You are on page 1of 60

วิธีเพาะ

พันธุ์
ปลาดุก
ปลาดุก เป็ นปลาที่คนไทยรู้จัก
กันดี และมีความนิยมบริโภคใน
อัตราที่สูง สามารถทำรายได้ให้
กับ เกษตรกรผู้เพาะเลีย ้ งอย่าง
งาม เพียงแต่มีน้ำดี สภาพพื้นที่ดี
มีการเอาใจใส่ดูแลให้อาหารดี
รวมทัง้ ผู้เลีย
้ ง ขยันศึกษา
ปลาดุก
ปลาดุกเป็ นปลาพื้นเมืองของไทย
ในประเทศไทย
มีพันธุ์ปลาจำพวกปลาดุกอยู่ 5
ชนิด แต่ที่ร้จ
ู ักกันแพร่หลายมีอยู่
ปลาดุกด้าน ปลาดุกอุย
2 ชนิด
(Clarias (C.macroce
batrachus) phalus)
ปลาดุก
ปลาดุกที่พบในประเทศไทย ใน
ประเทศเรานัน ้ พบว่ามีปลาดุกด้วยกัน
ทัง้ หมด 5 ชนิด แต่เท่าที่ร้จ
ู ักมีเพียง
2 ชนิด คือ ปลาดุกอุย และปลาดุก
ด้าน ปลาดุกที่นิยมเลีย้ งคือ ปลาดุกด้าน
เพราะเนื้อปลาดุกด้านค่อนข้างแข็ง
ทำให้สามารถ ขนส่งได้ในระยะทาง
ไกลๆ ประกอบกับ ปลาดุกด้านเลีย ้ ง
ลักษณะ
ปลาดุกอุย
ปลาดุกอุย ( Clarias
macrocephalus ) เป็ นปลาพื้น
บ้านของไทยชนิดไม่มี เกล็ด รูปร่าง
เรียวยาว มีหนวด 4 เส้นที่ริมฝี ปาก
สีของผิวหนังค่อนข้างเหลือง มีจุด
ประตามตัวและบริเวณด้านข้างของลำ
ตัวอย่างเด่นชัด เนื้อสีออกเหลือง มีมัน
มาก ลำตัวค่อนข้างทู่ ส่วนปลายของ
กระดูกท้ายทอยจะป้ านและสัน ้
ลักษณะ
ปลาดุกด ้าน
ปลาดุกด้าน ( Clarias
batrachus )
สีของลำตัวค่อนข้างคล้ำเล็ก
น้อย เนื้อมีสีขาว มีมันที่น้อย
ส่วนหัวค่อนข้างแหลมและ
ส่วนปลายของ กระดูก
ท้ายทอยมีลักษณะแหลมยาว
ลักษณะดังกล่าว สังเกตเห็น
สุพรรณบุร ี
แหล่งเลีย
้ งประดุก ปทุมธานี

่ ำคัญ
ทีส
นครปฐม ฉะเชงิ เทรา

สมุทรปราการ
ส่วนในจังหวัดอื่นยังนับ
ว่ามีน้อย
สาเหตุทก ี่ ารเลีย
้ ง
ปลาดุก เพราะการเลีย ้ งปลาชนิดนีแ ้ ต่
เดิมมีปัญหาเรื่องพันธุ์ปลาที่
ยังไม่แพร่หลาย ขาดแคลน และอาหารปลา ซึ่งต้อง
ในจังหวัดอื่นๆใช้ปลาเป็ ดสด จากการประมง
อวนลากเป็ นหลัก ดังนัน ้ สถานที่
หรือบ่อที่ใช้เลีย
้ งปลาจึงจำเป็ นต้อง
ตัง้ อยู่ใกล้ชายทะเล เพื่อสะดวกใน
การจัดหาอาหารปลาดังกล่าว
จืดแห่งชาติก็ได้ทำการทดลองค้นคว้าและประสบ
ความสำเร็จ สามารถปรับปรุงสูตรอาหารสำเร็จรูปที่
เหมาะสมสำหรับเลีย ้ งปลาดุกขนาดเล็กและ ขนาด
ใหญ่ขน ึ ้ ได้โดยใช้วัสดุที่หาได้ง่ายและราคาถูกกับทัง้
สะดวกในการขนส่ง ตลอดจนการเก็บรักษา โดย
รักษาคุณภาพไว้ได้นานวัน ดังนัน ้ การเลีย
้ งปลาดุก
ทัง้ สองชนิดดังกล่าวคาดว่าจะสามารถเผยแพร่ไปใน
ท้องที่จังหวัดอื่นๆ ที่อยู่ห่างไกลจากทะเล โดย
เฉพาะจังหวัดต่างๆ ที่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียง
เหนือ ซึ่งปลาดุกมีราคาแพง ประชาชนมีความ
ต้องการจะนำไปเลีย ้ งเพื่อจำหน่ายและบริโภคเป็ น
ส่วนปั ญหาที่คดว่าจะเป็ นอุปสรรค อาทิ การขาดแคลน
น้ำนัน ้ ก็มิได้เป็ นปั ญหาแต่ประการใด เพราะสามารถใช้
ช่วง ระยะเวลาในฤดูฝนที่มีน้ำอุดมสมบูรณ์ 3-4 เดือน ก็
เป็ นการเพียงพอที่จะทำการเลีย ้ งปลาดุกให้มีขนาดโตได้
ตามที่ตลาดต้องการ ส่วนพื้นที่ซึ่งอยู่ในเขตชลประทาน
นัน
้ สามารถจะเลีย ้ งปลาดุกในบ่อและในนาได้ตลอดปี
นอกจากนีป ้ ลาดุกยังมีความอดทน และเลีย ้ งได้ในความ
หนาแน่นสูง โดยใช้พ้น ื ที่ในการขุดบ่อไม่มากนัก การ
ลงทุนในด้านนีจ ้ ึงต่ำ ส่วนอาหารปลาอาจจะต้องใช้อาหาร
สำเร็จรูป และหาทางลดปริมาณการใช้ลงด้วยการเพาะ
หนอน ไส้เดือน หรือการเลีย ้ งปลาดุกแบบผสมผสานกับ
อนึ่งแหล่งน้ำต่างๆ ที่มีจำนวนมากในภาคนีก ้ ็สามารถจะ
พิจารณาใช้ในการเลีย ้ งปลาดุกในกระชังได้ สำหรับราย
ละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับการเพาะเลีย
้ งปลาดุกจะได้กล่าวต่อ
ไป
ชีวประวัติปลา
ดุก
ชวี ประว ัติของปลาดุก
1. ถิ่นที่อยู่อาศัย ปลาดุกอาศัยอยู่ในแหล่งน้ำจืด
ทั่วไปแม้แต่ในหนองน้ำที่มีน้ำเพียงเล็กน้อยก็ยังพบ
ปลาดุก ทัง้ นีเ้ พราะปลาดุกมีอวัยวะพิเศษที่ช่วยใน
การหายใจ จึงสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ในสภาวะ
ของน้ำที่มีออกซิเจนเพียงเล็กน้อย ถึงแม้ในน้ำที่
ค่อนข้างกร่อยในเขตชลประทานบริเวณชายทะเล
ปลาดุกก็สามารถอยู่อาศัยได้เป็ นอย่างดี นอกจากนี ้
ปลาดุกยังมีถิ่นที่อยู่อาศัยในประเทศต่างๆ ใน
ภูมิภาคตะวันออกเฉียงใต้ทุกประเทศ
ชวี ประว ัติของปลาดุก
2. รูปร่างและลักษณะ ลำตัวยาว ไม่มีเกล็ด ครีบ
ท้องยาว ไม่มีกระโดง ครีบท้องยาวเกือบถึงโคนหาง
ครีบหางแบน มีหนวด 4 คู่ ส่วนหัวแบน ตาขนาด
เล็กอยู่ด้านบนของหัว ปลาดุกด้านมีสีตัวเทาปนดำ
ส่วนปลาดุกอุยมีสีผิวค่อนข้างเหลือง มีจุดประตาม
ด้านข้างของลำตัว ส่วนข้อแตกต่างระหว่างปลาดุก
ด้านและปลาดุกอุยที่แจ้งชัดก็คือ ส่วนปลายของ
กระดูกท้ายทอยของปลาดุกด้านแหลมกว่า ปลาดุก
อุย ซึ่งมีลักษณะป้ านสัน

