You are on page 1of 22

คํานํา

เอกสารคําแนะนําเรื่องการปลูกผักและไมดอกที่กรมสงเสริมการเกษตรจัดทําขึ้นนี้
เปนเอกสารสําหรับประชาชนใชเปนคูมือในการปลูกพืช โดยเฉพาะชนิดของพืชที่ปรากฏในเอกสาร
จะเลือกกลาวถึงพืชผักประเภทที่ใชในครัวเรือนอยูเสมอ เชน พริกขี้หนู โหระพา กะเพรา มะเขือบาง
ชนิด สวนไมดอกไมประดับ ก็จะแนะนําใหปลูกชนิดทีส่ ามารถนําไปใชสอยได และเปนชนิดที่ไมตอง
ใชเทคนิคหรือเวลาในการดูแลรักษามากนัก เพื่อใหสอดคลองกับการดําเนินชีวิตของประชาชนอยาง
แทจริง ซึ่งกรมสงเสริมการเกษตรพิจารณาวา จะเปนประโยชนในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
ประชาชน หากทุกครอบครัวจะไดมีการปลูกพืชที่สามารถนํามาใชประโยชนไดเองบางสวน ทําใหลด
คาใชจาย และไดบริโภคพืชอาหารที่ปลอดภัยจากสารพิษ หรือบางรายทีม่ ีพนื้ ทีม่ ากพอก็อาจขยาย
การปลูกเพื่อเปนอาชีพเสริมได โดยใชแรงงานในครัวเรือน ซึง่ ทําใหสมาชิกในครอบครัวโดยเฉพาะ
เยาวชนรูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชนอกี สวนหนึง่ ดวย
เอกสารฉบับนีอ้ าจจะกลาวถึงการปลูกพืชผักและไมดอกบางชนิดเทานั้นก็จริง แต
กรมสงเสริมการเกษตร เชื่อวาประชาชนทีไ่ ดรับเอกสารนี้ไป คงสามารถใชความรู และดุลพินิจ นําไป
ปรับใช รวมทัง้ เปนแรงบันดาลใจใหหาวิธกี ารปลูกพืชชนิดอื่นตามความชอบ และความตองการใชของ
ทานตอไป

กรมสงเสริมการเกษตร
สารบัญ

ผัก
• มะเขือเปราะ 1
• มะเขือยาว 3
• พริกขี้หนู 5
• โหระพา 7
• กะเพรา 9
• มะละกอ 11

ไมดอก
• มะลิ 13
• ชบา 15
• เข็ม 17
• พุด 18

ขอมูลและแหลงที่มา
การปลูกผักและไมดอก 1

มะเขือเปราะ

มะเขือเปราะ เปนผักที่ปลูกงาย โตไว ใหผลตอบแทนเร็ว และสามารถเก็บเกี่ยว


ผลผลิตไดนาน

พันธุ
พันธุหยดพระยา พันธุลูกผสม ตนเตี้ย แตกแขนงดี ผลดก ผลกลมสีขาวลาย
เขียวออน น้ําหนักผลเฉลี่ย 40 - 60 กรัม
พันธุปงปอง พันธุลูกผสม ตนสูง ผลกลมสีขาวลายเขียวออน น้ําหนักผล
เฉลี่ย 60 - 80 กรัม เก็บผลผลิตไดนาน 4 เดือน
พันธุเคอรมดิ พันธุลูกผสม ตนเตี้ย แตกแขนงดี ผลดก ผลกลมสีขาวลาย
เขียวเขม น้ําหนักเฉลี่ย 40 - 60 กรัม

วิธีการปลูก
การปลูก ระยะปลูกระหวางตน 70 - 80 เซนติเมตร ระหวางแถว 90 -100
เซนติเมตร เจาะพลาสติกตามระยะปลูก นํากลามะเขือเปราะที่มีอายุ 15 วัน หรือมีใบจริง 3-4 ใบ
มาปลูกตามหลุมที่กําหนด แลวกลบดิน และรดน้ํา
การเตรียมดิน ไถดินใหลึก 30 - 40 เซนติเมตร ตากดินไว 7-10 วัน ยอยดินให
ละเอียด หว า นปูน ขาวในอัต รา 100 – 200 กิโ ลกรัม / ไร พร อ มใสปุย หมัก หรื อปุย คอกอั ต รา
2,000 กิโ ลกรั ม / ไร และปุ ย สูต ร 15-15-15 อัต รา 30 กิโ ลกรัม / ไร คลุก เคล า ในแปลงและ
ยกแปลงสู ง ประมาณ 30 เซนติเ มตร กว า ง 120 เซนติเ มตร เสร็ จ รดน้ํา และคลุ ม ดว ยพลาสติก
เพื่อรักษาความชื้นและปองกันวัชพืช

