You are on page 1of 9

่ 10 อ ันดับปลาสวงยงามของไทย

โครงงานเรือง

รายชือสมาชิ
กในกลุ่ม

1.ด.ญ.ภาวิณี แก ้วอาสา

2.ด.ญ.วิลาสินี สันนุ จต

หัวข้อที่ 1 ปลาตะพัด

ปลาตะพัด หรือทีนิ่ ยมเรียกว่า อะโรวาน่ า เป็ นปลาน้าจืดชนิ ดหนึ่ ง


่ การสืบสายพันธุ ์มาจากปลาในยุคก่อนประวัตศ
ทีมี ่ื
ิ าสตร ์ มีชอภาษาอังกฤษว่า
Arowana (อะโรวาน่ า) หรือ Arawana (อะราวาน่ า) มีชอวิ ่ื ทยาศาสตร ์ว่า
Scleropages formosus อยู่ในวงศ ์ปลาตะพัด (Osteoglossidae)

นับว่าเป็ นปลาทีใกล ้สูญพันธุ ์ในธรรมชาติ เนื่ องจากเป็ นปลาทีสื
่ บพันธุ ์ยาก
่ ่ถก
ประกอบกับแหล่งทีอยู ้
ู ทาลายไปได ้ร ับความนิ ยมอย่างสูงของนักเลียงปลาตู ้
ในฐานะของปลาสวยงาม ราคาแพง สาหรบั ชือ่ “ตะพัด”
่ เรี
เป็ นชือที ่ ยกกันในภาคตะวันออก แถบจังหวัดจันทบุรแี ละตราด
ในภาคใต ้จังหวัดสุราษฎร ์ธานี จะเรียกปลาชนิ ดนี ว่้ า “หางเข ้”
ั้
ถูกค ้นพบเป็ นทางการครงแรกในประเทศไทยเมื ่ พ.ศ. 2474
อปี
ตามรายงานของสมิธทีล ่ าน้าเขาสมิง จังหวัดตราด โดยระบุว่าในขณะนั้น

ปลาตะพัดเป็ นปลาทีพบได ่
้ทัวไปในแม่ น้าลาคลองในภาคตะวันออก
ไข่มล
ี ก ้ รสชาติอร่อย
ั ษณะสีส ้มลูกกลมใหญ่ ฟั กไข่ในปาก เนื อมี
นิ ยมใช ้ทาเป็ นอาหาร ในปัจจุบน
ั สาหร ับประเทศไทย
่ าเหลือเพียงบริเวณเขตรกั ษาพันธุ ์สัตว ์ป่ าคลองแสงและเขตรกั ษาพันธุ ์สัตว ์
เชือว่
่ นต ้นแม่น้าตาปี และบริเวณแม่น้า ทีอ
ป่ าคลองยัน ซึงเป็ ่ าเภอละงู
จังหวัดสตูลเท่านั้น ส่วนทางภาคตะวันออกทีเคยชุ
่ กชุมในอดีต
่ ่ งทีได
ไม่มรี ายงานการพบอีกเลย อีกทีหนึ ่ ้เคยได ้ชือว่
่ ามีปลาตะพัดชุกชุมคือ
บึงน้าใส อาเภอรามัน จังหวัดยะลา
่ ชอเสี
ในอดีตเป็ นแหล่งจับปลาตะพัดทีมี ่ื ยงมาก
่ื
จนมีชอปรากฏในค าขวัญประจาอาเภอ โดยชาวบ ้านจะเรียกปลาชนิ ดนี ว่้ า
“กรือซอ” แต่จากการจับอย่างมากในอดีต ทาให ้ในปัจจุบน

ปริมาณปลาตะพัดลดน้อยลงจนแทบจะสูญพันธุ ์

หัวข้อที่ 2 ปลาเสือตอ

ปลาเสือตอลายใหญ่ (อังกฤษ: Siamese tigerfish)


