจังหวะน้ำ�ตายหรือน้ำ�นิ่ง ทางชีวภาพของ ทำ�ประมงพื้นบ้าน ประกอบอาชีพ
สัตว์น้ำ� สืบทอดมาจาก ประมงพื้นบ้าน
น้ำ�ขึ้นน้ำ�ลงในแต่ละวันจะเกิดขึ้นวันละ 2 ช่วงและในแต่ละเดือน รุ่นสู่รุ่น
จะเกิ ด ขึ้ น เป็ น ช่ ว งข้ า งขึ้ น ข้ า งแรม ดั ง นั้ น ชาวประมงพื้ น บ้ า น

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
106 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 107
ปัจจัยนำ�เข้า กระบวนการ ผลผลิต ปัจจัยนำ�เข้า กระบวนการ ผลผลิต

3. หลักการทางศาสนา - ชุมชนประชุมตกลง - ข้อตกลงของคน 7. กระบวนการพัฒนา - การขุดลอก - ทิศทาง


อิสลามเรื่องการใช้ ร่วมกัน นำ�หลักการ ในชุมชนอิสลาม ของภาครัฐ การบุกรุก อ่าวปัตตานี การไหลของน้ำ�
ทรัพยากรร่วมกัน ทางศาสนามา และศาสนาอื่น ป่าชายเลน การตัดไม้จาก เปลี่ยนทิศทาง
(เฮาะออแรฆามา) ประยุกต์ใช้ในการ รอบอ่าวปัตตานี ป่าชายเลน - ทำ�ให้เกิดความ
ทรัพยากรเป็นสมบัติ จัดการทรัพยากร ห้ามออกทะเล เสื่อมเสริมของ
ของส่วนรวมให้ใช้ ในอ่าวปัตตานี จับสัตว์น้ำ� ระบบนิเวศ
เท่าที่จำ�เป็นต่อการ ทุกวันศุกร์ ป่าชายเลน
ดำ�รงชีวิต ไม่ฟุ่มเฟือย ใครฝ่าฝืนปรับเป็น - ทำ�ให้จำ�นวน
600-800 บาท สัตว์น้ำ�ลดลง
และผู้นำ�ทาง
ศาสนาจะไม่ 8. จำ�นวนสัตว์น้ำ�ลดลง - ผู้ประกอบอาชีพ - เกิดแนวคิดการ
เข้าร่วมพิธีกรรม ทำ�ให้เกิดความลำ�บาก ประมงพื้นบ้าน จัดการทรัพยากร
ทางศาสนาที่บ้าน ในการประกอบอาชีพ เริม่ มีการคุยกัน ทางทะเลและ
ของคนที่ฝ่าฝืน ประมงพื้นบ้าน ชายฝั่ง
ข้อตกลง - เกิดการรวมกลุ่ม
4. การใช้เครื่องมือจับ - การใช้เครื่องมือ - จำ�นวนสัตว์น้ำ� ของชาวประมง
สัตว์น้ำ�ที่ทันสมัย ผิดกฎหมาย ลดลงอย่างรวดเร็ว พื้นบ้าน
ที่ทำ�ให้จับสัตว์น้ำ�ได้ - เกิดความขัดแย้ง - เกิดแกนนำ�ประมง
จำ�นวนครั้งละมากๆ พื้นบ้าน
จากบุคคลภายนอก
9. แกนนำ�กลุ่มของ - ประสานงาน - มีการจัดตั้งกลุ่ม
5. เกิดการแย่งชิง - รวมกลุ่มเฝ้าระวัง - เกิดชุดเฝ้าระวัง ประมงพื้นบ้าน กับหน่ายงานราช ชุมชนประมง
ทรัพยากรสัตว์น้ำ� หน้าบ้านตัวเอง - แก้ปัญหาโดยการ และองค์กรพัฒนา ท้องถิ่นทั้ง
- ประชุมหาแนวทาง ใช้กำ�ลัง เอกชน ที่เกี่ยวข้อง 4 หมู่บ้าน

6. ปัญหายังไม่ได้รับการ - การประชุมของ - เกิดมาตรการ 10. กลุ่มชุมชนประมง - เกิดการประชุม - ที่ประชุมมีแนวคิด


แก้ไข เครือข่าย ควบคุม พรบ. ท้องถิ่นทั้ง 4 หมู่บ้าน วางแผนจัดการ ในการอนุรักษ์
- ประท้วงหน้า กำ�หนดแนวเขต ทรัพยากร ทรัพยากร
ศาลากลาง และเครื่องมือ - ศึกษาดูงานชุมชน
ที่ทำ�หลายล้าง ประมงต้นแบบ