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


การปลูกผักและไมดอก 2

การเตรียมกลา ใสดินผสมลงในถาดเพาะกลา ( ดินที่รอนแลว 3 สวน ปุยคอก


1 สวน ทรายหรือแกลบ 1 สวน ) รดน้ําและหยอดเมล็ดลงในถาดหลุมๆละ 1 เมล็ดรดน้ําเชา - เย็น

การดูแลรักษา
การใหน้ํา ตองใหน้ําสม่าํ เสมอ หลังยายกลาทุกเชา – เย็น เมื่อกลาตั้งตัว
ดีแลวจึงรดน้ําเพียงวันละครั้ง

การใสปุย

1. หลังยายปลูก 7- 10 วัน ใสปุยสูตร 46-0-0 อัตรา 30 กิโลกรัม/ไร เพื่อเรงการ


เจริญเติบโต
2. ใสปุยสูตร 13 -13 -21 หรือ 8-24-24 อัตรา 50 -100 กิโลกรัม / ไร โดยทยอย
แบงใสในชวงออกดอกติดผลทุกๆ 20 วัน

การปองกันกําจัดศัตรูพืช
1. วัชพืช กําจัดวัชพืชทุกครั้งที่มีการใสปุยหรือเมื่อวัชพืชเกิดขึ้น
2. โรคผลเนาแหงสีดําหรือปลายผลดํา ปองกันและกําจัดโดย ใสหินปูน หรือ
ปูนขาวรองกนหลุม 1-2 ชอนแกง/หลุม ฉีดพนธาตุแคลเซียมในชวงระยะติดผลไปจนถึงเก็บเกี่ยว
3. โรคใบแหง โรคใบจุด ปองกันกําจัดโดยใชสารปองกันกําจัดเชื้อรา เชน
ไดเท็นเอ็ม 45 ฉีดพนทุก 7 วัน
4. โรคราแปง ปองกันและกําจัดโดยใชสารปองกันกําจัดเชื้อรา เชน กํามะถันผง
ชนิดละลายน้าํ คาลาเบน เบนเลท ฯลฯ สําหรับกํามะถันควรฉีดพนในเวลาเชามืดที่มีอากาศเย็น
หรือตอนเชา

การเก็บเกี่ยว
หลังดอกบาน 7-10 วัน จะสามารถเก็บเกีย่ วผลผลิตไดโดยเก็บผลที่มขี นาดพอเหมาะ
ไมออ นหรือแกเกินไป โดยการเก็บเกีย่ วใหมขี วั้ มะเขือติดมากับผลดวย ผลผลิต 8,000 – 12,000 กิโลกรัม/ไร

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


การปลูกผักและไมดอก 3

มะเขือยาว

มะเขือยาวเปนพืชเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่งทีป่ ลูกงาย ผลดก เก็บเกี่ยวไดนาน และ


ปจจุบันสามารถสงออกได

พันธุ
พันธุท อรนาโด , พันธุโทมาฮอค , พันธุคาสิโน, พันธุมัสแตง เปนตน

วิธีการปลูก
การปลูก เพาะเมล็ดในถาดเพาะที่มสี วนผสมของดินที่รอนแลว 3 สวน ปุยคอก
1 สวน ทรายหรือแกลบ 1 สวน รดน้ําและหยอดเมล็ดลงในถาดหลุมๆละ 1 เมล็ด รดน้ําเชา - เย็น
เมือ่ กลาอายุ 35 วัน หรือมีใบจริง 3 - 4 ใบ โดยมีระยะปลูกระหวางตน 70 - 80 เซนติเมตร และระยะปลูก
ระหวางแถว 90 -100 เซนติเมตร