เป็ นปลาน้าจืดชนิ ดหนึ่ ง มีชอวิ
่ื ทยาศาสตร ์ว่า Datnioides pulcher
่ ่ในวงศ ์ปลาเสือตอ (Datnioididae) มีรป
เป็ นปลาทีอยู ู ร่างแบนข ้าง
ปากยาวสามารถยืดได ้ ครีบก ้นเล็กมีก ้านครีบแข็ง 3 ชิน้ ครีบหลังแบ่งเป็ น 2
่ 13 ชิน้ ตอนหลังเป็ นครีบอ่อน
ตอน ตอนแรกเป็ นก ้านครีบแข็งมีเงียง
้ าตัวสีเหลืองน้าตาลจนถึงสีส ้มอมดา
พืนล
้ นประมาณ
มีแถบสีดาคาดขวางลาตัวในแนวเฉี ยงรวมทังสิ ้ 5-6 แถบ หรือ 7
แถบ ส่วนหัวมีลก ั ษณะลาดเอียงมาก เกล็ดเป็ นแบบสาก (Ctenoid)
ั ษณะนิ สยั อยู่เป็ นฝูงเล็ก ๆ ใต ้น้า
มีลก
โดยมักจะอาศัยบริเวณใกล ้ตอไมห้ รือโพรงหินด ้วยการอยู่ลอยตัวอยู่น่ิ งๆ

หัวทิมลงเล็ กน้อย หากินในเวลากลางคืน โดยกินอาหารแบบฉกงับ
อาหารได ้แก่ สัตว ์น้าขนาดเล็ กและแมลงต่างๆ มีขนาดลาตัวโตสุดประมาณ 40
เซนติเมตร หนักถึง 7 กิโลกร ัม
อาศัยอยู่ตามแม่น้าสายใหญ่ในภาคกลางของประเทศไทย เช่น
แม่น้าเจ ้าพระยา, แม่น้าแม่กลอง, แม่น้าท่าจีน ในภาคอีสานเช่น
แม่น้าโขงและสาขา ต่างประเทศพบทีกั ่ มพูชาและเวียดนาม
่ งบอระเพ็ ดเป็ นทีขึ
โดยเฉพาะทืบึ ่ นชื
้ อมากเพราะมี
่ รสชาติอร่อย กล่าวกันว่า
ใครไปถึงบึงบอระเพ็ ดแล ้ว ไม่ได ้กินเสือตอ ถือว่าไปไม่ถงึ แต่ปัจจุบน

ไม่มรี ายงานการพบมานานแล ้ว
่ าสูญพันธุ ์จากธรรมชาติแล ้วในประเทศไทย
จนเชือว่

หัวข้อที่ 3 ปลาก ัดไทย


ปลากัดภาคกลาง หรือทีนิ ่ ยมเรียกสัน
้ ๆ ว่า ปลากัด
เป็ นปลาน้าจืดขนาดเล็ก มีชอวิ
่ื ทยาศาสตร ์ว่า Betta splendens อยู่ในวงศ ์
่ ่ในวงศ ์ใหญ่ Osphronemidae
Macropodinae ซึงอยู
มีรป
ู ร่างเพรียวยาวและแบนข ้าง หัวมีขนาดเล็ก ครีบก ้นยาวจรดครีบหาง
หางแบนกลม
มีอวัยวะช่วยหายใจบนผิวน้าได ้โดยใช ้ปากฮุบอากาศโดยไม่ต ้องผ่านเหงือกเห

มือนปลาทัวไป เกล็ดสากเป็ นแบบ Ctenoid ปกคลุมจนถึงหัว ริมฝี ปากหนา
ตาโต ครีบอกคู่แรกยาวใช ้สาหร ับสัมผัส
ปลาตัวผูม้ ส ี ้าตาลเหลือบแดงและน้าเงินหรือเขียว
ี น
ครีบสีแดงและมีแถบสีเหลืองประ

ในขณะทีปลาตั ่ กกว่ามากจนเห็นได ้ชัด
วเมียสีจะซีดอ่อนและมีขนาดลาตัวทีเล็

ขนาดโตเต็มทีประมาณ 6 เซนติเมตร
่ั
พบกระจายอยู่ทวไปในแหล่ งน้านิ่ งทีมี
่ ขนาดตืนพื
้ นที
้ เล็
่ กทังในภาคกลางและภา

คเหนื อในประเทศไทยเท่านั้น
สถานะปัจจุบนั ในธรรมชาติถก ่ ยนไปและสารเ
ู คุกคามจากสภาพแวดล ้อมทีเปลี ่
่ี
คมีทตกค ้าง มีพฤติกรรมชอบอยู่ตวั เดียวในอาณาบริเวณแคบ ๆ