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
108 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 109
การวิเคราะห์ข้อมูลจากการใช้ทฤษฎีระบบ สรุปได้
ปัจจัยนำ�เข้า กระบวนการ ผลผลิต
ดังนี้คือ
11. การศึกษาดูงาน - ประชุมกลุ่ม - การทำ�ซั้งก่อ ปัจจัยนำ�เข้า (Input) สถานที่ตั้งชุมชนประมงพื้นบ้าน
ซั้งเชือก
- การปลูกป่าชายเลน
ตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริง่ จังหวัดปัตตานี เป็นพืน้ ดินยืน่ เป็น
- การปักไม้ไผ่ แหลมเข้าในทะเล รูจ้ กั ในนามแหลมตาชีจากพืน้ ทีท่ ยี่ นื่ ลงไปทำ�ให้
ทำ�แนวเขตอนุรักษ์ มีทะเลขนาบข้างโดยทิศเหนือติดกับทะเลอ่าวไทย ทิศใต้ติดกับ
- การทำ�ธนาคารปูมา้
- ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำ�
ทะเลในหรือที่เรียกว่าอ่าวปัตตานีที่มีแม่น้ำ�ปัตตานีและสายน้ำ�
คลองน้�ำ จืดจากพืน้ ทีร่ อบอ่าวไหลลงสูอ่ า่ วปัตตานี เกิดระบบนิเวศ
12. การอนุรกั ษ์ทรัพยากร - สัตว์น้ำ�เข้ามา - ทำ�ให้ชาวประมง 3 น้�ำ คือ น้�ำ จืด น้�ำ กร่อย น้�ำ เค็ม ป่าชายเลนอยูต่ ลอดแนวชายฝัง่
ทางทะเลและชายฝั่ง อาศัยใช้เป็นพื้นที่ พื้นบ้านจับสัตว์น้ำ�
การขยายพันธุ์ ได้เพิ่มขึ้น อ่าวปัตตานี ก่อให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ ความหลากหลายทาง
- ชีวิตความ ชีวภาพ เป็นแหล่งขยายพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์น้ำ�
เป็นอยู่ดีขึ้น วัยอ่อน มีสตั ว์น�้ำ มากทัง้ ชนิดและจำ�นวน ทำ�ให้คนในชุมชนตำ�บล
13. จากความอุดม - คนในชุมชนบางกลุม่ - ทรัพยากรสัตว์น้ำ� แหลมโพธิ์ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้านถึงร้อยละ 70
สมบูรณ์ของ ใช้เครื่องมือ ลดลง ต่อมา การทำ�ประมงด้วยเครื่องมือที่ทันสมัยประเภท
ทรัพยากรในพื้นที่ ทำ�ประมงที่ผิด ทำ�ลายล้างจากคนภายนอกเข้ามาทำ�ประมงในพื้นที่อ่าวปัตตานี
อ่าวปัตตานี กฎหมายลอบพับ
(ไอโง่) และพื้ น ที่ ใ กล้ เ คี ย งทำ � ให้ สั ต ว์ น้ำ � ลดลงอย่ า งรวดเร็ ว เกิ ด การ
รวมตัวของชาวประมงพื้นบ้านเพื่อหาแนวทางป้องกันทรัพยากร
14. กลุ่มประมงพื้นบ้าน - โดยการประสานงาน - หน่วยงานที่เกี่ยว
ทั้ง 4 หมู่บ้าน กับหน่วยงาน มาปราบปราม สัตว์น้ำ�โดยวิธีการเฝ้าระวัง รวมกลุ่มประท้วงเพื่อยื่นข้อเสนอ
ประชุมปรึกษา ราชการที่มีหน้าที่ - นำ�เรื่องเข้าสู่ ต่อหน่วยงานภาครัฐ กระบวนการพัฒนาของภาครัฐในรอบอ่าว
หารือเพื่อหา ป้องกันและ คณะกรรมการ ปัตตานี คือ การขุดลอกร่องน้ำ� ขุดลอกอ่าวและชายฝั่ง การนำ�
แนวทางในการ ปรามปราบ ประมงจังหวัดและ
แก้ปัญหา ได้ออกประกาศ
องค์ ค วามรู้ จ ากการไปศึ ก ษาดู ง านพื้ น ที่ ชุ ม ชนประมงต้ น แบบ
ห้ามใช้เครื่องมือ มาจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง การบุกรุกป่าชายเลน
ผิดกฎหมายใน ของคนในชุมชน ทำ�ให้เกิดความเสือ่ มโทรมของทรัพยากร จำ�นวน
พื้นที่อ่าวปัตตานี
สั ต ว์ น้ำ � ลดลงเกิ ด ความลำ � บากในการประกอบอาชี พ ประมง
ตารางที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พื้นบ้าน แกนนำ�กลุ่มชาวประมงพื้นบ้านของชุมชนทั้ง 4 ชุมชน
โดยใช้ทฤษฎีระบบในพื้นที่ตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
110 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 111
เกิดการจัดตัง้ กลุม่ ชุมชนประจำ�ท้องถิน่ ทัง้ 4 หมูบ่ า้ น มีแนวคิดการ ผลผลิต (Product) ความอุดมสมบูรณ์ของอ่าวปัตตานี
อนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งมาประยุกต์ใช้เกิดความ มีปริมาณสัตว์น้ำ�จำ�นวนมาก คนในชุมชนเกิดองค์ความรู้ในการ
อุดมสมบูรณ์ ต่อมามีการใช้เครือ่ งมือทำ�ประมงทีผ่ ดิ กฎหมายของ ประกอบอาชี พ ประมงพื้ น บ้ า นที่ เ ป็ น เอกลั ก ษณ์ เ ฉพาะ เช่ น
คนในชุมชนบางกลุ่มคือการใช้ลอบพับ (ไอโง่) และมีการประชุม องค์ความรูเ้ รือ่ งทิศทางลม กระแสน้� ำ น้�ำ ขึน้ น้�ำ ลง วิธกี ารจับสัตว์น�
้ำ
ปรึกษาหารือเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาการใช้เครื่องมือ เครือ่ งมือจับสัตว์น� ้ำ การผลิตเรือ อวน เป็นต้น ความรักหวนแหน
ทำ�ประมงที่ผิดกฎหมาย โดยการประสานงานกับหน่วยงานที่รับ ต่อฐานทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ จากการใช้เครือ่ งมือทำ�การ
ผิดชอบมาปราบปรามเครื่องมือประมงที่ผิดกฎหมายต่อไป ประมงทำ�ลายล้างสูง เช่น อวนรุน อวนลาก เรือปั่นไฟ เกิดการ
กระบวนการ (Process) กระบวนการเรียนรู้ในการ รวมกลุ่มของคนในพื้นที่เพื่อดูแล รักษาและปกป้อง การรวมกลุ่ม
ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้านที่เป็นเอกลักษณ์ของคนในชุมชน เครือข่ายชาวประมงพื้นบ้าน เพื่อยื่นขอเสนอให้กับหน่วยงานรัฐ
ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นจนถึงปัจจุบัน กระบวนการเรียนรู้อยู่ร่วม ส่งผลให้เกิดมาตรการ พรบ.การกำ�หนดแนวเขต รวมถึงข้อบังคับ
กับฐานทรัพยากร การนำ�หลักการศาสนาอิสลามมาประยุกต์ใช้ ต่างๆ จากหน่วยงานรัฐ การพัฒนาของหน่วยงานรัฐการขุดลอก
การพูดคุยที่ท่าเรือ การพบปะแลกเปลี่ยนพูดคุยตามร้านน้ำ�ชา อ่าวปัตตานีเปลีย่ นทิศทางการไหลของน้� ำ เกิดความเสือ่ มโทรมของ
ก่อนและหลังออกทะเล การรวมกลุ่มปรึกษาหารือของคนใน ระบบนิเวศป่าชายเลนสัตว์น�้ำ ไม่มที อี่ ยูอ่ าศัย หลบภัย ขยายพันธุ์
ชุมชน การประชุมรับรู้ปัญหา คิด วิเคราะห์ หาแนวทางแก้ไข และเจริญเติบโต จำ�นวนสัตว์น้ำ�ลดลง เกิดความอยากลำ�บาก
ติ ด สิ น ใจและลงมื อ ปฏิ บั ติ ร่ ว มกั น เพื่ อ แก้ ปั ญ หาที่ ป ระสบอยู่ ในการทำ�ประมงพื้นบ้านจับสัตว์น้ำ�ได้น้อยลง เกิดภาวการณ์ขาด
กระบวนการต่อสู้กับการทำ�ประมงผิดกฎหมาย และการเรียกร้อง ทุนจากการทำ�ประมงพืน้ บ้าน การพูดคุยปรึกษาหารือแลกเปลีย่ น
ต่อหน่วยงานภาครัฐ การประชุมหารือเพื่อหาแนวทางการจัดการ
ในกลุ่มชาวประมงพื้นบ้าน เกิดความคิดในการอนุรักษ์ฯ โดยการ
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง การเดินทางไปศึกษาดูงานแลก
ไปศึ ก ษาดู ง านแลกเปลี่ ย นเรี ย นรู้ ก ารจั ด การทรั พ ยากรของ
เปลี่ยนเรียนรู้กับชุมชนประมงต้นแบบในพื้นที่อำ�เภอท่าศาลา
ชุมชนประมงต้นแบบตำ�บลท่าศาลา จังหวัดนครศรีธรรมราช
จังหวัดนครศรีธรรมราช กลับมาประชุมเพื่อหาแนวทางในการจัด
นำ � องค์ ค วามรู้ ท่ี ไ ด้ ก ลั บ มาประชุ ม วางแผนในการทำ � กิ จ กรรม
การทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง เกิดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน
อนุรกั ษ์ฯ โดยการทำ�ซัง้ กอ ปลูกป่าชายเลน สร้างแนวเขตอนุรกั ษ์
การสร้างแนวเขตอนุรักษ์ฯ การทำ�ซั้งกอ ธนาคารปูม้าและมีการ
ธนาคารปูม้าและมีมาตรการ รวมถึงการผลักดัน พรบ.ของรัฐ
ประสานงานกับหน่วยงานที่มีหน้าที่ในการปราบปรามเครื่องมือ
ทำ�ให้จำ�นวนทรัพยากรสัตว์น้ำ�เพิ่มจำ�นวนมากขึ้น
ประมงที่ผิดกฎหมายของคนในชุมชน

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
112 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 113
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 1 4. ลมตะวันออกเฉียงใต้ ช่วงเดือนมกราคมถึงกุมภาพัน
รวบรวมองค์ความรู้การทำ�ประมงพื้นบ้านในตำ�บลแหลมโพธิ์ ธ์จะเป็นช่วงคลืน่ ลมแรง ฝนตกหนักในบางช่วง กลางวันลมแรงส่วน
อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี กลางคืนลมเบาและพัดอากาศเย็นขึ้นมาสู่ฝั่ง สัตว์น้ำ�ที่จับได้
1. องค์ความรู้เรื่องทิศทางลม
ในช่วงนี้ ได้แก่ ปูม้า ปลากระบอก ปลาดุกทะเล กุ้ง
สภาพทางภูมิศาสตร์ของตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง
จังหวัดปัตตานี เป็นพื้นดินที่ยื่นลงไปในทะเลดูลักษณะเป็นปลาย 5. ลมใต้ ช่วงเดือนมีนาคมถึงเมษายน เข้าสู่ฤดูร้อน
แหลมโดยมีน�้ำ ทะเลล้อมรอบเมือ่ มีกระแสลม กระแสลมหลักก็จะมี บางช่วงลมแรงพัดจนบ้านเรือนเสียหาย สัตว์น้ำ�ที่จับได้ในช่วงนี้
ลมเหนือ ลมใต้ ลมตะวันออก ลมตะวันตกและทิศทางลมเป็น ได้แก่ ปูม้า ปลากระบอก กุ้ง ปูดำ� ปลาเก๋า
ภูมิปัญญาชาวบ้านที่ใช้ในการทำ�ประมงพื้นบ้าน 6. ลมตะวันตกเฉียงใต้ ช่วงเดือนพฤษภาคมถึงมิถุนายน
ทำ�ให้ชาวประมงสามารถรับรู้ทิศทางลมแต่ช่วงระยะเวลา เป็นลมที่พัดจากภูเขาพัดเข้ามาพร้อมกลิ่นหอมของมวลดอกไม้
ที่มีความสัมพันธ์กับชนิดของสัตว์น้ำ�ที่ชาวประมงพื้นบ้านจับใน สัตว์น้ำ�ที่จับได้ในช่วงนี้ ได้แก่ กุ้ง หอยแครง ปลาดุกทะเล ปูดำ�
บริเวณอ่าวปัตตานีมีดังต่อไปนี้
ปูม้า
1. ลมเหนื อ หรื อ อางิ ง ตารอ จากทิ ศ เหนื อ เข้ า หาฝั่ ง
ช่วงประมาณเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม กลางวันลมจะ 7. ลมตะวันตก หรือทีช่ าวบ้านเรียกว่า “อางิงบาระตือปะ”
พัดสบาย ลมทะเลจะเรียบสงบจนมีคำ�ว่า “ลิงเพลินจนตกต้นไม้” ช่วงเดือนสิงหาคมถึงกันยายน ในช่วงเย็นจะมีลมแรง บางวันฝนตก
สามารถออกทะเลได้ในช่วงนี้ จะจับสัตว์น้ำ�ได้จำ�นวนน้อยและ หนัก เพราะได้รับอิทธิพล จากฝั่งทะเลอันดามัน สัตว์น้ำ�ที่จับได้
เป็นช่วงไม่มีสัตว์น้ำ�ให้จับเพราะเป็นช่วงที่มีอุณหภูมิสูงทำ�ให้สัตว์ ในช่วงนี้ ได้แก่ กุ้ง ปูม้า ปูดำ�ไข่ ปลาดุกไข่ ปลากระบอก ปลาเก๋า
บางชนิดตายและบางชนิดหนีไปลงน้ำ�ลึก 8. ลมตะวันตกเฉียงเหนือ หรือชาวบ้านเรียกว่า “อางิง
2. ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือน
บาระลาโอะ” จะอยู่ในช่วงเดือนตุลาคมถึงพฤศจิกายน เป็นช่วง
กรกฎาคม จะเป็นช่วงฤดูร้อน น้ำ�ในอ่าวปัตตานีจะร้อนจัดจนทำ�
ให้ปลาบางชนิดตายหรือหนีลงไปน้ำ�ลึก ลมพัดแรงบางครัง้ ทำ�ให้มบี า้ นเรือนเสียหาย จะพัดมาตอนกลางคืน
3. ลมตะวันออก ช่วงเดือนธันวาคมถึงเดือนมกราคม อยู่ ช่วงหัวค่ำ�สัตว์น้ำ�ที่จับได้ในช่วงนี้ ได้แก่ ปลากระบอก กุ้ง ดังภาพ
ในฤดูมรสุมจากอิทธิพลลมทะเลจีนใต้ทำ�ให้ฝนตกชุก คลื่นลมแรง ที่ 16
สัตว์น้ำ�ที่จับได้ในช่วงนี้ ได้แก่ ปลากระบอก กุ้ง ปูม้า ปูดำ�
ลูกปลาเก๋า