การเตรียมดิน ไถดินลึกประมาณ 30 - 40 เซนติเมตร ตากดิน 7-10 วัน ยอยดิน


ใหรว น หวานปูนขาวในอัตรา 100 – 300 กิโลกรัม / ไร พรอมใสปยุ หมักหรือปุย คอกอัตรา 2,000 กิโลกรัม / ไร
และปุย สูตร 15 -15 -15 อัตรา 30 กิโลกรัม / ไร คลุกเคลาในแปลง ยกแปลงสูงประมาณ 30 เซนติเมตร
กวาง 120 เซนติเมตร รดน้าํ และคลุมดวยพลาสติก เพือ่ รักษาความชื้นและปองกันวัชพืช กอนปลูก
2 อาทิตย

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


การปลูกผักและไมดอก 4

การดูแลรักษา
การใหน้ํา ใหอยางสม่ําเสมอ หลังยายปลูกทุกเชา – เย็น เมื่อกลาตั้งตัวดีแลว
จึงรดน้ําวันละครั้ง

การใหปุย หลังยายปลูก 7-10 วัน ใสปุยสูตร 46 - 0 - 0 อัตรา 30 กิโลกรัม/ไร


ใสปุยสูตร 13 -13 -21 หรือ 8 -24 -24 อัตรา 50 -100 กิโลกรัม / ไร ใสชวงออกดอกติดผลทุกๆ 20 วัน

การปองกันกําจัดศัตรูพืช
1. วัชพืช กําจัดวัชพืชทุกครั้งที่มีการใสปุยหรือเมื่อมีวัชพืช
2. โรคผลเนาแหงสีดําหรือปลายผลดํา ปองกันกําจัดโดยใสปูนขาวรองกนหลุม
1 - 2 ชอนแกง /หลุม ฉีดพนธาตุแคลเซียมในชวงระยะติดผลไปจนถึงเก็บเกี่ยว
3. โรคใบแหง โรคใบจุด ปองกันกําจัดโดยใชสารปองกันกําจัดเชื้อรา เชน
ไดเท็นเอ็ม 45 ฉีดพนทุก 7 วัน
4. โรคราแปง ปองกันและกําจัดโดยใชสารปองกันกําจัดเชื้อรา เชน กํามะถันผง
ชนิดละลายน้าํ คาลาเบน เบนเลท ฯลฯ สําหรับกํามะถันควรฉีดพนในเวลาเชามืดที่มีอากาศเย็น
หรือตอนเชา

การเก็บเกี่ยว
หลังดอกบาน 7-10 วันจะสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได โดยเก็บผลที่มขี นาดพอเหมาะ
ไมออ นหรือแกเกินไป โดยการเก็บเกีย่ วใหมขี วั้ มะเขือติดมากับผลดวย ผลผลิต 5,000 – 7,000 กิโลกรัม/ไร

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


การปลูกผักและไมดอก 5

พริกขี้หนู

พันธุ
• จินดา , หัวเรือ , หวยสีทน 1
• อัตรา 50 - 100 กรัม/ไร

วิธีการปลูก
แปลงเพาะกลา ไถดินลึกประมาณ 15 เซนติเมตร ตากดินประมาณ 5-7 วัน
หวานเมล็ดใหกระจายทัว่ แปลง หรืออาจทําเปนแถวหางกันแถวละ 15 เซนติเมตร หวานกลบดวยปุย คอก
ปุยหมักหรือดินละเอียด รดน้ํา คลุมดวยฟางหลังจากกลางอก ได 15 - 20 วัน จึงถอนยายปลูก

แปลงปลูก ระยะปลูกที่เหมาะสมคือ 50 x 100 เซนติเมตร ตากดิน 7-10 วัน


ใสปยุ คอกหรือปุย หมักอัตรา 2 - 3ตัน /ไร ถาดินมีความเปนกรดสูง ควรใสปนู ขาวอัตรา 200 - 300 กิโลกรัม /ไร
จากนัน้ ทําการคลุกเคลาและพรวนดินใหมขี นาดเล็ก หลังจากใสปนู ขาว 15 -20 วัน จึงปลูกพริกได
การปลูกควรกดดินโคนตนใหแนน และระวังอยาใหรากลอย จะทําใหพริกโคนลมไดงาย รดน้ําใหชมุ
แลวใชฟางคลุมแปลง ควรทําเพิงบังแดดในระยะเริ่มยายปลูกใหมๆ เพราะตนกลาโตชา