ชวี ประว ัติของปลาดุก
2. รูปร่างและลักษณะ
3. ลักษณะเพศ ในช่วงนอกฤดูผสมพันธุ์ (พ.ย.-ม.ค.) จะ
สังเกตความแตกต่างของปลาเพศผู้ และเพศเมียจาก
ลักษณะของอวัยวะเพศได้ค่อนข้างยาก ส่วนในฤดูผสมพันธุ์
อวัยวะเพศของปลาดุกจะ พัฒนาขึน ้ จนสังเกตความแตก
ต่างได้อย่างเด่นชัด คือ เมื่อจับปลาหงายท้องขึน ้ จะเห็น
อวัยวะเพศตรงส่วนล่างของตัวปลาใกล้กับทวารซึ่งมีสีแดง
ได้อย่างชัดเจน ปลาเพศผู้มีลักษณะเรียวยาวและปลาย
แหลม ส่วนปลาเพศเมียจะมีอวัยวะเพศค่อนข้างกลมอยู่ทาง
ตอนใต้ทวารและมีขนาดสัน ้ กว่า นอกจากนีป้ ลาตัวเมียใน
ช่วงฤดูผสมพันธุ์จะสังเกตได้ง่ายเมื่อมองจากด้านบนของตัว
ปลาจะมีส่วนท้องป่ องออกมาทัง้ สองข้าง ส่วนปลาเพศผู้จะ
ชวี ประว ัติของปลาดุก
3. ลักษณะเพศ
ชวี ประว ัติของปลาดุก
4. นิสัยในการกินอาหาร ปลาดุกที่อยู่ในแหล่งน้ำ
ธรรมชาติกินอาหารจำพวกลูกกุ้งฝอย แมลง และตัว
อ่อนของแมลงในนา นอกจากนีป ้ ลาดุกยังชอบกินอาหาร
โปรตีนที่เน่าเปื่ อย บางท่านจึงจัดปลาดุกไว้เป็ นประเภท
ที่กินของเน่าเปื่ อย (scavenger) แต่เมื่อนำปลาดุกมา
เลีย
้ งก็สามารถฝึ กหัดให้ปลากินอาหารผสม เช่น รำข้าว
ปลายข้าว กากถั่ว ปลาป่ น หรืออาหารประเภทเนื้อเช่น
ปลาเป็ ด ไส้ปลาทู ไส้ไก่ และอาหารสำเร็จรูป ปลาดุกมี
นิสัยชอบขึน ้ มากินอาหารที่ใกล้ผิวน้ำ
ชวี ประว ัติของปลาดุก
5. ฤดูวางไข่ โดยธรรมชาติปลาดุกเริ่มวางไข่ตงั ้ แต่ปลาย
เดือนกุมภาพันธ์-ตุลาคม และจะวางไข่มากในช่วงฤดูฝน
ระหว่างเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม ซึ่งแต่ละภาคจะมี
ความแตกต่างกันบ้างตามสภาวะของลมฟ้ าอากาศ แม่
ปลาจะวางไข่ปีหนึ่งประมาณ 3-4 ครัง้ ๆ ละ 3,000-
15,000 ฟอง ความมากน้อยของไข่ขน ึ ้ อยู่กับขนาดของ
ปลา ส่วนพฤติกรรมในการผสมพันธุ์และวางไข่ของปลา
ดุกทัง้ สองชนิดนีม
้ ีความแตกต่างกัน ดังนี ้
-การวางไข่ของปลาดุกด้าน ปลาดุกด้านเป็ นปลาที่จับ
คู่ผสมพันธุ์กันโดยปลาตัวผู้จะขุดหลุมหรือโพรงดิน
ลักษณะกลม มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 20-30 ซม.
ลึกประมาณ 10 ซม. ในแหล่งน้ำธรรมชาติ หลุมซึ่งเป็ นที่
วางไข่จะอยู่ชายฝั่ งต่ำกว่าระดับผิวน้ำประมาณ 50 ซม.
ไข่ของปลาดุกด้านเป็ นไข่จม มีสีเหลืองอ่อน มีเส้นผ่า
ศูนย์กลาง 1.3-1.6 มม. ปลาจะวางไข่อยู่บนพื้นก้นหลุม
หรือโพรงดิน ไข่ปลาจะฟั กเป็ นตัวภายในเวลาประมาณ
25 ชั่วโมง ภายใต้อุณหภูมิของน้ำประมาณ 27 องศา
เซลเซียส พ่อแม่ปลาจะเฝ้ าดูแลไข่และลูกปลาในหลุม
ประมาณ 7-10 วัน ในช่วงนีล ้ ูกปลาจะเกาะกลุ่มกันอยู่
การวางไข่ของปลาดุกอุย
-การวางไข่ของปลาดุกอุย ปลาชนิดนีม ้ ักจะวางไข่ในที่
ตื้นๆ ตามท้องนาและทุ่งหญ้า ที่มีน้ำขังในระดับน้ำลึก
ประมาณ 20 ซม. โดยพ่อแม่ปลาจะกัดหญ้าหรือโคนต้น
ข้าวกล้าให้เป็ นช่องว่าง และคุ้ยดินบริเวณนัน้ ให้เป็ นแอ่ง
ค่อนข้างกลม สีน้ำตาลเป็ นเงาใส ภายหลังปลาวางไข่
แล้ว ปลาตัวผู้จะไล่ตัวเมียออกนอกรัง และเฝ้ ารักษาไข่
อย่างใกล้ชิด ไข่จะฟั กเป็ นตัวประมาณ 25-30 ชั่วโมง
ภายใต้อุณหภูมิของน้ำประมาณ 25-30 องศาเซลเซียส
หลังจากนัน้ อีก 3-4 วัน ลูกปลาดุกก็จะละทิง้ รังไข่ออกไป
หาอาหารกินตามธรรมชาติ
การเพาะ
ปลาดุก พั น ธุ ์
ในปั จจุบันเป็ นที่ยอมรับกันในหมู่นักเพาะเลีย
้ งปลาโดยทั่วไป
แล้วว่า การที่จะผลิตลูกปลาชนิดใดให้ได้มากและประหยัดเงินค่า
ใช้จ่าย ตลอดจนการใช้พ้น ื ที่ไม่มากนัก จะต้องกระทำโดยวิธี
ผสมเทียม ตามที่ได้กำหนดการและเหตุผลที่จำเป็ นจะต้องนำเอา
วิธีการผสมเทียมมาปฏิบัติในการเพาะปลาบางชนิด ที่ไม่วางไข่ใน
บ่อไว้แล้ว และสำหรับการเพาะพันธุ์ปลาดุกด้านและปลาดุกอุย
นัน
้ ใช้วิธีแตกต่างกันกล่าวคือ การเพาะปลาดุกด้านใช้วิธีเลียน
แบบธรรมชาติซึ่งได้ผลดี ส่วนการเพาะปลาดุกอุยใช้วิธีผสมเทียม
ดังรายละเอียดและการเพาะปลาดุกแต่ละชนิด ดังต่อไปนี ้
การเพาะ
เลีย
้ ง
ปลาดุก
1. การเพาะปลาดุกด้านด้วยวิธี
เลียนแบบธรรมชาติ มีขน ั ้ ตอน
ต่างๆ คือ เริ่มตัง้ แต่การสร้างบ่อ
การเลีย ้ งดูพ่อแม่ปลา การ
รวบรวมลูกปลาที่ได้จากการ
เพาะฟั ก ตลอดจนการอนุบาล
ลูกปลา ดังนัน ้ การเพาะฟั กปลา
ดุกด้านมีข้อพึง ปฏิบัติ
ดังนี ้
การเลือกสถานที่
สถานที่จะใช้เพาะพันธุ์ปลาดุกด้านนัน ้
จำเป็ นต้องเลือกเป็ นพิเศษ เนื่องจากการ
เพาะปลูกชนิดนีจ ้ ำเป็ นต้องใช้ปริมาณน้ำมาก
จึงจะสามารถปฏิบัติได้เกือบทัง้ ปี เพราะจะ
ต้อง มีการถ่ายเทน้ำบ่อยๆ ดังนัน ้ สถานที่
หรือบ่อเพาะปลาควรอยู่ใกล้คลอง
ชลประทาน หรือแม่น้ำ ลำธาร พอที่จะชักน้ำ
เข้ามาโดยไม่ต้องสูบหรือสูบขึน ้ มาใช้ได้ตาม
บ่อเลีย้ งพ่อแม่ปลา
โดยปกติบ่อที่เลีย
้ งพ่อแม่ปลาดุกจะใช้บ่อขนาดเดียวกับบ่อที่
เลีย
้ งปลาดุกขุนส่งตลาด คือ ขนาด 200-400 ม.2 น้ำลึกประมาณ
1.5 เมตร ถ้าเป็ นฟาร์มที่เพาะปลาดุกจำหน่ายก็จำเป็ นต้องมี
หลายบ่อ พ่อแม่ปลาดุกที่จะคัดไว้ทำพันธุ์ควรเป็ นปลาที่มีอายุ
อย่างน้อย 8 เดือน มีความยาวประมาณ 25 ซม. น้ำหนัก 200
กรัมขึน ้ ไป อัตราส่วนที่ปล่อยลงเลีย
้ งประมาณ 10
ตัว/ม.2 สำหรับปลาดุกอุยควรเลีย ้ งด้วยวิธีแยกเพศในบ่อดิน
ขนาด 200 ม.2 หรือบ่อซีเมนต์ขนาด 50 ม.2 ก็ใช้ได้ ให้อาหาร
สำเร็จรูปที่มีโปรตีนสูงประมาณ 40% หรือปลาเป็ ดบด 90%
ผสมรำข้าว 10% เพื่อให้อาหารเหนียว เมื่อโยนให้ปลากินจะได้
บ่อเพาะพันธุ์
สำหรับในภาคกลางที่จังหวัดฉะเชิงเทรามีฟาร์มเพาะปลาดุกด้าน
จำนวนมาก นิยมใช้บ่อเพาะมีเนื้อที่ตงั ้ แต่ 4-20 ไร่ ขึน
้ อยู่กับฐานะของ
เจ้าของฟาร์มและแหล่งทำเลที่เอื้ออำนวยและปั จจัยอื่นๆ ดังได้กล่าวใน
เบื้องต้น สำหรับขนาดของบ่อเพาะพันธุ์ปลาดุกด้านที่ควรจะนำไป
ประยุกต์ใช้ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในขัน
้ ต้นนีค ้ วรเพาะด้วยบ่อ
ขนาด 1-3 ไร่ก่อน เมื่อเกษตรกรมีความชำนาญมากขึน ้ และหรือมีผู้ซ้อ