เพราะดุร ้ายก ้าวร ้าวมากในปลาชนิ ดเดียวกัน ตัวผูเ้ มือพบกั
นจะพองตัว

พองเหงือก เบ่งสีเข ้ากัดกัน ซึงในบางคร ้ั
งอาจกั ่
ดได ้จนถึงตาย เมือผสมพันธุ ์
ตัวผูจ้ ะเป็ นฝ่ ายก่อหวอดติดกับวัสดุตา่ ง ๆ เหนื อผิวน้า ไข่ใช ้เวลาฟัก 2 วัน

โดยทีปลาตั วผูจ้ ะเป็ นฝ่ ายดูแลไข่และตัวอ่อนเอง

โดยไม่ให ้ปลาตัวเมียเข ้ามาเกียวข ้องด ้วย

หัวข้อที่ 4 ปลากระดีมุ
่ ก

่ ก ปลาน้าจืดชนิ ดหนึ่ ง มีชอวิ


ปลากระดีมุ ่ื ทยาศาสตร ์ว่า Trichogaster
leeri ในวงศ ์ปลากัด ปลากระดี่ (Osphronemidae)
มีรป ่ อ้ (T. trichopterus)
ู ร่างคล ้ายปลากระดีหม
่ นปลาทีอยู
ซึงเป็ ่ ่ในสกุลเดียวกัน แต่กระดีมุ
่ กมีลาตัวกว ้างกว่าเล็กน้อย ครีบหลัง
ครีบหาง และครีบก ้นมีขนาดใหญ่และมีก ้านครีบอ่อนยาวเป็ นเสน้ ริว้
ลาตัวสีเงินจาง มีแถบสีดาจางพาดยาวไปถึงโคนครีบหาง ท ้องมีสส ี ้มหรือสีจาง
ุ กลมสีเงินมุกหรือสีฟ้าเหลือบกระจายไปทัว่ อันเป็ นทีมาของชื
และมีจด ่ อ่
่ ก” ครีบท ้องเป็ นสีส ้มสดหรือสีเหลือง มีความยาวเต็มทีเฉลี
“กระดีมุ ่ ย ่ 10-12
เซนติเมตร มีพฤติกรรมมักอาศัยอยู่เป็ นคู่หรือกลุ่มเล็ก ๆ
ในแหล่งน้าทีมี
่ คา่ ของน้ามีความเป็ นกรดต่ากว่าค่าของน้าปกติ (ต่ากว่า 7.0)
เช่น ในป่ าพรุ เป็ นต ้น
่ พบในธรรมชาติ
เป็ นปลาจาพวกปลากระดีที ่ ่ ดในประเทศไทย
ได ้น้อยทีสุ
้ ภาคกลางและภาคใต
โดยจะพบในเฉพาะพืนที ่ ้ตอนล่างเท่านั้น

นิ ยมเลียงเป็ นปลาตู ้สวยงาม โดยเฉพาะในตู ้ไมน้ ้า

หัวข้อที่ 5 ปลาฉลามหางไหม้

ปลาฉลามหางไหม ้ หรือ ปลาหางไหม ้ (อังกฤษ: Bala shark)


ปลาน้าจืดชนิ ดหนึ่ งมีชอวิ
่ื ทยาศาสตร ์ว่า Balantiocheilus ambusticauda
ในวงศ ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae) วงศ ์ย่อย Cyprininae – Systomini
มีรป
ู ร่างคล ้ายปลาตามิน (Amblyrhynchichthys truncatus)
มีรป ่ ยวยาว ตาโต ปากเล็ก ขยับปากอยู่ตลอดเวลา
ู ร่างและทรวดทรงทีเพรี
ใต ้คางมีแผ่นหนังเป็ นถุงเปิ ดออกด ้านท ้าย ลาตัวแบนข ้างเล็กน้อย
เกล็ดมีขนาดเล็กสัดส่วนของครีบทุกครีบเหมาะสมกับลาตัว
่ ้าเป็ นแฉกลึก สีของลาตัวเป็ นสีเงินแวววาว
โดยเฉพาะครีบหางซึงเว
ด ้านหลังสีเขียวปนเทา ครีบหลัง ครีบท ้อง ครีบก ้นและครีบหาง