สภาพแวดลอม ประเภทดิน ดินแทบทุกชนิด ชอบดินรวนปนทราย pH 6.0 - 6.8


ความชืน้ พอเหมาะไมแฉะหรือแหงเกินไป แสงแดดเต็มที่ตลอดวัน อุณหภูมิ 24 - 29.5 องศาเซลเซียส

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


การปลูกผักและไมดอก 6

การดูแลรักษา
การใสปุย ใสปุยสูตร 15 -15 -15 หรือ 14 -14 -21 อัตรา 50 -100 กิโลกรัม / ไร
แบงใส 2 ครัง้ ครัง้ แรกปริมาณครึง่ หนึง่ ใสตอนปลูกแบบรองพืน้ ใสครัง้ ที่ 2 เมือ่ พริกอายุ 30 วัน หลังยายปลูก
แบงโรยขางตนแลวพรวนกลบ

การปองกันกําจัดศัตรูพืช
โรคสําคัญ ไดแก โรคใบดางหงิก โรคแอนแทรคโนส โรคใบจุด โรคเหี่ยว
โรครากปม โรคผลเนา

แมลงสําคัญ เพลี้ยไฟ แมลงหวี่ขาว เพลีย้ ออน

สัตวศัตรูพืช ไรขาว

การเก็บเกี่ยว
อายุเก็บเกี่ยวเริ่มเก็บครั้งแรกประมาณ 65 - 90 วัน การเก็บเกี่ยวควรเก็บทุกๆ 7 วัน
ใชวิธีเด็ดทีละผลใชเล็บจิกตรงรอยกานผลตอกับกิ่ง ซึง่ พริกจะไดผลผลิตนานถึง 6 -7 เดือน หรือเปนป
จนกวาตนจะเหี่ยวโทรมตายไป ผลผลิต 800 - 1,000 กิโลกรัม /ไร

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


การปลูกผักและไมดอก 7

โหระพา

โหระพาสามารถบริโภคเปนผักสดหรือใชประกอบอาหารอื่นๆได ทําใหอาหารมี
รสชาติและกลิ่นหอม ปลูกกันมากแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต

พันธุ
จัมโบ เปนพันธุทมี่ ีใบใหญ กลิน่ หอมแรงเปนที่นยิ มโดยทั่วไป

วิธีการปลูก
การเตรียมดิน ไถดินใหลกึ ประมาณ 30 - 40 เซนติเมตร ตากดินไว 1 -2 อาทิตย
ยอยดินใหละเอียด ถาดินเปนกรด ใหใชปนู ขาวในอัตรา 100 – 300 กิโลกรัม / ไร ใสปุยหมักและ
ปุยคอกอัตรา 2,000 กิโลกรัม / ไร ปุยสูตร 15 -15 -15 อัตรา 30 กิโลกรัม / ไร คลุกเคลาใหทวั่ แลว
ยกแปลงสูงประมาณ 30 เซนติเมตร กวาง 120 เซนติเมตร

การปลูก โหระพาสามารถปลูกไดโดยใชกิ่งชําหรือใชเมล็ดเพาะเปนตนกลาแลว
ยายปลูก โดยมีระยะปลูกระหวางตน 25 เซนติเมตร ระยะหางระหวางแถว 50 เซนติเมตร

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


การปลูกผักและไมดอก 8

การดูแลรักษา
การใหน้ํา ควรใหน้ําพอเพียงกับความตองการของพืช

การใหปุย ใสปุยสูตร 15 - 15 -15 หรือ 20 -11 -11 ในอัตรา 25 - 30 กิโลกรัม/ไร


หลังการเก็บเกี่ยวทุกครั้ง

การปองกันกําจัดศัตรูพืช
วัชพืช เมื่อมีวัชพืชขึ้นมา ตองกําจัดวัชพืชกอน เพื่อไมใหแยงอาหารโหระพา