ลูกปลาชนิดนีม้ ากขึน้ ก็สามารถเพิ่มขนาดและจำนวนบ่อให้มากขึน ้ ได้ตาม
ต้องการรูปร่างของบ่อเพาะพันธุ์ควรเป็ นรูป 4เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งสามารถ
จะดัดแปลงจากนาข้าวโดยขุดดินเป็ นคูโดยรอบภายในกว้าง 3 เมตร ลึก
1.25 เมตร นำดินที่ขุดขึน ้ มาไปทำคันหรือเสริมคันนาเดิมให้หนาแน่นและ
สูงขึน
้ สามารถเก็บกักน้ำได้สูงจากพื้นน้ำประมาณ 60 ซม. บนพื้นนา
ปล่อยให้หญ้าขึน้ สูงตามธรรมชาติประมาณ 5 ซม. โดยทั่วไปแล้วขุด หลุม
อัตราการปล่อยพ่อแม่พันธุ์
โดยปกติตามธรรมชาติแล้วปลาดุกจะจับคู่ผสมพันธุ์กัน ดังนัน ้
การเพาะพันธุ์ก็มีความจำเป็ นที่จะต้องจัดอัตราส่วนระหว่างปลา
ตัวผู้และตัวเมียให้เท่ากัน แต่การ ปฏิบัติทำได้ยาก เพราะปลาดุก
มีเงี่ยง และจะยักแทงเจ็บปวด ดังนัน ้ การเพาะปลาชนิดนีจ้ ึงใช้วิธี
คำนวณ โดยถือน้ำหนักเป็ นเกณฑ์ โดยคัดเลือกพ่อแม่ปลา
ลักษณะสมบูรณ์ที่มีน้ำหนักตัวละ 150-200 กรัม จำนวน 100
กก./เนื้อที่ของบ่อเพาะ 1 ไร่ ที่เตรียมไว้ โดยสูบน้ำหรือปล่อยน้ำ
เข้าบ่อใหม่ๆ ผ่านท่อและตะแกรงตาถี่ป้องกันศัตรูให้มีระดับน้ำสูง
50-60 ซม. จากพื้นบ่อสำหรับจำนวนพ่อแม่ปลาที่มีขนาดดัง
การรวบรวมลูกปลาดุกจากบ่อเพาะ
พ่อแม่ปลาดุกจะผสมพันธุ์และวางไข่ในหลุม ที่ได้เตรียมไว้
ประมาณ 3 วัน หลังจากที่ปล่อยปลาลงเพาะ ไข่ปลาจะฟั กเป็ นตัว
ภายในหลุม โดยพ่อแม่ปลา จะดูแลรักษาอย่างใกล้ชิด ลูกปลาจะรวม
กลุ่มกันอยู่กับพ่อแม่ปลาภายในหลุมประมาณ 7 วัน ดังนัน ้ ภายใน 9-
10 วันหลังจากปล่อยพ่อแม่ปลา ลงเพาะ ก็ต้องเริ่มรวบรวม
ลูกปลาจากหลุมไข่ทันที มิฉะนัน ้ ลูกปลาจะแตกฝูงและรวบรวมได้ยาก
การ จับลูกปลาใช้วิธีเดินไปตามหลุมที่ขุดไว้ โดยใช้มือแหย่ลงไปใน
หลุม ถ้าหลุมใดมีลูกปลามาเกาะพันมือ และลูกปลาโตตามที่
ต้องการก็ใช้กระชอนไนลอนตาถี่กลมขนาดพอดีที่จะช้อนลูกปลา
ภายในหลุม นำลูกปลาที่ช้อนได้ใส่ชามกะละมังพลาสติกขนาด
-การเตรียมเพาะครัง้ ต่อไป เมื่อช้อนจับลูกปลาออกจากหลุมหมด
แล้ว ซึ่งจะใช้เวลาประมาณ 2-3 สัปดาห์หลังจากปล่อยพ่อแม่ลง
เพาะ ในการเพาะครัง้ ต่อไปก็จะต้องสูบน้ำหรือระบายน้ำจากบ่อ
ให้เหลือน้ำเฉพาะที่ขังในคูเท่านัน้ พ่อแม่ปลาจะมารวมกันอยู่ในคู
ในระยะนีจ ้ ะต้องเริ่มให้อาหารพ่อแม่ปลาโดยเลือกดูด้านที่อยู่ต่ำ
สุดเป็ นที่ให้อาหารสัก 2-3 แห่ง และหากในบ่อมีหญ้าขึน ้ สูงและ
หนาแน่นก็จำเป็ นต้องตัดทิง้ มิฉะนัน ้ หญ้าจะเน่าทำให้น้ำเสีย
เนื่องมาจากการสลายตัวของอินทรียวัตถุโดยการกระทำของ
แบคทีเรีย ทำให้เกิดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และ
-เมื่อเลีย
้ งพ่อแม่ปลาในคูเป็ นเวลาประมาณ 2 สัปดาห์ จะต้องวิด
น้ำในคูให้แห้ง รวบรวมพ่อแม่ปลาไปไว้ในส่วนที่ลึกของคู แล้ว
ทำการรวบรวมลูกปลาดุกที่ตกค้างอยู่ในคู่ให้หมด โกยเลนขึน ้
เพื่อกำจัดสิ่งปฏิกูลต่างๆ ที่ก้นคู อันประกอบด้วยเศษอาหารเหลือ
บูดเน่าประกอบด้วย แก๊สไฮโดรเจนซัลไฟด์ นอกจากนี ้
ศัตรูของปลา เช่น ปลาช่อน กบ เขียด งู ก็จะต้องกำจัดให้หมด
หลังจากนัน ้ ก็สูบ หรือปล่อยน้ำเข้าบ่อให้ท่วมสูงจากพื้นนา
ประมาณ 60 ซม. แล้วดำเนินการรวบรวมลูกปลาดุกตามกำหนด
วันเวลาดังที่ได้ปฏิบัติในการเพาะครัง้ แรก
การเพาะปลาดุกด้านด้วยวิธีนใี ้ นเนื้อที่ประมาณ 1 ไร่ จะได้
ลูกปลาครัง้ ละประมาณ 2-3 แสนตัว และจะต้องเปลี่ยนพ่อแม่
ปลาใหม่ภายหลังที่ใช้เพาะติดต่อกันประมาณ 3 ครัง้ ในระยะ
เวลา 1ปี จะสามารถเพาะปลาได้ในบ่อเดียวกันนีป ้ ระมาณ 10
ครัง้
การเพาะ
เลีย
้ ง
ปลาดุกอุย
การเพาะปลาดุกอุยด้วยวิธีผสมเทียม
ซึ่งปฎิบัติได้ผลดีกว่าการเพาะด้วยวิธีเลียนแบบธรรมชาติ โดยมี
ขัน
้ ตอนในการดำเนินการดังนี ้
พ่อแม่พันธุ์และการคัดเลือก