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
114 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 115
กลายเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำ�หลายๆ ชนิด และเป็น
ป่าชายเลนที่มีความอุดมสมบูรณ์จึงเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำ�
วัยอ่อนรวมถึงการขยายพันธุ์และการเจริญเติบโตของสัตว์น้ำ�
ได้หลายชนิด
การไหลของกระแสน้�ำ ขึน้ น้�ำ ลงตามอิทธิพลของดวงจันทร์
และดวงอาทิตย์ท�ำ ให้เกิดกระแสน้�ำ ไหลเวียนในพืน้ ทีก่ ารประกอบ
อาชีพประมงพื้นบ้านทำ�ให้ชาวประมงพื้นบ้านรู้วิธีใช้เครื่องมือ
อุ ป กรณ์ ที่ ต้ อ งอาศั ย กระแสน้ำ � ในการจั ด สวนน้ำ � ต้ อ งมี ค วามรู้
ในเรื่องน้ำ�ขึ้นน้ำ�ลงว่าช่วงไหนเวลาไหนจะเป็นน้ำ�ขึ้นน้ำ�ลงอย่าง
เช่นในช่วงน้ำ�ขึ้นเต็มจะมีการวางอวนลอยปลากระบอกและเมื่อ
น้ำ�ลงไหลแรงจะมีการวางอวนลอยกุ้ง และเมื่อน้ำ�เต็มที่สัตว์น้ำ�
ภาพที่ 16 ทิศทางลมที่มีความสัมพันธ์กับช่วงเวลา หลายชนิด เช่น ปละบอก ปลาขีต้ งั ปลาสลิดหิน จะเข้ามาหากินริมฝัง่
ในการจับสัตว์น้ำ�แต่ละชนิดในอ่าวปัตตานี
ที่มา: ดอเลาะ เจ๊ะแต, 2563 ชาวบ้านใช้การทอดแหจับสัตว์น� ้ำ พอน้�ำ เริม่ ลงชาวบ้านจะวางอวน
ปลากระบอกและอวนลอยกุ้งเพราะช่วงน้ำ�ลงความเชี่ยวของน้ำ�
จะแรงต้องอาศัยน้ำ�เป็นหรือน้ำ�ที่มีการไหลเวียนในช่วงระยะเวลา
2. องค์ความรู้เรื่องกระแสน้ำ�และน้ำ�ขึ้นน้ำ�ลง สั้นกว่าทำ�ให้สามารถพาอวนลอยกุ้งกวาดหน้าดินและวางจนกว่า
ลักษณะทางภูมิประเทศของตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอ น้�ำ เริม่ นิง่ และลดลงถึงทีส่ ดุ จะเป็นช่วงการหาหอยหน้าดิน งมหอย
ยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี มีลักษณะแหลมยื่นในทะเล ทำ�ให้เกิด หาปลาดุกทะเล ปูด� ำ เป็นวงจรการจับสัตว์น�้ำ ทีต่ อ้ ง อาศัยกระแสน้�

อ่าวปัตตานีหรือที่เรียกว่าทะเลใน ส่วนอีกด้านหนึ่งจะเป็นทะเล และน้ำ�ขึ้นน้ำ�ลงในอ่าวปัตตานี น้ำ�ขึ้นน้ำ�ลงในแต่ละวันจะเกิดขึ้น
อ่าวไทยทำ�ให้กระแสน้�ำ มีอทิ ธิพลต่อการดำ�รงชีวติ ของชาวประมง วันละ 2 ช่วงและในแต่ละเดือนจะเกิดขึ้นเป็นช่วง ข้างขึ้นข้างแรม
พื้นบ้านที่ทำ�มาหากินในพื้นที่โดยเฉพาะการทำ�ประมงพื้นบ้าน ดังนั้นชาวประมงพื้นบ้านในพื้นที่จะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญ
ในพื้นที่ทะเลในอ่าวปัตตานีแต่ในอ่าวปัตตานีจะเป็นกระแสน้ำ� เรื่องน้ำ�ขึ้นน้ำ�ลงที่เป็นปัจจัยหนึ่งในการประกอบอาชีพประมง
ที่ไหลไม่แรงจึงทำ�ให้เกิดการทับถมของตะกอนจากคลองน้ำ�จืด พื้นบ้านในพื้นที่ตำ�บลแหลมโพธิ์ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ต่างๆ กลายเป็นดินเลนและสันดอนเกิดขึ้นในบริเวณอ่าวปัตตานี

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
116 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 117
พื้นบ้านให้เหมาะสมกับชนิดของสัตว์น้ำ� ในช่วงเวลาให้ตรงตาม
จำ�นวนสัตว์น้ำ�ที่มีจำ�นวนมากในแต่ละช่วงแต่ละเดือนได้ตลอด
ทั้งปี เนื่องจากในพื้นที่อ่าวปัตตานีมีความอุดมสมบูรณ์ ทำ�ให้
สัตว์บางชนิดเข้ามาเป็นจำ�นวนมากในบ้างช่วงเวลาอาจจะใช้ระยะ
เวลา 1-3 เดือน ก็จะออกไปจากอ่าวและจะมีสัตว์อื่นอพยพ
เข้ามาอาศัย หากิน ขยายพันธ์ อยู่ระยะหนึ่งและจะมีชนิดอื่น
เข้ามาอีกหมุนเวียนตลอดทั้งปี จึงเรียกว่าฤดูกาลของสัตว์ส่งผล
ให้ชาวประมงพื้นบ้านในอ่าวปัตตานีต้องปรับเปลี่ยนเครื่องและ
วิธีการต่างๆ ตามฤดูกาลของสัตว์น้ำ�ตามรายละเอียดดังต่อไปนี้

ระยะเวลา ชนิดสัตว์น้ำ� เครื่องมือที่ใช้


ภาพที่ 17 กระแสน้ำ�และน้ำ�ขึ้น น้ำ�ลง ในอ่าวปัตตานี 1 มกราคม-เมษายน กุ้ง (มีจำ�นวนมาก) อวนลอยกุ้ง
ที่มา: ดอเลาะ เจ๊ะแต, 2563
ปูม้า ปลากระบอก อวนปลากระบอก
ปูดำ� อวนปู ลอบปูดำ�
3. องค์ความรู้เรื่องฤดูกาลของสัตว์น้ำ� 2 พฤษภาคม-กรกฎาคม หอย (มีจำ�นวนมาก) อวนกุ้ง ลอบปู
เป็นองค์ความรู้ภูมิปัญญาของผู้ประกอบอาชีพประมง กุ้ง ปลาดุกทะเล เบ็ดราว
พื้ น บ้ า นตำ � บลแหลมโพธิ์ อำ � เภอยะหริ่ ง จั ง หวั ด ปั ต ตานี ที่ ใ ช้ ปูดำ� ปูม้า
องค์ความรู้ทิศทางลมกระแสน้ำ�ที่ถ่ายทอดมาตั้งแต่บรรพบุรุษ 3 สิงหาคม-ตุลาคม ปลาดุกทะเลไข่ เบ็ดราว ลอบปู
จนถึงปัจจุบันทำ�ให้ชาวประมงพื้นบ้านในพื้นที่ตำ�บลแหลมโพธิ์ ปูดำ�ไข่ อวนปลากระบอก
อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี สามารถเรียนรู้ได้ว่าฤดูกาลไหน ปู้ม้า ปลากระบอก ตกเบ็ด
ปลาเก๋า
สัตว์น้ำ�ชนิดไหนมีเป็นจำ�นวนมาก เพราะสัตว์น้ำ�แต่ละชนิดจะ
วางไข่ อพยพ หาอาหาร หลบภัยธรรมชาติ และมรสุมทีแ่ ตกต่างกัน 4 พฤศจิกายน-ธันวาคม ปลากระบอก กุ้ง อวนปลากระบอก
จึ ง ทำ � ให้ ช าวประมงพื้ น บ้ า นตำ � บลแหลมโพธิ์ อำ � เภอยะหริ่ ง อวนกุ้ง
จังหวัดปัตตานี สามารถปรับเปลีย่ นเครือ่ งมือทีใ่ ช้ในการทำ�ประมง ตางรางที่ 6 ฤดูกาลจับสัตว์น้ำ�ในอ่าวปัตตานี

