You are on page 1of 5

กรมสงเสริมการเกษตร

2548
หนา 1

ตําลึง เปนผักพื้นบานที่คนทั่วไปรูจักกันมานาน เปนผักที่มี


คุณคาทางโภชนาการมาก สามารถนําไปปรุงอาหารไดหลากหลายชนิด เชน
แกงจืด ตมจิ้มน้ําพริก ใสกวยเตี๋ยวและตมเลือดหมู เปนตน ในอดีตนั้นเราไม
จําเปน ตองปลูกตําลึงเอาไวรับประทานเอง เนื่องจากตําลึงมักพบเห็นทั่วไป
ตามเถาไมเลื้อยอื่น ตามพุมไมเตี้ยหรือพุมไมแหงตาย รวมทั้งขึ้นตามริม
รั้วบาน จนมีคํากลาวถึง “ ตําลึงริมรั้ว ” อยูเสมอ

แตในปจจุบันเราไมคอยพบตําลึงตามริมรั้วอีกแลว จะเห็นก็เฉพาะ
ในที่รกรางวางเปลา หรือไมก็ตามสวนที่ปลูกตําลึงไวเพื่อการคา ซึ่งสามารถ
ทํารายไดอยางงามแกผูปลูกตําลึงขายเปนอยางดี

การปลูกตําลึง
หนา 2

⇒ ลักษณะทางพฤกษศาสตร
ตําลึงเปนไมเถาเลื้อย เถาตําลึงมี
ลักษณะกลม แยกเพศกันอยูคนละตน ปลายดอก
แยกออกเปน 5 แฉก โคนติดกันเปนกรวย ผลมีรูปราง
กลมรีคลายแตงกวาแตมีขนาดเล็กกวา ผลออนมี
สีเขียวลายขาว เมื่อแกกลายเปนสีแดง ตําลึงเปน
พืชที่ชอบน้ํา จะสังเกตเห็นวาในหนาแลงใบตําลึงจะ
แคระแกร็น แตในหนาฝนยอดตําลึงจะออนอวบอิ่ม
นารับประทาน ตําลึงออกดอกประมาณ
เดือนมิถุนายน - กรกฎาคม

⇒ คุณคาทางอาหาร
ตําลึงเปนผักใบเขียวเขมมีคุณคาทางอาหารสูงมีทั้งเบตา – แคโรทีน
ที่ชวยลดอัตราเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็ง โรคหัวใจขาดเลือด ทั้งในแคลเซียม
และสารอาหารอื่น ๆ ที่พรอมกันมาชวยใหสุขภาพรางกายสมบูรณแข็งแรง
นอกจากนีย
้ ังพบวา ตําลึงยังประกอบไปดวยเสนใย ที่มีความสามารถในการจับ
ไนไตรทไดดีที่สุด เมื่อเทียบกับพืชชนิดอื่น นี่เปนคุณลักษณะพิเศษของตําลึง
ที่มีเสนใยคอยจับไนไตรทเพราะจะเปนการลดอัตราเสี่ยงในการเกิดโรคมะเร็งใน
กระเพาะอาหารได

⇒ การปลูกและการขยายพันธุ

ตําลึงมีการปลูกและขยายพันธุได 2 วิธี คือ


• เพาะเมล็ด
• ปกชําดวยเถา

Document Title
การปลูกตําลึง
หนา 3

การเพาะเมล็ด

มีวิธีการงาย ๆ ดังนี้
เตรียมดินเหมือนปลูกผักทั่วไปผสมปุยชีวภาพหรือปุยคอกก็ได นํา
ผลตําลึงแกสีแดงแกะเอาเมล็ดออกมาโรยบนดินที่เตรียมไว โรยดินกลบหรือ
ใชใบไมแหงกลบบาง ๆ รดน้ําใหชุมเชาเย็น ตําลึงชอบดินชุมแตอยาใหแฉะ
เพราะจะเกิดโรคโคนเนาได

เมื่อตนงอกขึ้นมาสักประมาณ 5 ซม. เริ่มมีมือเกาะใหทําคาง


( เนื่องจากตําลึงเปนไมเลื้อย จําเปนตองใชคาง เพื่อใหตําลึงไตขึ้นสูที่สูงเพื่อ
รับแสงแดด ) เหมาะที่สุดคือ ความสูงระดับ 1 เมตรขึ้นไป แตไมควรสูงเกิน
3 เมตร เพราะจะไมสะดวกในการเก็บยอดตําลึง โดยใชไมไผตนเล็ก 3 ตน ปก
เปน 3 เสา รอบปลายเชือกเขาไวดวยกัน ผูกดวยเชือกกลวยหรือเชือกปอ ใช
วัสดุที่ยอยสลายไดตามธรรมชาติ เพื่อชวยกันอนุรักษสิ่งแวดลอมอีกทางหนึ่ง
หรือหากมีรั้วไมระแนง ก็ถือโอกาสใชประโยชนโดยโรยเมล็ดไปตามริมรั้วเลย
ทีเดียว

ตําลึงตองไดรับแสงแดดตลอดทั้งวัน ลมโกรกผานได ตําลึงจะ


สังเคราะหแสงแดดคายไอน้ําไดเต็มที่ ควรปลอยใหมดแดงขึ้น เพราะจะชวยกิน
เพลี้ยและแมลงที่จะมากัดกินตําลึง

ปกชําดวยเถา

การปลูกตําลึงเพื่อการคานั้นนิยมขยายพันธุดวยวิธีนี้ เนื่องจาก
ตําลึงจะเจริญเติบโตเร็วกวาการเพาะดวยเมล็ด

วิธีการปกชํา

ใหนําเถาที่แกพอสมควรมาตัดใหยาว 15 – 20 ซม. ปกชําในหลุม


ปลูกที่ไดเตรียมไวแลว( ลักษณะขั้นตอนการปลูกเหมือนกับหัวขอการเพาะ
เมล็ด ) พอเจริญเติบโตเต็มที่ประมาณ 1 เดือน ก็สามารถเก็บยอดมาปรุงอาหาร
ได

การปลูกตําลึง
หนา 4

ทั้งนี้ เพื่อใหตําลึงแตกยอดใหมทยอยออกมาตลอดป ตองหมั่น


เก็บมาบริโภคอยูเสมอ ในขณะเดียวกันใหใสปุยคอก ชวยเพิ่มเติมอาหารในดิน
ประมาณเดือนละครั้ง ตองหมั่นรดน้ําสม่ําเสมอในหนาแลงและหนาหนาว
สวนหนาฝนจะเวนไดบางแตตองชวยรดน้ําในขณะที่ฝนทิ้งชวง

จัดทํา/เผยแพรโดย : กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร
สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี
กรมสงเสริมการเกษตร

การปลูกตําลึง

You might also like