พ่อแม่พันธุ์ปลาที่จะนำมาใช้ผสมเทียม ควรมีขนาดตัง้ แต่ 200-
250 กรัม โดยการคัดเลือกจากบ่อเลีย ้ งพ่อแม่พันธุ์ รวบรวมจาก
แหล่งน้ำธรรมชาติหรือจากตลาด การคัดเลือกพ่อแม่ปลาดุกอุย
เพื่อใช้เพาะด้วยวิธีผสมเทียมมีความสำคัญมาก โดยจะต้อง
พิจารณาเลือกพ่อแม่ปลาที่พร้อมจะวางไข่และน้ำเชื้อแก่ โดย
สังเกตได้จากความสมบูรณ์ของปลา อวัยวะเพศที่มีสีแดงคล้ำ
และถ้าเป็ นแม่ปลาก็จะต้องมีท้องป่ องออกมาทัง้ สองข้างลำตัว
การเตรียมพ่อแม่พันธุ์
อัตราส่วนที่ต้องใช้ในการผสมเทียม คือ ใช้ปลาตัวผู้ 5-6
ตัว/ปลาตัวเมีย 10 ตัว โดยคัดขังแยกกันไว้คนละถังหรือกระชังที่
มีฝาปิ ด พ่อแม่ปลาที่จะใช้เพาะจะต้องคัดขนาดไล่เลี่ยกันไว้เป็ น
ชุดๆ เช่น ขนาด 200-220 กรัม ขนาด 230-250 กรัม และจะ
ต้องชั่งและนับจำนวนปลาของแต่ละชุดว่ามีกี่ตัว ใส่ถังกลมใส่น้ำ
เล็กน้อยมีฝาปิ ดไว้เพื่อสะดวกในการจับนำมาใช้ฉีดฮอร์โมน และ
ทราบน้ำหนักของปลารวมแต่ละชุด เพื่อนำไปคำนวณปริมาณ
ฮอร์โมนที่จะนำมาใช้ฉีดแต่ละครัง้ ตามโดสที่ต้องการ
มีข้อสังเกตจากประสบการณ์ว่าถ้าไม่ได้คัดขนาดและเตรียมพ่อ
แม่ปลาไว้เป็ นชุดดังกล่าวแล้ว เมื่อทำการฉีดฮอร์โมนคละกันไป
ระหว่างปลาขนาดเล็กและขนาดใหญ่ที่มีความแตกต่างกันมาก
การเตรียมพ่อแม่พันธุ์
อัตราส่วนที่ต้องใช้ในการผสมเทียม คือ ใช้ปลาตัวผู้ 5-6
ตัว/ปลาตัวเมีย 10 ตัว โดยคัดขังแยกกันไว้คนละถังหรือกระชังที่
มีฝาปิ ด พ่อแม่ปลาที่จะใช้เพาะจะต้องคัดขนาดไล่เลี่ยกันไว้เป็ น
ชุดๆ เช่น ขนาด 200-220 กรัม ขนาด 230-250 กรัม และจะ
ต้องชั่งและนับจำนวนปลาของแต่ละชุดว่ามีกี่ตัว ใส่ถังกลมใส่น้ำ
เล็กน้อยมีฝาปิ ดไว้เพื่อสะดวกในการจับนำมาใช้ฉีดฮอร์โมน และ
ทราบน้ำหนักของปลารวมแต่ละชุด เพื่อนำไปคำนวณปริมาณ
ฮอร์โมนที่จะนำมาใช้ฉีดแต่ละครัง้ ตามโดสที่ต้องการ
มีข้อสังเกตจากประสบการณ์ว่าถ้าไม่ได้คัดขนาดและเตรียมพ่อ
แม่ปลาไว้เป็ นชุดดังกล่าวแล้ว เมื่อทำการฉีดฮอร์โมนคละกันไป
ระหว่างปลาขนาดเล็กและขนาดใหญ่ที่มีความแตกต่างกันมาก
-อุปกรณ์ที่ใช้ไนการฉีดฮอร์โมนนัน
้ มี
อุปกรณ์เช่นเดียวกับอุปกรณ์ฉีด
ฮอร์โมนในการผสมเทียมกับปลาชนิด
อื่น ๆ ที่กล่าวมาแล้วข้างต้น
-การเตรียมฮอร์โมน
ฮอร์โมนที่นำมาใช้เพาะปลาดุกอุยนี ้ ในปั จจุบันนีน
้ ิยมใช้
จากต่อมใต้สมองสดของปลาจีนซึ่งได้ผลดี จัดหาได้ง่าย
และราคาถูก ส่วนฮอร์โมนสกัดจากปั สสาวะหญิงมีครรภ์นน ั้
แม้ว่าจะใช้ได้ผลดี แต่ในทางปฏิบัติและเตรียมการยังมี
ความยุ่งยากสำหรับเกษตรกร เพื่อความสะดวกในการที่จะ
ต้องใช้ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองปลา ควรใช้วิธีเก็บรวบรวม
ต่อมไว้ให้มีจำนวนมากพอและสะดวกในการที่จะนำมาใช้
โดยการเก็บรักษาต่อมใต้สมองสดไว้ในน้ำยาแอลกอฮอล์
ขาวที่มีความบริสุทธิ ์ 100% ชนิดกินได้ หรือน้ำยาอาซีโตน
-ปริมาณและอัตรการใช้
มีหลักเกณฑ์การใช้เป็ นหน่วยน้ำหนักเป็ นมิลลิกรัมของต่อมใต้
สมองที่จะนำไปใช้ฉีดยาซึ่งให้ผลได้แน่นอน แต่เหมาะสำหรับใช้
ปฏิบัติในทางวิชาการเท่านัน ้ อีกวิธีหนึ่งคือการเปรียบเทียบเป็ น
หน่วยน้ำหนักของปลาที่จะฉีดกับน้ำหนักของปลาที่จะเก็บต่อม
โดยทั่วไปมักนิยมใช้วิธีหลัง โดยกำหนดหน่วยขึน ้ เรียกว่าโดส โดย
ถือว่าฮอร์โมน 1 โดส คือ น้ำหนักของปลาที่เก็บต่อมมาใช้ มีน้ำ
หนักเท่ากับปลาที่จะฉีด ซึ่งเป็ นหลักและมาตรฐานที่นักเพาะเลีย ้ ง
ปลายอมรับและใช้กันทั่วไป สำหรับการเพาะปลาดุกอุย ปลาตัว
เมียจะต้องได้รับการฉีดฮอร์โมน 2 ครัง้ ครัง้ แรกใช้ฮอร์โมน 1
โดส ครัง้ ที่สองใช้ฮอร์โมน 2 โดส และระยะเวลาที่ฉีดครัง้ แรกและ
ครัง้ ที่สองห่างกัน 12-16 ชั่วโมง ส่วนปลาตัวผู้ฉีด 0.5 โดส เพียง
โดยปกติการเพาะปลาดุกอุยแต่ละครัง้ นัน ้ จะ
ต้องใช้แม่ปลาตัง้ แต่ 2 กก. (แม่ปลา 10 ตัว) ขึน