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
118 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 119
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 ชุ ม ชนส่ ว นใหญ่ ป ระกอบอาชี พ ประมงพื้ น บ้ า นเวลาส่ ว นใหญ่
ศึกษาวิถีชีวิตของชาวประมงพื้นบ้านในการอนุรักษ์ทรัพยากร อยูใ่ นทะเลและจะใช้ชวี ติ อย่างนก คือ การใช้ทรัพยากรเท่าทีจ่ �ำ เป็น
ทางทะเลและชายฝั่งของตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัด ในแต่ ล ะวั น เปรี ย บเสมื อ นนกที่ ห ากิ น เท่ า ที่ ร่ า งกายต้ อ งการ
ปัตตานี ในแต่ละวัน พอตกค่ำ�ก็จะบินกลับที่นอน วันรุ่งขึ้นจะบินมาหา
พืน้ ทีช่ มุ ชนประมงพืน้ บ้านตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริง่ อาหารอีกครั้งโดยไม่มีการเก็บเผื่อไว้ในวันถัดไป คนในชุมชนก็
จังหวัดปัตตานี ประชาชนทัง้ หมดนับถือศาสนาอิสลาม การดำ�เนิน เช่นกันจะหาอาหารเพื่อให้เพียงพอในการบริโภคของครอบครัว
วิถชี วี ติ แบบเครือญาติชว่ ยเหลือเกือ้ กูลกัน ปฏิบตั ติ ามหลักการของ วันต่อวัน (จึงทำ�ให้บุคคลไม่นับถือศาสนาอิสลามเข้าใจว่าคนที่
ศาสนาเป็นหลักการศาสนาอิสลาม นำ�แนวคิดต่างๆ ตามหลัก นั บ ถื อศาสนาอิ ส ลามในชุ ม ชนประมงพื้ น บ้ า นเป็ น คนขี้ เ กี ย จ)
คำ�สอนของศาสนามาปฏิบัติอย่างเคร่งครัด การละหมาด 5 เวลา ซึ่งเป็นแนวทางที่สอดคล้องตามหลักคำ�สอนของศาสนาอิสลาม
การหยุดออกทำ�การประมงทุกวันศุกร์ และผู้ชายทุกคนต้องไป ว่าทรัพยากรต้องเป็นที่สิ่งที่อัลลอฮฺ สร้างเป็นสมบัติของทุกคน
ละหมาดซุฮรี (ละหมาดเวลาเที่ยง) รวมกันที่มัสยิด (ยามาอะฮฺ) ดังนั้นทุกคนเป็นเจ้าของต้องร่วมกันดูแลและปกป้องทรัพยากร
และวิถีปฏิบัติตั้งแต่สมัยอดีตและปัจจุบัน ถือว่าเป็นวันหยุดของ ให้มีความอุดมสมบูรณ์ ใช้อย่างประหยัดและให้เกิดประโยชน์
ชาวประมงพื้นบ้าน ห้ามออกทะเลจับสัตว์น้ำ�ในวันศุกร์ ถ้าฝ่าฝืน มากที่สุด ทำ�ให้ชุมชนเกิดจิตสำ�นึกในการจับสัตว์น้ำ�อย่างรับผิด
อาจจะถูกปรับเป็นเงินขึ้นต่อมัสยิดหรือโต๊ะอิหม่าม และผู้นำ�ทาง ชอบ โดยไม่ ใ ช้ เ ครื่ อ งมื อ ทำ � ลายล้ า งและทำ � ลายสิ่ ง แวดล้ อ ม
ศาสนาไม่ไปทำ�พิธกี รรมทางศาสนาให้กบั ครอบครัวนัน้ (ในการทำ� มีเรือขนาดเล็กใช้เป็นพาหนะในการทำ�ประมง ใช้ระบบครอบครัว
พิ ธี ก รรมทางศาสนาต้ อ งให้ ผู้ นำ � ทางศาสนาเป็ น ผู้ ดำ � เนิ น การ มีการแลกเปลี่ยนเรื่องราวของแต่ละคนตามร้านน้ำ�ชาหรือที่เรียก
ถ้าไม่ไปร่วมพิธีกรรมนั้นอาจไม่สมบูรณ์) จนกว่าเขาจะสำ�นึกและ สภากาแฟ ซึง่ เป็นสถานทีแ่ ลกเปลีย่ นถึงความเป็นอยูเ่ กีย่ วกับการ
ปฏิบัติตามข้อตกลงของชุมชน โดยจะยึดถือว่าทรัพยากรทั้งหมด ทำ�ประมงพื้นบ้านและเรื่องราวความเป็นอยู่ทุกข์ สุขในแต่ละวัน
อัลลอฮฺ (พระเจ้าในศาสนาอิสลาม) เป็นผู้สร้าง เป็นของทุกคน เช่น จำ�นวน ชนิดสัตว์น้ำ�ที่จับได้ จุดพิกัดของแหล่ง ที่จับสัตว์น้ำ�
(เฮาะออแรฆามา) สามารถใช้ ป ระโยชน์ เ พื่ อ การดำ � รงชี วิ ต เครื่องมือทำ�การประมงของแต่ละคนว่ามีผลเป็นอย่างไรบ้าง
ประจำ�วันได้ใช้ทรัพยากรให้คมุ้ ค่าและประหยัด ไม่ฟมุ่ เฟือย คนใน

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
120 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 121
ประมงพื้นบ้านร้อยละ 70 สืบทอดจากบรรพบุรุษจากรุ่นสู่รุ่น
โดยใช้องค์ความรูใ้ นการดำ�เนินชีวติ ตามวีถขี องชาวประมงพืน้ บ้าน
จนถึงปัจจุบัน
2. ปฏิ บั ติ ต ามหลั ก การทางศาสนาอิ ส ลามเรื่ อ งการใช้
ทรัพยากรร่วมกัน (เฮาะออแรฆามา) ทรัพยากรทั้งหมดอัลลอฮฺ
เป็นผูส้ ร้าง เป็นของส่วนรวมให้ใช้เท่าที่จำ�เป็นต่อการดำ�รงชีวติ ไม่
ฟุ่มเฟือย ชุมชนประชุมตกลงร่วมกันนำ�หลักการทางศาสนามา
ประยุกต์ใช้ในการจัดการทรัพยากรในอ่าวปัตตานี ข้อตกลงของ
คนในชุมชนอิสลามและศาสนาอืน่ รอบอ่าวปัตตานีหา้ มออกทะเล
จับสัตว์น้ำ�ทุกวันศุกร์ใครฝ่าฝืนปรับเป็นเงินประมาณ 600-800
บาทและผู้นำ�ทางศาสนาจะไม่เข้าร่วมพิธีกรรมทางศาสนาที่บ้าน
ของคนที่ฝ่าฝืนข้อตกลง
ภาพที่ 18 วิถีชีวิตชุมชนประมงพื้นบ้าน 3. ต่อมาชาวประมงพื้นบ้านจากพื้นที่ภายนอกและพื้นที่
รอบอ่าว เข้ามาทำ�การประมงเป็นจำ�นวนมากและใช้เครื่องมือ
ทีท่ นั สมัยจับสัตว์น�้ำ ได้จ�ำ นวนครัง้ ละมากๆ ประเภททำ�ลายระบบ
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 3 นิเวศที่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์และเจริญเติบโตของสัตว์น้ำ�วัยอ่อน
รู ป แบบการจั ด การทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝั่ ง ของชุ ม ชน ส่งผลให้ปริมาณสัตว์ลดลงอย่างรวดเร็วก่อให้เกิดความวิตกกังวล
ประมงพื้นบ้านตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ของคนในชุมชน
1. ด้วยที่ตั้งของชุมชนประมงพื้นบ้านตำ�บลแหลมโพธิ์ 4. การรวมกลุ่มของชาวประมงพื้นบ้านเพื่อการปกป้อง
อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี เป็นพื้นดินที่ยื่นทำ�ให้มีทะเลขนาบ ทรัพยากรสัตว์น้ำ� โดยการรวมกลุ่มเฝ้าระวัง ป้องกัน ไม่ให้เข้ามา
ทัง้ สองข้างเป็นอ่าวปัตตานี มีปา่ ชายเลนขึน้ รอบพืน้ ที่ มีสายน้�ำ ไหล ทำ�ประมงโดยใช้เครือ่ งมือทำ�ลายล้าง อวนลาก อวนรุน เรือปัน่ ไฟ
ลงสู่อ่าวหลายสาย ทำ�ให้เกิดความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากร ทำ�ลายระบบนิเวศในพื้นที่ที่เป็นแหล่งขยายพันธุ์และเจริญเติบโต
สัตว์น้ำ� ส่งผลให้คนในชุมชนตำ�บลแหลมโพธิ์ประกอบอาชีพ ของสัตว์น้ำ�วัยอ่อน

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
122 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 123
5. การรวมกลุ่มเครือข่ายประมงพื้นบ้านจังหวัดปัตตานี 10. ตั ว แทนและแกนนำ � กลุ่ ม ได้ ไ ปศึ ก ษาดู ง านชุ ม ชน
เมื่อผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้านในจังหวัดปัตตานีทราบข่าว ประมงต้ น แบบในการจั ด การทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝั่ ง
มารวมตัวกันโดยมิได้นัดหมาย ประท้วงเพื่อยื่นมาตรการต่อ นำ � องค์ ค วามรู้ สู่ ก ารประชุ ม กลุ่ ม เพื่ อ วางแผนการทำ � กิ จ กรรม
หน่วยงานรัฐในพื้นที่และมีองค์กรพัฒนาเอกชนเข้าร่วมสังเกต- อนุรักษ์ฯโดยมีกิจกรรมการทำ�ซั้งกอ การปักไม้ไผ่กำ�หนดแนวเขต
การณ์ นำ�ไปสูก่ ารออกมาตรการต่างๆ และ พ.ร.บ.ประมงเกีย่ วกับ อนุรักษ์ฯ การปลูกป่าชายเลน ธนาคารปูม้า ปล่อยพันธุ์สัตว์
งานอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 11. เกิดความร่วมมือของคนในชุมชนกับหน่วยงานของรัฐ
6. หน่วยงานองค์กรพัฒนาเอกชนเข้ามาสร้างกระบวน- เพื่อร่วมกันดูแลป้องกันปราบปรามการทำ�ประมงที่ผิดกฎหมาย
การ เพื่อให้เกิดการรวมกลุ่มเครือข่ายชาวประมงพื้นบ้าน ก่อให้ และดำ�เนินการจนถึงปัจจุบัน
เกิดเครือข่ายสมาพันธ์ชาวประมงพื้นบ้านภาคใต้
7. การพัฒนาจากหน่วยงานของรัฐ การขุดลอกร่องน้ำ�
การขุดลอกอ่าวและการบุกรุกป่าชายเลนของคนในชุมชน ทำ�ให้
ทิศทางการไหลของน้ำ�เปลี่ยนไป แหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำ�
เสื่อมโทรม จำ�นวนสัตว์น้ำ�ลดลง
8. ชาวประมงพื้นบ้านเริ่มมีการรวมกลุ่มพูดคุย ปรึกษา
หารือถึงปัญหาการประกอบอาชีพประมงพืน้ บ้าน ระบบนิเวศทีถ่ กู
ทำ�ลาย ทรัพยากรสัตว์น�้ำ ทีล่ ดลง จับสัตว์น�้ำ ได้นอ้ ยลง รายได้นอ้ ย
กว่ารายจ่ายเกิดภาวะการขาดทุน แกนนำ�ชาวประมงพื้นบ้าน
ประสานหน่ ว ยงานรั ฐ เพื่ อ หารื อ แนวทางแก้ ไ ขปั ญ หาที่ มี ผ ล
กระทบต่อการทำ�ประมงพื้นบ้าน
9. ได้มกี ารจัดตัง้ กลุม่ องค์กรประมงท้องถิน่ ในพืน้ ทีต่ �ำ บล
แหลมโพธิ์ทั้ง 4 ชุมชนเพื่อมีเป้าหมายในการทำ�กิจกรรมในการ
ฟื้นฟูทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งจากหน่วยงานของรัฐและ
เอกชน