สีส ้มแดงและขอบเป็ นแถบดา อันเป็ นทีมาของชื อ่ ว่ายน้าได ้ปราดเปรียวมาก
และกระโดดขึนได ้ ้สูงจากน้ามาก มีขนาดโตเต็มทีไม่
่ เกิน 20 เซนติเมตร
้ ้า
นิ ยมอยู่เป็ นฝูง หากินตามใต ้พืนน

ในอดีตพบชุกชุมในเขตทีราบลุ ่มแม่น้าเจ ้าพระยา ในประเทศไทย

ในต่างประเทศพบได ้ทีเกาะบอร ์เนี ยว ประเทศอินโดนี เซีย

(ปลาทีพบในอิ
นโดนี เซียสีของครีบหางจะออกเหลืองสดกว่า)
แต่สถานภาพในปัจจุบน
ั ในประเทศไทยได ้สูญพันธุ ์ไปแล ้วจากธรรมชาติ
ในอินโดนี เซียก็ใกล ้จะสูญพันธุ ์เช่นกัน

หัวข้อที่ 6 ปลากระทิงไฟ

ปลากระทิงไฟ (อังกฤษ: Fire spiny eel)


ปลาน้าจืดพืนเมื
้ องของไทยชนิ ดหนึ่ ง มีชอวิ
่ื ทยาศาสตร ์ว่า Mastacembelus
erythrotaenia อยู่ในวงศ ์ปลากระทิง (Mastacembelidae)
มีรป ้ วไป
ู ร่างเหมือนปลาในวงศ ์นี ทั่ กล่าวคือ รูปร่างยาวคล ้ายงู หรือปลาไหล
่ ่คอ
แต่ท ้ายลาตัวส่วนทีอยู ่ นไปทางหางจะมีลก
ั ษณะแบนข ้าง

และส่วนหัวหรือปลายปากจะยืนยาวและแหลม

จะงอยปากล่างจะยืนยาวกว่ าจะงอยปากบน ตามีขนาดเล็ก ครีบหลัง ครีบทวาร

และหางจะเชือมต่
อติดกันเป็ นครีบเดียว

โดยครีบหลังตอนหน้าจะมีขนาดเล็ กมากและลักษณะเป็ นหยักคล ้ายกับฟันเลือ
ย หากไม่สงั เกตจะมองไม่เห็น โดยปลายหางมีลก ั ษณะมนโค ้ง
ปลายค่อนข ้างแหลม ไม่มห ่ ๆ
ี นามใต ้ตาเช่นปลากระทิงชนิ ดอืน

มีหนามแหลมขนาดเล็กตลอดทังความยาวล ่ องกันตัว
าตัวช่วงบนไว ้เพือป้
ปลากระทิงไฟจะมีรป
ู ร่างป้ อมแต่มข
ี นาดยาวกว่าปลากระทิง (M. armatus)
่ นปลาทีอยู
ซึงเป็ ่ ่ในสกุลเดียวกัน มีขนาดเมือโตเต็
่ ่
มทีประมาณ 60 เซนติเมตร
่ี ดถึง 1 เมตร
พบใหญ่ทสุ
พบได ้ในภูมภ
ิ าคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต ้ทุกประเทศจนถึงอินโดนี เซีย
สาหร ับในประเทศไทยพบได ้ในแหล่งน้าขนาดใหญ่ในภาคกลางและภาคใต ้

หัวข้อที่ 7 ปลาทรงเครือง

่ ปลาน้าจืดชนิ ดหนึ่ ง มีชอวิ
ปลาทรงเครือง ่ื ทยาศาสตร ์ว่า
Epalzeorhynchos bicolor อยู่ในวงศ ์ปลาตะเพียน (Cyprinidae)
มีรป
ู ร่างคล ้ายปลากาดา (E. chrysophekadion)
่ นปลาในวงศ ์และสกุลเดียวกัน แต่มรี ูปร่างทีเพรี
ซึงเป็ ่ ยวยาว
มีขนาดเล็กกว่ามาก สีลาตัวสีแดงอ่อน ครีบหางสีแดงเข ้ม
่ เกิน 12 เซนติเมตร พบเฉพาะในประเทศไทยเท่านั้น
มีขนาดโตเต็มทีไม่
บริเวณแม่น้าเจ ้าพระยาตอนบน ปัจจุบน ่ า สูญพันธุ ์ไปแลว้ จากธรรมชาติ
ั เชือว่
(Extinct in the Wild)
เนื่ องจากถูกคุกคามถินที
่ อยู
่ ่อาศัยและถูกจับไปเป็ นปลาสวยงาม