ไป จึงจะมีผลคุ้มค่าและเวลาที่เสียไป โดยเฉลี่ย
แล้วแม่ปลา 1 ตัว จะรีดไข่ได้ 10,000-15,000
ฟอง ไข่ฟักเป็ นตัวประมาณ 80%
สำหรับการคำนวณอัตราของฮอร์โมน
ที่จะใช้กับปลาตัวเมียจากตัวอย่างที่ได้ปฏิบัติในการเพาะ
ปลาชนิดนี ้ สมมุติว่าใช้ปลา 2 กก. ซึ่งมีแม่ปลาน้ำหนักตัว
ละ 200 กรัม จำนวน 10 ตัว ต้องใช้ต่อมใต้สมองของ
ปลาสดที่เก็บต่อม 2 กก. เพื่อจะได้สารละลายฮอร์โมน
เท่ากับ 1 โดส โดยนำเอาต่อมใต้สมองมาบดให้ละเอียด
ด้วยเครื่องบดฮอร์โมนซึ่งเป็ นหลอดแก้วและมีแท่งแก้ว
สำหรับบด บดให้ ละเอียดแล้วเติมน้ำกลั่นลงไป 1 ซีซี
เพื่อนำไปฉีดปลาดุกตัวละ 1/2 ซีซี จนครบ 10 ตัว โดยมิ
ให้มีน้ำยาเหลือหรือขาด และก่อนที่จะนำไปฉีด ต้องใช้
สำหรับปลาดุกอุยตัวผู้ไม่สามารถจะรีดน้ำเชื้อออกมาได้ ซึ่ง
แตกต่างกับปลาชนิดอื่นๆ ในบางครัง้ ถ้าสภาพของปลาไม่
สมบูรณ์ก็ต้องใช้ฮอร์โมนขนาด 0.5 โดส ฉีดเร่งให้น้ำเชื้อแก่และ
พัฒนาขึน ้ ภายหลังจากฉีดปลาตัวเมียแล้ว 6-10 ชั่วโมง
ถ้าใช้ฮอร์โมนสกัดจากปั สสาวะหญิงมีครรภ์ต้องฉีด 2 ครัง้
เช่นเดียวกัน อัตราส่วนของฮอร์โมนที่ใช้ทงั ้ หมด 6,000 IU/น้ำ
หนักปลาดุกอุยตัวเมีย 1 กก. (ปลาดุก 5-6 ตัว) โดยทำการฉีด
ครัง้ แรก 10% คือฉีดตัวละ 100 IU ส่วนฮอร์โมนที่เหลืออีก
90% หรือ 5,400 IU ก็นำไปฉีดเฉลี่ยแก่ปลาทุกตัวในครัง้ ที่สอง
ซึ่งเว้นระยะเวลาห่างกันกับการฉีดครัง้ แรก 6 ชั่วโมง หลังจาก
การฉีดครัง้ ที่สองแล้ว ประมาณ 12 ชั่วโมง จึงทำการตรวจปลา
การฉีดฮอร์โมน
เนื่องจากปลาดุกอุยเป็ นปลาขนาดเล็ก ตำแหน่งที่เหมาะสม
คือการฉีดเข้ากล้ามเนื้อบริเวณเหนือเส้นข้างตัว ตรงใต้ฐานของ
ครีบหลังโดยจับปลาที่จะฉีดวางไว้บนโต๊ะที่มี ผ้าขนหนูชุบน้ำ
รองรับไว้ และใช้ผ้าขาวชุบน้ำหมาดๆ คลุมตัวปลา แล้วจับให้
มั่นทางหัวและหางปลาเพื่อกันมิให้ปลาตื่นเวลาฉีด ในการนีอ ้ าจ
จะใช้ยาสลบเล็กน้อยแช่ปลาก่อนนำมาฉีดก็ได้ ใช้เข็มฉีดยาและ
กระบอกฉีดที่บรรจุสารละลายฮอร์โมนค่อยๆ แทงเฉียง
ประมาณ 45° ของตัวปลา ระวังอย่าให้ปลายเข็มฉีดยาแทงถูก
กระดูกสันหลัง แล้วค่อยๆ เดินน้ำยาเข้าตัวปลาอย่างช้าๆ จน
ครบ 1/2 ซีซี ตามต้องการ เมื่อจะดึงเข็มออกใช้มืออุดกดตรง
การผสมไข่และน้ำเชื้อ 
การผสมเทียมปลาดุกอุยใช้กรรมวิธีแบบผสมเปี ยก (Wet
method) โดยก่อนที่จะถึงเวลารีดไข่ปลาเพื่อผสมเทียมจะต้องเตรี
ยมอุปกรณ์ที่จะใช้ในการผสมเทียมให้พร้อม เช่น กะละมังพลาสติก
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 6 นิว้ ขนไก่ที่แห้งสนิท ผ้าขนหนูแห้ง น้ำ
สะอาด หรือน้ำเกลือเข้มข้น 0.7 % ประมาณ 5 ลิตร อุปกรณ์เหล่า
นีจ
้ ะเตรียมไว้มากน้อยขึน ้ อยู่กับจำนวนปลาที่ใช้ ในการผสมเทียม
แต่ละครัง้ เมื่อได้เวลาที่กำหนดไว้หรือสังเกตเห็นว่าในภาชนะที่ขัง
ปลาไว้มีไข่ไหลติดอยู่บ้างแล้ว ให้ใช้สวิงจับแม่ปลาขึน ้ มาพร้อมกับใช้
ผ้าขนหนูแห้งเช็ดซับน้ำที่บริเวณท้องและลำตัวของปลาให้แห้ง ใช้
มือซ้ายจับบริเวณส่วนหาง และมือขวาจับบริเวณส่วนท้องให้กระชับ
โดยให้ส่วนหางอยู่ต่ำกว่าส่วนหัว ในขณะเดียวกันก็ใช้นว ิ ้ มือข้างขวา
ถ้ารีดไข่ปลาตัวเมีย 5 ตัว ก็ต้องใช้น้ำเชื้อจากปลาตัวผู้ 3 ตัว
โดยนำเอาถุงน้ำเชื้อมาห่อรวมในผ้าขาวหรือกระชอนไนลอนตา
ถี่ แล้วทำการบีบขยีเ้ พื่อให้น้ำเชื้อแตกออกจากถุงน้ำเชื้อ พร้อม
กับใช้น้ำเกลอ 0.7 %หรือน้ำที่สะอาดเทราดลงไปที่ห่อดังกล่าว
เพื่อชะล้างน้ำเชื้อที่บีบขยีอ
้ อกมาให้ไหลลงบนไข่ปลาในกะละมัง
พร้อมทัง้ ใช้ขนไก่คนให้ทั่วโดยใช้เวลาประมาณ 1-2 นาที
สำหรับปริมาณน้ำที่เทราดหรือใช้ผสมไข่กับน้ำเชื้อนัน ้ เพียงเล็ก
น้อย กะพอดีกับที่จะให้ท่วมไข่ และสามารถใช้ขนไก่คนไข่ผสม
กับน้ำเชื้อสะดวก แล้วจึงเทน้ำที่ใช้ผสมไข่ครัง้ แรกทิง้ หลังจาก
การผสมประมาณ 3 นาที เติมน้ำที่สะอาดเพื่อล้างไข่ 1-2 ครัง้
การเพาะฟั ก มีอุปกรณ์ต่างๆ ดังต่อไปนี ้
-บ่อฟั กซึ่งใช้สำหรับใส่กระชังอวนเปลเพื่อฟั กไข่ ควรเป็ นบ่อ
ซีเมนต์ขนาด 10-15 ม.2 ลึกประมาณ 1 เมตร ขนาดและ
จำนวนของบ่อขึน ้ อยู่กับปริมาณไข่ที่จะนำมาใช้ฟักจากการ
ผสมเทียม บ่อฟั ก ควรมีหลังคาคลุมเพื่อป้ องกันแดดและฝนด้วย
-กระชังอวนเปลเพาะฟั ก ทำด้วยผ้าไนลอนขนาดกว้าง 1 ม.
ยาว 1.5 เมตร ลึก 45 ซม. อวนเปล 1 กระชัง จะใช้เพาะไข่ปลา
ดุกอุยได้ 1-2 แม่ และในบ่อฟั กซีเมนต์ 2x5x1 เมตร จะสามารถ
ใส่กระชังอวนเปลสำหรับเพาะไข่ได้ 5 กระชัง
-น้ำและระบบน้ำ น้ำที่ใช้เพาะไข่ปลาดุกควรเป็ นน้ำที่กรองหรือ
ทำให้ตกตะกอนแล้ว มีปริมาณพอที่จะสูบเปลี่ยนถ่ายจากบ่อ
เพาะฟั กได้วันละ 1/3 ของบ่อตลอดระยะเวลาที่ใช้ในการเพาะ
ฟั ก 3-5 วัน และจะได้ผลดียิ่งขึน
้ ถ้าใช้เครื่องสูบน้ำชนิด
submersible pump ขนาด  1/2 – 1 H.P. ตัง้ ไว้ใต้น้ำในบ่อ
ฟั ก สูบน้ำผ่านท่อเอสลอน ปล่อยให้ไหลลงกระชังตอนบนทุก
กระชัง เพื่อให้น้ำไหลเวียนตลอดระยะการเพาะฟั ก