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
124 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 125
บทที่ 5 องค์ความรู้ วิถีชีวิต และรูปแบบการจัดการทรัพยากรทางทะเล
สรุปผลการวิจัย และชายฝั่งในชุมชนประมงพื้นบ้านในตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอ
ยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี มีวัตถุประสงค์ 3 ข้อดังต่อไปนี้ 1.เพื่อ
และข้อเสนอแนะ รวบรวมองค์ ค วามรู้ ใ นการทำ � ประมงพื้ น บ้ า นในพื้ น ที่ ตำ � บล
แหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี 2.เพื่อศึกษาวิถีชีวิต
ของชาวประมงพื้นบ้านในการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝั่งของตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่งจังหวัดปัตตานี 3.เพื่อ
ศึกษารูปแบบการจัดการทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่งของคน
5.1 สรุปผลการวิจัย ในชุมชนตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี โดยมี
ประเทศไทยมีจงั หวัดทีต่ ดิ ชายฝัง่ ทะเลทัง้ หมด 23 จังหวัด วิธีการวิจัย 3 ขั้นตอนคือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาจากเอกสาร
จังหวัดปัตตานีเป็นจังหวัดหนึ่งที่มีพื้นที่ติดทะเล ประชากรจะ ได้แก่ ตำ�รา บทความ ข้อมูลงานวิจัย สื่อต่างๆ ที่มีผู้จัดทำ�ไว้แล้ว
ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้านเป็นจำ�นวนมาก ตำ�บลแหลมโพธิ์ เพื่อทำ�ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดการจัดการทรัพยากรทางทะเล
อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี เป็นพื้นที่หนึ่งที่ติดทะเลทั้ง 2 ด้าน และชายฝั่งโดยชุมชน รวมถึงรูปแบบและวิธีการต่างๆ ในการ
คืออ่าวปัตตานีและอ่าวไทยมีทงั้ หมด 4 หมูบ่ า้ น คนในพืน้ ทีน่ บั ถือ รวบรวมองค์ความรู้และวิถีชีวิตของชาวประมงพื้นบ้านในชุมชน
ศาสนาอิสลาม 100% คนส่วนใหญ่ 70% ประกอบอาชีพประมง ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาภาคสนามประกอบด้วย การสังเกตแบบ
พื้นบ้าน เพราะในอดีตทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งของชุมชน ไม่มีส่วนร่วม การสัมภาษณ์เชิงลึก การสัมภาษณ์กลุ่ม การ
ตำ�บลแหลมโพธิ์มีความอุดมสมบูรณ์ ต่อมามีบุคคลภายนอก ตรวจสอบแบบย้อนกลับ ขั้นตอนที่ 3 การรวบรวมข้อมูล ได้นำ�
เข้ามาทำ�ประมงโดยใช้เครื่องมือทำ�ลายล้างทำ�ให้ทรัพยากรทาง ทฤษฎีการจัดการความรูเ้ ป็นแนวทางการจัดเก็บความรูใ้ ห้ได้ขอ้ มูล
ทะเลและชายฝั่งเสื่อมโทรม ปริมาณสัตว์น้ำ�ลดลงทำ�ให้ชุมชน ที่ถูกต้องครบถ้วนมากที่สุด การตรวจสอบแบบสามเส้า คือข้อมูล
มีความลำ�บากในการดำ�รงชีวิต ชุมชนร่วมกันฟื้นฟู อนุรักษ์ ที่ได้จากเอกสาร การสังเกต การสัมภาษณ์ เพื่อให้ข้อมูลถูกต้อง
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งให้กลับมาอุดมสมบูรณ์จวบจน ครบถ้วน การวิจัย ผู้วิจัยได้ใช้ทฤษฎีการจัดการความรู้ ใช้การ
ปั จ จุ บั น ทำ �ให้ ผู้ วิ จั ย มี ค วามสนใจที่ จ ะเรี ย นรู้ แ ละศึ ก ษาเรื่ อ ง วิเคราะห์ขอ้ มูลในวัตถุประสงค์ขอ้ ที่ 1 และ 2 ใช้ทฤษฎีการจัดการ

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
126 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 127
ความรู้ แ ละทฤษฎี ร ะบบใช้ ก ารวิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล วั ต ถุ ป ระสงค์ สามารถออกทะเลได้ ในช่วงนี้อุณหภูมิสูงทำ�ให้สัตว์น้ำ�บางชนิด
ข้อที่ 3 ซึ่งมีผลการวิจัยดังนี้ ตายและบางชนิดหนีลงน้ำ�ลึก จะจับสัตว์น้ำ�ได้จำ�นวนน้อย
5.1.1 ผลการวิ จั ย ตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ข้ อ ที่ 1 2. ลมตะวันออกเฉียงเหนือ ประมาณเดือนมิถุนายน
เพื่อรวบรวมองค์ความรู้ในการทำ�ประมงพื้นบ้านในพื้นที่ตำ�บล ถึงเดือนกรกฎาคม เป็นฤดูร้อน น้ำ�ในอ่าวปัตตานีร้อนจัดจนทำ�
แหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี และได้ดำ�เนินการตาม ให้ปลาบางชนิดตายหรือหนีลงไปน้ำ�ลึก
ระเบียบวิธวี จิ ยั และใช้ทฤษฎีการจัดการความรูใ้ นการจัดเก็บข้อมูล 3. ลมตะวันออก ประมาณเดือนธันวาคมถึงเดือน
ตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า วิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลการวิจัย มกราคม อยูใ่ นฤดูมรสุมจากอิทธิพลลมทะเลจีนใต้ท�ำ ให้ฝนตกชุก
ได้องค์ความรู้ที่สำ�คัญต่อการทำ�ประมงพื้นบ้านในพื้นที่ตำ�บล คลื่นลมแรงสัตว์น้ำ�ที่จับได้ในช่วงนี้ ได้แก่ ปลากระบอก กุ้ง ปูม้า
แหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี 3 เรื่องดังนี้ ปูดำ� ปลาเก๋า
1. องค์ความรู้เรื่องทิศทางลม 4. ลมตะวันออกเฉียงใต้ ประมาณเดือนมกราคมถึง
ทีต่ งั้ ตำ�บลแหลมโพธิ์ เป็นพืน้ ดินยืน่ ลงไปในทะเลลักษณะ กุมภาพันธ์ มีคลื่นลมแรง ฝนตกหนักในบางช่วง กลางวันลมแรง
เป็นปลายแหลม (แหลมตาชี) อ่าวปัตตานีอยู่ทางทิศตะวันตก ส่วนกลางคืนลมเบา พัดอากาศเย็นเข้าฝัง่ สัตว์น�้ำ ทีจ่ บั ได้ในช่วงนี้
ทิ ศ เหนื อ และทิ ศ ตะวั น ออกเป็ น อ่ า วไทย น้ำ � ทะเลล้ อ มรอบ ได้แก่ ปูม้า ปลากระบอก ปลาดุกทะเล กุ้ง
3 ด้าน มีกระแสลมพัดหลักจาก 4 ทิศทางคือ ลมเหนือ ลมใต้ 5. ลมใต้ ประมาณเดือนมีนาคมถึงเมษายน เข้าสู่ฤดู
ลมตะวันออก ลมตะวันตก เมื่อพัดผ่านอ่าวปัตตานีจะเกิดเป็น ร้อนบางช่วงลมแรงพัดจนบ้านเรือนเสียหาย สัตว์น้ำ�ที่จับได้ใน
ลม 8 ทิศ องค์ความรู้เรื่องทิศทางลมเป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน ช่วงนี้ ได้แก่ ปูม้า ปลากระบอก กุ้ง ปูดำ� ปลาเก๋า
พื้นฐานที่ใช้ในการทำ�ประมงพื้นบ้าน ทิศทางลมแต่ละช่วงเวลา 6. ลมตะวันตกเฉียงใต้ เดือนพฤษภาคมถึงมิถุนายน
มีความสัมพันธ์กับชนิดของสัตว์น้ำ� เครื่องมือและวิธีการที่ชาว เป็นลมที่พัดจากภูเขา พัดเข้ามาพร้อมกลิ่นหอมของมวลดอกไม้
ประมงพื้นบ้านจับสัตว์น้ำ�ในบริเวณอ่าวปัตตานี มีดังต่อไปนี้ สัตว์น้ำ�ที่จับได้ ได้แก่ กุ้ง หอยแครง ปลาดุกทะเล ปูดำ� ปูม้า
1. ลมเหนือหรืออางิงตารอ พัดจากทิศเหนือเข้าหาฝั่ง 7. ลมตะวันตก หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า “อางิงบาระ
ประมาณเดือนมิถนุ ายนถึงเดือนกรกฎาคม กลางวันลมจะพัดเย็น ตือปะ” เดือนสิงหาคมถึงกันยายน ในช่วงเย็นจะมีลมแรงบางวัน
สบาย ลมทะเลจะเรียบสงบจนมีคำ�ว่า “ลิงเพลินจนตกต้นไม้” ฝนตกหนัก เพราะได้รับอิทธิพลลมมรสุมจากฝั่งทะเลอันดามัน