ซึงปลาที ่
ขายกั ่ ดจากการผสมเทียมทังสิ
นในตลาดปลาสวยงามเป็ นปลาทีเกิ ้ น้
่ ยังมีชอเรี
ปลาทรงเครือง ่ื ยกอืน
่ ๆ อีกในวงการปลาสวยงาม เช่น

“ฉลามทรงเครือง” ่ เป็ นต ้น
หรือ “หมูทรงเครือง”

หัวข้อที่ 8 ปลาตองลาย

ปลาตองลาย (อังกฤษ: Royal Knifefish) ปลาน้าจืดชนิ ดหนึ่ ง


่ื ทยาศาสตร ์ว่า Chitala blanci อยู่ในวงศ ์ปลากราย (Notopteridae)
มีชอวิ
มีรป ่
ู ร่างเหมือนปลาทัวไปในวงศ ์นี ้
แต่มสี ่วนหลังและหน้าผากลาดชันน้อยกว่าปลากราย (C. ornata)
่ นปลาทีอยู
ซึงเป็ ่ ่ในสกุลเดียวกัน สีลาตัวเป็ นสีเงินแวววาว
ลาตัวด ้านท ้ายมีลายจุดและขีดจานวนไม่แน่ นอนคาดเฉี ยงค่อนข ้างเป็ นระเบียบ
มีขนาดประมาณ 60 เซนติเมตร ใหญ่สุด 1 เมตร

เป็ นปลาทีพบได ้เฉพาะแม่น้าโขงและลาน้าสาขาทีไหลสู
่ ่แม่น้าโขง
่ พ.ศ. 2510
โดยมีรายงานพบเมือปี
่ น้าน่ านด ้วยเมือไม่
และมีรายงานพบทีแม่ ่ นานมานี ้
่ อว่าเป็ นมีแค่เพียงสองแหล่งนี ในโลกเท่
ซึงถื ้ านั้น เป็ นปลาทีหายากชนิ
่ ดหนึ่ ง
่ื ดอยู่ในบัญชีแดงของสหภาพเพือการอนุ
โดยมีชอติ ่ ร ักษ ์ธรรมชาติ (IUCN
่ พ.ศ. 2537 ด ้วย โดยอยู่ในระดับหายาก
Red List) เมือปี
(R)[1]แต่ปัจจุบน ้
ั สามารถเพาะขยายพันธุ ์ได ้แล ้ว นิ ยมเลียงเป็ นปลาสวยงาม
้ั
โดยการเพาะขยายพันธุ ์สาเร็จเป็ นครงแรกที ่
สถานี ประมงน้าจืดจังหวัดชัยนาท
่ บมาจากแม่น้าโขง เมืออายุ
โดยพ่อแม่ปลาเป็ นปลาทีจั ่ ประมาณ 1 ปี
น้าหนักประมาณ 100-120 กร ัม ใช ้เวลาในการเลียงประมาณ
้ 3 ปี ในตู ้กระจก
่ อถึ
จนปลามีความสมบูรณ์เต็มทีเมื ่ งวัยเจริญพันธุ ์พบว่าตัวผูม้ น ้
ี าหนั ก 1.8
กิโลกร ัม ตัวเมียหนัก 2.1 กิโลกร ัม
โดยตัวผูม้ ค
ี วามยาวครีบท ้องมากกว่าตัวเมียถึงสองเท่า