-การใช้เครื่องเป่ าลมช่วยในการเพาะฟั กในทางปฎิบัติ สำหรับ


ฟั กไข่ปลาดุกไม่จำเป็ น เพราะก่อให้เกิดปั ญหาที่ทำให้ของเสีย
เมื่อได้เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้เพาะฟั กเรียบร้อยแล้ว ก็นำไข่ที่ได้
ทำการผสมเทียมไปโรยในกระบะ ที่วางแช่ไว้ในอวนเปล
พยายามกระจายไข่ให้ทั่วกระบะอย่าให้ไข่กองทับกัน โดยใช้มือ
กวนน้ำแกว่งไปมา เมื่อโรยไข่ลงไป

หลังจากฟั กไข่ 5-6 ชั่วโมง จะสังเกตลักษณะของไข่ดีและไข่


เสียได้อย่างชัดเจน คือ ไข่ดีจะมีลักษณะสีเหลืองเหลือบแกมเทา
เป็ นมันแวววาว ส่วนไข่เสียจะมีลักษณะเป็ นสีขาว น้ำในอวน
เปลที่ใช้ฟัก ไข่จะมีกลิ่นคาวและเกิดเป็ นฟองมากขึน
้ ดังนัน
้ จึง
ต้องควบคุมระบบน้ำที่ใช้อย่างใกล้ชิด และใช้ความประณีต ใน
เมื่อได้เตรียมอุปกรณ์ที่ใช้เพาะฟั กเรียบร้อยแล้ว ก็นำไข่ที่ได้
ทำการผสมเทียมไปโรยในกระบะ ที่วางแช่ไว้ในอวนเปล
พยายามกระจายไข่ให้ทั่วกระบะอย่าให้ไข่กองทับกัน โดยใช้มือ
กวนน้ำแกว่งไปมา เมื่อโรยไข่ลงไป

หลังจากฟั กไข่ 5-6 ชั่วโมง จะสังเกตลักษณะของไข่ดีและไข่


เสียได้อย่างชัดเจน คือ ไข่ดีจะมีลักษณะสีเหลืองเหลือบแกมเทา
เป็ นมันแวววาว ส่วนไข่เสียจะมีลักษณะเป็ นสีขาว น้ำในอวน
เปลที่ใช้ฟัก ไข่จะมีกลิ่นคาวและเกิดเป็ นฟองมากขึน
้ ดังนัน
้ จึง
ต้องควบคุมระบบน้ำที่ใช้อย่างใกล้ชิด และใช้ความประณีต ใน
ภายใต้อุณหภูมิของน้ำระหว่าง 25-30 องศาเซลเซียส ไข่จะ
ฟั กเป็ นตัวในเวลา 20-30 ชั่วโมง และจะต้องระมัดระวังอย่าให้
น้ำที่ใช้เพาะฟั กมีอุณหภูมิสูงเกินกว่า 32 องศาเซลเซียส ซึ่งจะ
ทำให้ไข่เสียมาก เมื่อลูกปลาฟั กเป็ นตัวหมดแล้วให้เก็บกระบะที่
ใช้สำหรับให้ไข่ปลาติดออก ลูกปลาที่เพิ่งออกจากไข่จะเกาะ
เป็ นกลุ่มอยู่ตามก้นกระชังในลักษณะหงายท้อง ทำให้เห็นถุงไข่
อยู่ข้างบน และส่วนหางกระดิกอยู่ไปมา หลังจากลูกปลาฟั กเป็ น
ตัวประมาณ 40 ชั่วโมง ลูกปลาที่แข็งแรงจะสามารถว่ายน้ำได้
โดยว่ายขึน ้ และลงระหว่างผิวน้ำกับพื้นก้นกระชัง หรือเกาะอยู่
ข้างๆ กระชัง ในช่วง 48 ชั่วโมง ลูกปลาจะไม่ต้องการกินอาหาร
ทัง้ นีเ้ นื่องจากในถุงไข่ยังมีอาหารสำรองอยู่ ภายหลังที่ถุงอาหาร
ยุบตัวลง ถ้าจะให้อาหารแก่ลูกปลาที่เพาะในกระชัง ควรทำการ
ภายใต้อุณหภูมิของน้ำระหว่าง 25-30 องศาเซลเซียส ไข่จะ
ฟั กเป็ นตัวในเวลา 20-30 ชั่วโมง และจะต้องระมัดระวังอย่าให้
น้ำที่ใช้เพาะฟั กมีอุณหภูมิสูงเกินกว่า 32 องศาเซลเซียส ซึ่งจะ
ทำให้ไข่เสียมาก เมื่อลูกปลาฟั กเป็ นตัวหมดแล้วให้เก็บกระบะที่
ใช้สำหรับให้ไข่ปลาติดออก ลูกปลาที่เพิ่งออกจากไข่จะเกาะ
เป็ นกลุ่มอยู่ตามก้นกระชังในลักษณะหงายท้อง ทำให้เห็นถุงไข่
อยู่ข้างบน และส่วนหางกระดิกอยู่ไปมา หลังจากลูกปลาฟั กเป็ น
ตัวประมาณ 40 ชั่วโมง ลูกปลาที่แข็งแรงจะสามารถว่ายน้ำได้
โดยว่ายขึน ้ และลงระหว่างผิวน้ำกับพื้นก้นกระชัง หรือเกาะอยู่
ข้างๆ กระชัง ในช่วง 48 ชั่วโมง ลูกปลาจะไม่ต้องการกินอาหาร