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
128 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 129
สัตว์น้ำ�ที่จับได้ในช่วงนี้ ได้แก่ กุ้ง ปูม้า ปูดำ�ไข่ ปลาดุกไข่ น้ำ�ตามกระแสน้ำ�ขึ้นน้ำ�ลง เช่น น้ำ�ขึ้นเต็มที่วางอวนลอยปลา
ปลากระบอก ปลาเก๋า กระบอก และเมื่อน้ำ�ลงไหลแรงวางอวนลอยกุ้ง เมื่อน้ำ�ขึ้นเต็มที่
8. ลมตะวันตกเฉียงเหนือ หรือชาวบ้านเรียกว่า “อางิง สัตว์น้ำ�หลายชนิด เช่น ปลากระบอก ปลาขี้ตัง ปลาสลิดหิน
บาระลาโอะ” ประมาณเดือนตุลาคมถึงพฤศจิกายน เป็นช่วง จะเข้ามาหากินริมฝั่ง ชาวบ้านใช้การทอดแหจับสัตว์น� ้ำ น้�ำ เริม่ ลง
ลมพั ด แรง บางครั้ ง ทำ �ให้ มี บ้ า นเรื อ นเสี ย หายจะพั ด มาตอน ชาวบ้านจะวางอวนปลากระบอกและอวนลอยกุ้งเพราะน้ำ�ไหล
กลางคืนช่วงหัวค่ำ� สัตว์น้ำ�ที่จับได้ในช่วงนี้ ได้แก่ ปลากระบอก เชี่ยวแรงความแรงของกระแสน้ำ�ทำ�ให้อวนลอยไปกับกระน้ำ�พา
กุ้ง อวนลอยกุ้ง กวาดหน้าดินจนกว่าน้ำ�เริ่มนิ่ง และน้ำ�ลงถึงที่สุดจะ
2. องค์ความรู้เรื่องกระแสน้ำ�และน้ำ�ขึ้นน้ำ�ลง เป็นช่วงการหาหอยหน้าดิน งมหอย หาปลาดุกทะเล ปูดำ� เป็น
ลักษณะทางภูมปิ ระเทศของตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริง่ วงจรการจัดการน้ำ�ที่ต้องอาศัยกระแสน้ำ�และน้ำ�ขึ้นน้ำ�ลงในอ่าว
จังหวัดปัตตานี มีลักษณะเป็นแหลมยื่นลงไปในทะเลทำ�ให้เกิด ปัตตานี น้ำ�ขึ้นน้ำ�ลงในแต่ละวันจะเกิดขึ้นวันละ 2 ครั้ง ข้างขึ้น
อ่าวปัตตานีหรือที่เรียกว่าทะเลใน ส่วนอีกด้านหนึ่งจะเป็นทะเล ข้ า งแรมทำ �ให้ ค วามแรงในการไหลเวี ย นของกระแสน้ำ �ในอ่ า ว
อ่าวไทยทำ�ให้กระแสน้�ำ มีอทิ ธิพลต่อการดำ�รงชีวติ ของชาวประมง ปั ต ตานี ไ ม่ เ ท่ า กั น ดั ง นั้ น ชาวประมงพื้ น บ้ า นในพื้ น ที่ ต้ อ งมี
พื้นบ้าน ที่ทำ�มาหากินในพื้นที่ โดยเฉพาะการทำ�ประมงพื้นบ้าน ความรู้ความเชี่ยวชาญเรื่องน้�ำ ขึ้นน้ำ�ลง จึงเป็นปัจจัยหนึ่งในการ
ในพื้นที่ทะเลในอ่าวปัตตานี แต่ในอ่าวปัตตานีกระแสน้ำ�ไหล ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้านในพื้นที่ตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอ
ไม่แรง จึงทำ�ให้เกิดการทับถมของตะกอนจากคลองน้ำ�จืด กลาย ยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
เป็นดินเลนและสันดอนเกิดขึ้นในบริเวณอ่าวปัตตานี กลายเป็น 3. องค์ความรู้เรื่องฤดูกาลสัตว์น้ำ�
ทีอ่ ยูอ่ าศัยของสัตว์น�้ำ หลายชนิด ป่าชายเลนทีม่ คี วามอุดมสมบูรณ์ ฤดู ก าลของสั ต ว์ น้ำ � เป็ น องค์ ค วามรู้ ภู มิ ปั ญ ญาของ
เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์น้ำ�วัยอ่อนรวมถึงการขยายพันธุ์และการ ผู้ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้านตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง
เจริญเติบโตของสัตว์น้ำ�ได้หลายชนิด จังหวัดปัตตานี ที่ใช้องค์ความรู้ทิศทางลมกระแสน้ำ�ที่ถ่ายทอดมา
กระแสน้ำ � ขึ้ น น้ำ � ลงเกิ ด จากอิ ท ธิ พ ลของดวงจั น ทร์ ด วง ตัง้ แต่บรรพบุรษุ ถึงปัจจุบนั ทำ�ให้ชาวประมงพืน้ บ้านในพืน้ ทีต่ �ำ บล
อาทิตย์ ทำ�ให้เกิดกระแสน้ำ�ไหลเวียนในพื้นที่ ที่ส่งผลต่อวิถีการ แหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริง่ จังหวัดปัตตานี สามารถเรียนรูว้ า่ ฤดูกาล
ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้านในการใช้เครื่องมืออุปกรณ์จับสัตว์ ใดสัตวน้�ำ ชนิดไหนมีเป็นจำ�นวนมาก เพราะสัตว์น�้ำ แต่ละชนิดวางไข่

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
130 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 131
อพยพ หาอาหาร หลบภัยธรรมชาติ และมรสุมที่แตกต่างกันจึง ปฏิบัติตามหลักคำ�สอนของศาสนาอิสลามมีการละหมาด 5 เวลา
ทำ�ให้ชาวประมงพื้นบ้านสามารถปรับเปลี่ยนเครื่องมือประมง ละหมาดก่ อ นออกเรื อ ทำ � ประมงจั บ สั ต ว์ น้ำ � เพราะเชื่ อ ว่ า จะมี
พื้ น บ้ า นให้ เ หมาะสมกั บ ชนิ ด ของสั ต ว์ น้ำ � ที่ มี อ ยู่ ไ ด้ ต ลอดทั้ ง ปี โชคลาภ และการหยุดออกทำ�การประมงทุกวันศุกร์ ผู้ชายทุกคน
ความอุดมสมบูรณ์ของอ่าว ทำ�ให้สตั ว์บางชนิดเข้ามาอาศัยอยูเ่ ป็น ต้ อ งไปละหมาดซุ ฮ รี (ละหมาดเวลาเที่ ย ง) รวมกั น ที่ มั ส ยิ ด
ระยะเวลา 1-2 เดือน ก็จะออกไปจากอ่าวและจะมีสัตว์น้ำ�ชนิด (ยามาอะฮฺ) และวิถีปฏิบัติตั้งแต่สมัยอดีตและปัจจุบันอาจจะถือ
อื่นๆ อพยพเข้ามาอาศัย หากิน ขยายพันธุ์ อยู่ระยะหนึ่งและจะ ว่ า เป็ น วั น หยุ ด ของชาวประมงพื้ น บ้ า นโดยห้ า มออกทะเลจั บ
มีชนิดอื่นเข้ามาอีกหมุนเวียนตลอดทั้งปี ฤดูกาลของสัตว์ส่งผลให้ สัตว์น้ำ�ในวันศุกร์ ฝ่าฝืนอาจจะถูกปรับเป็นเงินมอบให้มัสยิดหรือ
ชาวประมงพื้นบ้านในอ่าวปัตตานีต้องปรับเปลี่ยนเครื่องมือและ โต๊ะอิหม่าม และผู้นำ�ทางศาสนาจะไม่ไปทำ�พิธีกรรมทางศาสนา
วิธีการต่างๆ ตามฤดูกาลของสัตว์น้ำ�ตามรายละเอียดดังตาราง ให้กับครอบครัวนั้น (ในการทำ�พิธีกรรมทางศาสนาต้องให้ผู้นำ�
ที่ 6 หน้า 119 ทางศาสนาเป็นผู้ดำ�เนินการถ้าไม่ไปร่วมพิธีกรรมนั้นไม่สมบูรณ์)
5.1.2 ผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 2 เพื่อ จนกว่าเขาจะสำ�นึกและปฏิบัติตามข้อตกลงของชุมชน โดยจะยึด
ศึกษาวิถีชีวิตของชาวประมงพื้นบ้านในการอนุรักษ์ทรัพยากร ถือว่าทรัพยากรทัง้ หมดอัลลอฮฺ (พระเจ้าในศาสนาอิสลาม) เป็นผู้
ทางทะเลและชายฝั่งของตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัด สร้างทำ�ให้เป็นของทุกคน (เฮาะออแรฆามา) สามารถใช้ประโยชน์
ปั ต ตานี และได้ ดำ � เนิ น การตามระเบี ย บวิ ธี วิ จั ย และใช้ ท ฤษฎี เพือ่ การดำ�รงชีวติ ประจำ�วันได้ โดยนำ�หลักการการใช้ทรัพยากรให้
การจัดการความรูใ้ นการจัดเก็บข้อมูลตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้า คุ้มค่าและประหยัดไม่ฟุ่มเฟือยและส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพ
วิเคราะห์ข้อมูล สรุปผลการวิจัย ได้ข้อมูลจากการศึกษาวิถีชีวิต ประมงพืน้ บ้านเวลาส่วนใหญ่จะอยูใ่ นทะเลและจะใช้ชวี ติ อย่างนก
ของชาวประมงพื้นบ้านในชุมชนตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง คือ การใช้ทรัพยากรเท่าที่จำ�เป็นในแต่ละวัน เปรียบเสมือนนก
จังหวัดปัตตานี มีผลการวิจัยดังนี้ ที่หากินเท่าที่ร่างกายต้องการในแต่ละวัน พอตกค่ำ�ก็จะบินกลับ
พืน้ ทีช่ มุ ชนประมงพืน้ บ้านตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริง่ ที่นอนวันรุ่งขึ้นจะบินมาหาอาหารอีกครั้งโดยไม่มีการเก็บเผื่อไว
จังหวัดปัตตานี ประชาชนทั้งหมดนับถือศาสนาอิสลาม ทำ�ให้วิถี ในวันถัดไป คนในชุมชนก็เช่นกันจะหาอาหารเพื่อให้เพียงพอใน
ชีวติ ดำ�เนินไปในแนวทางตามแบบศาสนาเป็นหลัก โดยนำ�แนวคิด การบริ โภคของครอบครั ว วั น ต่ อวั น (จึ ง ทำ �ให้ บุ ค คลไม่ นั บ ถื อ