หัวข้อที่ 9 ปลากระแหทอง

ชือสามั ่ ทยาศาสตร ์ :
ญ : Schwanenfeld’s Tinfoil Barb ชือวิ

Barbodes schwanenfeldi ลักษณะทัวไป ้ ดทีมี
:เป็ นปลานาจื ่ รป ้
ู ร่างป้ อมสัน
้ ่ นัตย ์ตาเล็ ก ปากเล็กและอยู่ปลายสุด
ลาตัวแบนข ้าง หัวเล็ ก จะงอยปากสันทู
้ 2 คู่ เกล็ดมีขนาดใหญ่ ครีบกระโดงหลังสูง และกว ้างมีสแี ดง
หนวดเล็ กและสันมี
ลาตัวเป็ นสีขาวเงินและสีเหลืองปนส ้ม ด ้านหลังสีเทาปนเขียว
แก ้มสีเหลืองปนแดง ขนาดของลาตัวความยาว 15 – 35 เซนติเมตร นิ สยั
:ร ักสงบ อยู่รวมกันเป็ นฝูง ปราดเปรียว ว่องไว ไม่อยู่น่ิ งชอบว่ายน้าตลอดเวลา

ถินอาศั ่ื ยกแตกต่างกันออกไป
ย :พบทุกภาคในประเทศไทย ทาให ้มีชอเรี
(ทะเลสาบสงขลาตอนใน) แม่น้าตาปี

ชาวใต ้เรียกชือปลานี ว่้ าปลากระทิงลายดอกไม ้ อาหาร : พืชพันธุ ์ไมน้ ้า
ตัวอ่อนแมลงน้า ซากสัตว ์และพืชทีเน่่ าเปื่ อย

หัวข้อที่ 10 ปลากระเบนลายเสือ

ปลากระเบนลายเสือ(อังกฤษ: Marbled whipray)


เป็ นปลากระเบนน้าจืดชนิ ดหนึ่ ง มีชอวิ
่ื ทยาศาสตร ์ว่า Himantura
oxyrhynchus อยู่ในวงศ ์ปลากระเบนธง (Dasyatidae)

รูปร่างเหมือนปลากระเบนชนิ ดอืนในวงศ ์เดียวกัน หางยาว

โคนหางมีเงียงแหลมมี พษ ิ 1 หรือ 2 ชิน้

ทีสามารถงอกใหม่ ่
ได ้เมือหลุ ิ้ ง
ดหรือหักไป หางไม่มรี วหนั
้ าตัวด ้านบนสีน้าตาลเหลือง กลางหลังมีเกล็ดเป็ นตุม
พืนล ่ หยาบ ๆ
มีจด ่ ั วไปจนปลายหาง
ุ ดาคลา้ ยลายของเสือดาวกระจายอยู่ทวตั

อันเป็ นทีมาของชือ่ พืนล
้ าตัวด ้านล่างสีขาว
หากินตามพืนท ้ ้องน้าโดยอาหารได ้แก่ ปลาขนาดเล็ก, สัตว ์หน้าดิน
้ นบริเวณผิวน้าบ ้างเป็ นบางครง้ั
และสัตว ์มีเปลือก จะว่ายขึนมาหากิ
มีขนาดประมาณ 40 เซนติเมตร
ปลากระเบนลายเสือเป็ นปลาน้ากร่อยทีพบอาศั
่ ่ นมาทางน้าจืด
ยอยู่คอ
่ อย พบได ้ตามปากแม่น้า เช่น ปากแม่น้าเจ ้าพระยา,
เป็ นปลาทีพบน้
ปากแม่น้าโขง, ทะเลสาบเขมร
และพบได ้ไกลถึงปากแม่น้าบนเกาะบอร ์เนี ยวของอินโดนี เซีย เป็ นต ้น
้ั
แต่มรี ายงานทางวิชาการว่าพบครงแรกที ่ แม่น้าน่ าน
เนื่ องจากเป็ นปลาทีมี
่ ลวดลายสวยงามจึงนิ ยมเลียงเป็
้ ่ ราคาแพ
นปลาสวยงามทีมี

แต่มก ้
ั จะเลียงไม่ ค่อยรอดเพราะปลามักประสบปัญหาปร ับตัวใหอ้ ยู่ในน้าจืดหรือ
ภาวะแวดล ้อมในทีเลี ่ ยงไม่
้ คอ
่ ยได ้

เว็บไซต ์อ้าอิง

http://www.toptenthailand.com/topten/detail/20131126204738
534

http://chan.nfe.go.th/laemsing_lib/?name=knowledge&file=rea
dknowledge&id=90
http://fishphotogallery.blogspot.com/2014/03/10.html

https://happyaged.wordpress.com/2014/02/24/10-
%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%
B1%E0%B8%9A-
%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%
A7%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8
%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B
8%A2/

You might also like