ทัง้ นีเ้ นื่องจากในถุงไข่ยังมีอาหารสำรองอยู่ ภายหลังที่ถุงอาหาร
ยุบตัวลง ถ้าจะให้อาหารแก่ลูกปลาที่เพาะในกระชัง ควรทำการ
การอนุบาล
ลูกปลา
ภายใต้อุณหภูมิของน้ำระหว่าง 25-30 องศาเซลเซียส ไข่จะ
ฟั กเป็ นตัวในเวลา 20-30 ชั่วโมง และจะต้องระมัดระวังอย่าให้
น้ำที่ใช้เพาะฟั กมีอุณหภูมิสูงเกินกว่า 32 องศาเซลเซียส ซึ่งจะ
ทำให้ไข่เสียมาก เมื่อลูกปลาฟั กเป็ นตัวหมดแล้วให้เก็บกระบะที่
ใช้สำหรับให้ไข่ปลาติดออก ลูกปลาที่เพิ่งออกจากไข่จะเกาะ
เป็ นกลุ่มอยู่ตามก้นกระชังในลักษณะหงายท้อง ทำให้เห็นถุงไข่
อยู่ข้างบน และส่วนหางกระดิกอยู่ไปมา หลังจากลูกปลาฟั กเป็ น
ตัวประมาณ 40 ชั่วโมง ลูกปลาที่แข็งแรงจะสามารถว่ายน้ำได้
โดยว่ายขึน ้ และลงระหว่างผิวน้ำกับพื้นก้นกระชัง หรือเกาะอยู่
ข้างๆ กระชัง ในช่วง 48 ชั่วโมง ลูกปลาจะไม่ต้องการกินอาหาร
ทัง้ นีเ้ นื่องจากในถุงไข่ยังมีอาหารสำรองอยู่ ภายหลังที่ถุงอาหาร
ยุบตัวลง ถ้าจะให้อาหารแก่ลูกปลาที่เพาะในกระชัง ควร
การอนุบาลในบ่อซีเมนต์
บ่อซีเมนต์ขนาดเล็กหรือถังส้วมขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 ม. สูง 50
ซม. สถานที่ตงั ้ บ่อซีเมนต์ดังกล่าวจะต้องมีหลังคาคลุมเพื่อป้ องกันแดด
และฝนได้ เติมน้ำในบ่อให้สูงประมาณ 30 ซม. ปล่อย ลูกปลาดุกใน
อัตราส่วน 500-600 ตัว/ม.2 ให้อาหารประเภทไรแดงและเสริมด้วย
อาหารสำเร็จรูป ปั ้ นเป็ นก้อนให้วันละ 2 ครัง้ ในตอนเช้าก่อนที่จะให้
อาหาร ต้องใช้สายยางดูดของเสียและเศษเหลือของอาหารจากก้นปอ
พร้อมทัง้ ดูดนํา้ ทิง้ ประมาณ 1/3 ของบ่อ และเติมน้ำใหม่ให้เท่าระดับ
เดิม แล้วจึงให้อาหาร ปฏิบัติเช่นนีท ้ ุกๆ วัน จนกว่าลูกปลาจะโตได้
ขนาด 2-3 ซม.โดยใช้เวลาเลีย ้ งประมาณ 2-3 สัปดาห์ ซึ่งหลังจากนีก ้ ็
สามารถจะนำลูกปลาไปเลีย ้ งในบ่อดินเพื่อเลีย
้ งขุนเป็ นปลาใหม่ หรือ
ทำการลำเลียงขนส่งด้วยระยะทางไกลๆ ได้
-ปอซีเมนต์ขนาด 20-60 ม.2 ควรเป็ นบ่อรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าสร้างลอยบน
วันที่ 1 เตรียมบ่อโดยทำความสะอาดบ่อ พร้อมทัง้ เติมนํา้ ลงในบ่อให้สูงประมา
ณ 5-7 ซม. แล้วใช้อาหารสำเร็จรูปซึ่งเป็ นอาหารไก่หรือหมูชนิดเม็ดหรืออาหาร
สูตรของสถาบันประมงน้ำจืดแห่งชาติ ในอัตราส่วนอาหาร 120 กรัม/ม.2 โดย
หว่านให้ทั่วบ่อ ทิง้ ค้างไว้ 1 คืน
วันที่ 2 เติมน้ำให้สูงขึน้ เป็ น 30 ซม. แล้วนำไรแดงที่มีชีวิตปล่อยลงในบ่อดังกล่าว
อัตราส่วนไรแดง 100 กรัม/เนื้อที่บ่อ 10 ม.2
วันที่ 3-4 ไรแดงจะขยายพันธุ์ในบ่อนี ้ และจะขยายทวีจำนวนมากขึน ้ อย่างรวดเร็ว
สังเกตได้ตามขอบบ่อที่มีไรแดงเกาะเป็ นกลุ่มก้อน
วันที่ 5 นำลูกปลาดุกที่รวบรวมหรืออนุบาลไว้ในกระชังชั่วคราว นำมาปล่อยในอัต
รส่วน 250-300 ตัว/ม.2
วันที่ 6 ให้อาหารเสริมซึ่งมีส่วนผสมของปลาป่ น กากถั่ว รำละเอียด แป้ งเหนียว
และวิตามิน-แร่ธาตุ นำมาผสมน้ำปั ้ นเป็ นก้อนโยนให้ปลากินทั่วบ่อหรือจะใช้ปลา
สดผสมรำละเอียดบดให้ละเอียดในอัตรา 9 : 1 แทนก็ได้