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
132 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 133
ศาสนาอิสลามเข้าใจว่าคนทีน่ บั ถือศาสนาอิสลามในชุมชนประมง ประมงพื้นบ้านตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
พืน้ เป็นคนขีเ้ กียจ) เป็นการดำ�รงชีวติ ทีส่ อดคล้องตามหลักคำ�สอน ได้รูปแบบการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งของชุมชน
ของศาสนาอิสลามว่า ทรัพยากรเป็นที่สิ่งที่อัลลอฮฺสร้างเป็น ประมงพื้นบ้านตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
สมบัติของทุกคน ดังนั้นทุกคนเป็นเจ้าของ ต้องร่วมกันดูแลและ 7 ขั้นตอน ดังนี้
ปกป้องให้ทรัพยากรมีความอุดมสมบูรณ์ ใช้อย่างประหยัดและ 1) การก่อเกิดวิถชี วี ติ ชาวเลแหลมตาชี ทีม่ ที ตี่ งั้ ของชุมชน
ให้เกิดประโยชน์มากที่สุด จึงทำ�ให้ชุมชนเกิดจิตสำ�นึกในการจับ ที่มีแหลม อ่าวและทะเลเป็นที่อยู่อาศัย หาเลี้ยงชีพพึ่งพิงซึ่งกัน
สัตว์น�้ำ อย่างรับผิดชอบ โดยไม่ใช้เครือ่ งมือทำ�ลายล้างและทำ�ลาย และกัน ก่อเกิดองค์ความรู้การจัดการทรัพยากรทางทะเลและ
สิง่ แวดล้อม ใช้เรือขนาดเล็กเป็นพาหนะในการทำ�ประมง เพือ่ เลีย้ ง ชายฝั่ง เรียนรู้ถ่ายทอดวิถีชีวิตการจัดการทรัพยากรทางทะเลและ
ดู ค รอบครั ว หลั ง จากออกทะเลมาพบปะพู ด คุ ย แลกเปลี่ ย น ชายฝั่งจากรุ่นสู่รุ่นจวบจนปัจจุบัน
เรื่องราวของแต่ละคน ในการออกไปจับสัตว์น้ำ�ในแต่ละวันตาม 2) อัลลอฮฺทรงประทานหลักคำ�สอนการจัดการทรัพยากร
ร้านน้ำ�ชาหรือที่เรียก สภากาแฟ ซึ่งเป็นสถานที่แลกเปลี่ยนถึง ทางทะเลและชายฝัง่ “เฮาะออแรฆามา ทรัพยากรเป็นของทุกคน
ความเป็นอยู่เกี่ยวกับการทำ�ประมงพื้นบ้านและเรื่องราวความ ที่ต้องร่วมกันดูแลและใช้อย่างประหยัด” นำ�สู่กฎชุมชนงดออก
เป็นอยู่ ทุกข์ สุข การจับสัตว์น้ำ�ในแต่ละวัน เช่น จำ�นวน ชนิด จับสัตว์น้ำ�ในวันศุกร์ฝ่าฝืนลงโทษปรับ และผู้นำ�ศาสนาไม่เข้าร่วม
สัตว์น้ำ�ที่จับได้ จุดพิกัดของแหล่งที่จับสัตว์น้ำ� เครื่องมือทำ�การ พิธีกรรมทางศาสนา ดำ�รงวิถีชีวิตแบบพอเพียง “อยู่อย่างนก”
ประมงของแต่ละคนว่ามีผลเป็นอย่างไรบ้าง และพูดคุยเรื่องการ 3) การรวมกลุม่ ของคนในชุมชนเพือ่ การจัดการทรัพยากร
ดำ�รงวิถีชีวิตของแต่ละครอบครัว ว่ามีปัญหาหรืออะไรที่สามารถ สัตว์น้ำ�จากบุคคลภายนอก ก่อให้เกิดการรวมตัวของคนในชุมชน
แบ่งปันกันหรือมีกจิ กรรมงานบุญอะไรทีส่ ามารถช่วยซึง่ กันและกัน มาปกป้องและการเฝ้าระวังในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและ
เช่น งานแต่งงาน งานศพ งานเข้าสุนัต งานเมาลิด งานพัฒนา ชายฝั่งโดยการใช้มาตรการทุกรูปแบบจากเบาไปหาหนัก โดยการ
หมู่บ้าน ดำ�เนินมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน เจรจา ขับไล่ ใช้กำ�ลังและอาวุธ
5.1.3 ผลการวิจัยตามวัตถุประสงค์ข้อที่ 3 เพื่อ 4) กลุ่ ม คนรั ก ทะเลจั ง หวั ด ปั ต ตานี เ พื่ อ การจั ด การ
ศึกษารูปแบบการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ ของชุมชน ทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝั่ ง การรวมกลุ่ ม ผู้ ป ระกอบอาชี พ

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
134 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 135
ประมงพื้นบ้านจังหวัดปัตตานีโดยมิได้นัดหมาย เกิดจิตสำ�นึก 5.2 ข้อเสนอแนะ
ในการดู แ ลรั ก ษาทรั พ ยากร รวมพลั ง เรี ย กร้ อ งการจั ด การ 5.2.1 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
ทรัพยากรของอ่าวปัตตานีต่อผู้ว่าราชการปัตตานี 1) การพัฒนาพืน้ ทีข่ องหน่วยงานรัฐ ชุมชนต้องมีสว่ นร่วม
5) การหนุนเสริมจากหน่วยงานภายนอก ในการจัดการ ในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางการพัฒนา เพื่อให้
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง องค์กรพัฒนาเอกชน ตัวแทน สอดคล้องกับบริบทและความต้องการของคนในพื้นที่
ชาวประมงพื้นบ้าน 6 จังหวัดภาคใต้ (ปัตตานี สงขลา สตูล ตรัง 2) รัฐควรนำ�หลักคำ�สอนของศาสนาอิสลามมาใช้เพื่อ
นครศรีธรรมราช กระบี่) ร่วมกันจัดตั้งเป็นสมาพันธ์ชาวประมง เป็นข้อบัญญัติของชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและ
พื้นบ้านภาคใต้ เสนอแนวทางการจัดการทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝั่งในชุมชนมุสลิมที่ประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน
ชายฝั่งต่อหน่วยงานรัฐ นำ�ไปสู่ พรบ.ประมง 3) การทำ�การประมงด้วยเครื่องมืออวนลาก อวนรุนและ
6) ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ใหม่ เพื่อการจัดการทรัพยากร เรือปั่นไฟเป็นการทำ�ลายทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ระบบ
ทางทะเลและชายฝัง่ อ่าวปัตตานี คนในชุมชนแลกเปลีย่ นเรียนรูก้ บั นิเวศและห่วงโซ่อาหารอย่างรุนแรง รัฐบาลควรหามาตรการ
หน่วยงานองค์กร กลุม่ อนุรกั ษ์ เครือข่ายภายนอก นำ�องค์ความรู้ ที่เหมาะสมในการทำ�การประมงในลักษณะดังกล่าว เพื่อรักษา
สู่ชุมชน พบปะ พูดคุย ร่วมรับรู้ ปรึกษาหารือ คิดหาแนวทาง ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอย่างยั่งยืน
ตัดสินใจสู่กิจกรรมการอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 5.2.2 ข้อเสนอแนะเชิงวิชาการ
อ่าวปัตตานี 1) วิถีชีวิตชุมชนมุสลิมยังคงยึดมั่นในหลักคำ�สอนของ
7) บูรณการการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ศาสนาอิสลาม ในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งและ
สู่วิถีชีวิตชุมชนได้ร่วมกันดูแล รักษา ฟื้นฟู อนุรักษ์ทรัพยากรโดย อื่นๆ ตามหลักการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ
การทำ�ซั้งกอ การปักไม้ไผ่กำ�หนดแนวเขตอนุรักษ์ฯ การปลูกป่า 2) กระบวนการรวมกลุม่ เป็นองค์กรของคนในชุมขนทำ�ให้
ชายเลน ธนาคารปูม้า ปล่อยพันธุ์สัตว์ และร่วมกับหน่วยงานรัฐ เกิดพลังในการขับเคลือ่ น การอนุรกั ษ์ ฟืน้ ฟูและดูแลรักษาทรัพยากร
การเฝ้าระวัง ป้องกัน จับกุมผู้ทำ�ประมงผิดกฎหมาย และนำ�หลัก ทางทะเลและชายฝั่งได้ดีวิธีการหนึ่ง
การทางศาสนาอิสลามมาใช้ในการดำ�รงชีวิตจวบจนปัจจุบัน