ภายหลังจากวันที่ 6 แล้ว ทุกๆ 3 วัน ต้องเตืมน้าพในบ่อให้สูงขึน


้ ครัง้ ละ
การอนุบาลในบ่อดินหรือนาข้าว
เหมาะสมที่จะนำไปปฏิบัติในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพราะใช้
ต้นทุนต่ำ บ่อที่ใช้ควรเป็ นบ่อดินหรือนาข้าวขนาด 100-200 ม.2 ที่
สามารถเก็บกักน้ำให้สูงได้ ประมาณ 60-80 ซม. สำหรับนาข้าวที่ใช้
อนุบาลลูกปลาดุกควรขุดคูโดยรอบภายในเช่นเดียวกับที่ใช้เลีย้ งปลา
เพื่อให้ลูกปลามารวมตัวกันอยู่ในขณะที่ลดระดับน้ำจับปลา ส่วนบ่อดิน
ควรจะขุดคูด้านใดด้านหนึ่งโดยเลือกจากทางด้านที่เอียงลาดต่ำให้มี
ขนาดกว้าง 1 เมตร ลึก 20 ซม. จากพื้นก้นบ่อ เพื่อใช้ประโยชน์ในการ
รวบรวมลูกปลาเช่นเดียวกัน
การเตรียมบ่อดินหรือนาข้าวเพื่ออนุบาลลูกปลา ควรปฏิบัติดังนี ้
-ตากบ่อให้แห้งโดยใช้เวลา 2-3 วัน
-ใส่ปูนขาวอัตรา 100-150 กก./ไร่
-ใส่ปุ๋ยคอกแห้งอัตรา 200-250 กก./ไร่
ควรให้อาหารสำเร็จรูปปั ้ นเป็ นก้อนโดยให้กินวันละน้อยก่อน
และค่อยๆ เพิ่มจำนวนอาหาร เมื่อมีปลามากให้อาหารมากขึน ้
หลังจากเลีย ้ งลูกปลาในบ่ออนุบาลดังกล่าว 2-3 สัปดาห์ ลูกปลา
จะ โตขึน ้ เป็ นขนาด 4-6 ซม. เป็ นส่วนใหญ่ ซึ่งลูกปลาขนาดดัง
กล่าวนีเ้ หมาะสมที่จะทำการคัดจับนำไปเลีย ้ งเป็ นปลาขุนส่ง
ตลาด หรือจำหน่ายให้แก่ผู้ซ้อ ื ไปเลีย้ งเป็ นปลาใหญ่ได้แล้ว การ
คัดจับทำได้โดยใช้อวนตาถี่ ลากจากด้านหนึ่งของบ่อไปยังอีก
ด้านหนึ่งเพียงครัง้ เดียว เพื่อป้ องกันลูกปลาบอบช้ำจากการ
ตีอวน และเมื่อจะตีอวนครัง้ ต่อไป ควรเว้นระยะไปสัก 2-3 วัน
เมื่อลูกปลามีน้อยและรวบรวมด้วยอวนไม่ได้จำนวนมาก ถ้า
สามารถระบายน้ำออกทางท่อได้โดยที่ปลายท่อมีกระชังรูป
Thank You

You might also like