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
136 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 137
3) การหนุ น เสริ ม จากภายนอก เช่ น คนต่ า งพื้ น ที่ บรรณานุกรม
นักพัฒนาเอกชน องค์กร และหน่วยงานราชการ เป็นพลังในการ
ขับเคลือ่ นงานอนุรกั ษ์ฟนื้ ฟูและดูแลรักษาทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝั่งได้ดียิ่งขึ้น
4) ปัญหาการทำ�ลายฐานทรัพยากรของชุมชน ส่งผลต่อ
ระบบเศรษฐกิจ วิถีชีวิตของคนในชุมชน ทำ�ให้ชุมชนเกิดความ กรรณิการ์ นาคฤทธิ.์ (2559). การศึกษารูปแบบการจัดการทรัพยากร
หวงแหนและลุกขึ้นมาต่อสู้ปกป้อง รักษา ได้เรียนรู้ มีองค์ความรู้ ประมงชายฝัง่ ของชุมชนประมงพืน้ บ้าน กรณีศกึ ษาธนาคาร
ปูม้า ชุมชนคลอง อบต. หมู่ที่ 4 ตำ�บลบางแก้ว อำ�เภอ
ในการอนุรักษ์ฯ จะเกิดการรวมกลุ่มกัน นำ�ไปสู่กิจกรรมอนุรักษ์
บ้านแหลม จังหวัดเพชรบุรี คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
ฟื้นฟูทรัพยากรต่อไป มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2558.
5.2.3 ข้อเสนอแนะต่อการทำ�วิจัยในครั้งต่อไป กองบริหารจัดการพื้นที่ชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง.
1) ควรศึกษาวิจัยหาองค์ความรู้อื่นๆ ของชุมชนที่ใช้ (2558). รายงานรวบรวมข้ อ มู ล ฐานข้ อ มู ล การกั ด เซาะ
ในการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งในพื้นที่ ชายฝั่งรายจังหวัด 23 จังหวัด. (http://www.dmcr.go.th/
detailLib/2394/)
2) ศึกษาวิจยั ผลกระทบของการขุดลอกอ่าวปัตตานีตอ่ วิถี เครือข่ายชาวประมงพื้นบ้านอ่าวปัตตานี. (2564). เวทีรับฟังความ
ประมงพื้นบ้าน ระบบนิเวศ ชนิดและจำ�นวนของสัตว์น้ำ�ในอ่าว เดื อ นร้ อ นของชาวประมงพื้ น บ้ า นรอบอ่ า วปั ต ตานี 24
ปัตตานี มกราคม 2564.
จิราพร โชติพานิชและคณะ. (2556). การจัดการทรัพยากรชายฝั่ง
โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน: กรณีศึกษา ชุมชนบากันเคย
ตำ�บลตันหยงโป อำ�เภอเมือง จังหวัดสตูล บทความวิจัย
เสนอในการประชุม หาดใหญ่วิชาการ ครั้งที่ 4 วันที่ 10
พฤษภาคม 2556 (430).

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
138 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 139
จุตินันท์ ขวัญเนตรและคณะ. (2563). แนวทางการปรับตัวของชุมชน วิสทุ ธิ์ ท้องย้อย. (2559). รูปแบบการจัดการทรัพยากรทางทะเลและ
ประมงพื้นบ้านเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง ชายฝั่ ง ร่ ว มในพื้ น ที่ เ ขตอนุ รั ก ษ์ สั ต วน้ำ � วั ย อ่ อ นสี่ ห มู่ บ้ า น
ยั่งยืน บริเวณชายแดนไทย-กัมพูชา กรณีศึกษา: ตำ�บล (เขตเล-เสบ้าน) จังหวัดตรัง วิทยานิพนธ์ สาขาการจัดการ
หาดเล็ก อำ�เภอคลองใหญ่ จังหวัดตราด วารสารเศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2559.
การเมื อ งบู ร พา ปี ที่ 8 ฉบั บ ที่ 1 (มกราคม-มิ ถุ น ายน สุรนิ ทร์ภรณ์ ศรีอนิ ทร์ และอัจฉรา ศรีพนั ธ์. (2561). การจัดการความรู ้
พ.ศ.2563). ของชุมชนเพื่อการจัดการทรัพยากรป่าชายเลน คณะศึกษา
จักรี ศรีจารุเมธีญาณและพระถนัด วฑฺฒโน. (2564). ภาวะผูน้ �ำ กับการ ศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรวารสารการศึกษามหาวิทยาลัย
พัฒนาชุมชน วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร ปีที่ 6 นเรศวร ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2563.
ฉบับพิเศษ, 2564. สำ�นักงานปกครองจังหวัดปัตตานี. (2563). ข้อมูลพืน้ ฐานจังหวัดปัตตานี
บรรจง นะแส. (2547). รายงานการศึกษาข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับ (http://www.pattani2018.pattani.go.th/content/informa
โครงการ SEA FOOD BANK, 2547, น.29. tion.pdf)
พระราชกำ�หนดการประมง. (2558). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 132 สำ�นักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2556). ทฤษฎี
ตอนที่ 108ก. หน้า 2 สืบค้นเมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2564 จาก ระบบและการจัดการความรู้ https://km.mhesi.go.th/
http://www.ratchakitcha.soc.go.th. content/ทฤษฎีระบบ-system-theory
พระราชบัญญัตสิ ง่ เสริมและรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535 องค์การบริหารส่วนตำ�บลแหลมโพธิ์. (2561). ข้อมูลพื้นฐานตำ�บล
มาตรา 4 หน้า 1. แหลมโพธิ์ http://www.laempho.go.th/index.php
พระราชบัญญัติ. (2558). ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเล
และชายฝั่ง. เล่มที่ 132 หน้า 57.
พระใบฏีกาสุพจน์ ตปสีโล. (2556). กระบวนการจัดการทรัพยากร
ธรรมชาติ แ ละวั ฒ นธรรมขององค์ ก รชุ ม ชนในจั ง หวั ด
อุบลราชธานี วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร ปีที่ 2 ฉบับที่
1 มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย วิ ท ยาเขต
อุบลราชธานี.
มูลนิธิเล็ก-ประไพ วิริยะพันธุ์. (2548). เสียงจากคนตานี 1 เสียง
สะท้อนจากหมู่บ้านประมงอ่าวปัตตานี.

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
140 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 141
ภาคผนวก ก

รายชื่อผู้ให้ข้อมูลสำ�คัญ 7. นายมะรอนิง ตานอ


เรื่องการจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน 55/2 หมู่ที่ 1 ต.แหลมโพธิ์ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี
กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี 8. นายดอเลาะ เจ๊ะแต
55/2 หมู่ที่ 1 ต.แหลมโพธิ์ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี
1. ผศ.ดร.นุกูล รัตนดากูล 9. นางสาวนิราฮานี มะเยะ
คณะวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี 66/1 หมู่ที่ 1 ต.แหลมโพธิ์ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 10. นายมามะ สาแม
2. นางสาวลม้าย มานะการ 14/1 หมู่ที่ 4 ต.แหลมโพธิ์ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี
สมาคมลุ่มน้ำ�สายบุรี 11. นายยาการียา อีซอ
3. นายสะมาแอ เจะมูดอ 342 หมู่ที่ 2 ต.แหลมโพธิ์ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี
สมาคมสมาพันธ์ชาวประมงพืน้ บ้านแห่งประเทศไทย 12. นางนฤมล สาและ
4. นายสุวัยมี หะยีบาสอ 146/1 หมู่ที่ 3 ต.แหลมโพธิ์ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี
เจ้าหน้าที่ประสานงานภาคประชาชน 13. นายยูนุ วามะ
จังหวัดปัตตานี กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม 2/6 หมูที่ 4 ต.แหลมโพธิ์ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี
5. นายมะรอนิง สาและ
61/2 หมู่ที่ 4 ต.แหลมโพธิ์ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี
6. นายอิสมาแอ สาแม
8/13 หมู่ที่ 4 ต.แหลมโพธิ์ อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
142 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ 143
ประวัตินักวิจัย

ชื่อ-สกุล ว่าที่ร้อยตรีอัสรีย์ แดเบาะ


วัน เดือน ปีเกิด 25 มีนาคม 2522
สถานที่เกิด 46/2 หมู่ที่ 1 ตำ�บลบ้านกลาง
อำ�เภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
ตำ�แหน่งหน้าที่ปัจจุบัน เจ้าหน้าที่ภาคสนามพื้นที่อ่าวไทย
ตอนล่าง (ปัตตานี-นราธิวาส)
สมาคมรักษ์ทะเลไทย
ประวัติการศึกษา
พ.ศ.2547 วิทยาศาสตร์บัณฑิต
สาขาวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม
มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา

การจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งโดยชุมชน
144 กรณีศึกษาตำ�บลแหลมโพธิ์ อำ�เภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
Ê
¹º
ÑÊ
¹¹
ØấÂ
Á
Å
Ù¹Ô̧
Ê
Ô¶Ò
º¹
Ñ´
¹µÃ¤
Õ
¹µÒ
ºÍ´
»‚¾.
È.
256
3-2
564

You might also like