โรคและแมลงมีนอย

การเก็บเกี่ยว
ใชมีดคมๆตัดกิ่งทีเ่ จริญเติบโตเต็มที่ มัดแลวนําไปจําหนาย (อายุเก็บเกี่ยว 50 วัน)
สามารถเก็บเกี่ยวไดหลายครั้ง ผลผลิตประมาณ 4,500 – 6,000 กิโลกรัม /ไร

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


การปลูกผักและไมดอก 9

กะเพรา

กะเพราเปนพืชที่ใชใบสดประกอบอาหารเพื่อดับกลิ่นคาวและชวยใหอาหารมี
กลิ่นหอม นอกจากนั้นยังมีสรรพคุณเปนสมุนไพร เปนพืชทีน่ ิยมปลูกในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต
เชน ประเทศไทย มาเลเซีย

พันธุ
เขียวกานแดง เปนพันธุท ี่มีใบใหญสีเขียว กานแดง เปนทีน่ ิยมโดยทัว่ ไป

วิธีการปลูก
การเตรียมดิน ไถดินใหลกึ ประมาณ 30 - 40 เซนติเมตร ตากดินไว 1 - 2 อาทิตย
ยอยดินใหละเอียด หวานปูนขาวในอัตรา 100 – 300 กิโลกรัม / ไร ใสปุยหมักและปุยคอกอัตรา
2,000 กิโลกรัม / ไร ปุยสูตร 15 -15 -15 อัตรา 30 กิโลกรัม / ไร คลุกเคลาใหทวั่ แลวยกแปลงสูง
ประมาณ 30 เซนติเมตร กวาง 120 เซนติเมตร

การปลูก กะเพราสามารถปลูกไดโดยใชกิ่งชําหรือใชเมล็ดเพาะเปนตนกลาแลว
ยายปลูก โดยมีระยะปลูกระหวางตน 40 เซนติเมตร ระยะหางระหวางแถว 40 เซนติเมตร

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


การปลูกผักและไมดอก 10

การดูแลรักษา
การใหน้ํา ควรใหน้ําพอเพียงกับความตองการของพืช

การใหปุย ใสปุยสูตร 15 - 15 -15 ในอัตรา 30 - 50 กิโลกรัม/ไร หลังการเก็บเกี่ยว


ทุกครั้ง

การปองกันกําจัดศัตรูพืช
วัชพืช เมื่อมีวัชพืชขึ้นมา ตองกําจัดวัชพืชกอน เพื่อไมใหแยงอาหารกะเพรา

โรคและแมลงมีนอย

การเก็บเกี่ยว
ใชมีดคมๆเก็บเกี่ยวโดยตัดกิง่ กานที่แกเจริญเติบโตเต็มที่แลว ซึง่ ในไมชากะเพรา
จะแตกกิ่งตนออกมาเชนเดิม (อายุเก็บเกีย่ ว 40 - 45 วัน ) สามารถเก็บเกี่ยวไดหลายครั้ง ผลผลิต
ประมาณ 4,500 – 6,000 กิโลกรัม /ไร

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


การปลูกผักและไมดอก 11

มะละกอ

มะละกอ เปนผลไมลมลุกขนาดกลาง สูงประมาณ 2 - 7 เมตร ใหผลตลอดป เปนที่


นิยมบริโภคทัง้ ผลดิบและผลสุก ผลดิบนํามาปรุงอาหาร ผลสุกรับประทานเปนผลไมมกี ลิน่ และรสหวาน
ฉ่ําชื่นใจ มีคณ
ุ คาทางโภชนาการสูง เปนแหลงเบตาแคโรทีน ซึง่ ชวยปองกันเซลลของรางกายมิใหถูก
อนุมูลอิสระทําลาย มีวิตามินซีและแคลเซียมสูง ยางมะละกอมีสารพาเพอิน (papain )มีคุณสมบัติ
ชวยยอย สามารถนําไปใชประโยชนในทางอุตสาหกรรมไดหลายอยาง เชน การรักษาแผลเรื้อรัง
ลบรอยบนผิวหนังและชวยยอยอาหาร

มะละกอพันธุท ี่นิยมปลูกไดแก แขกดํา แขกนวล ทาพระ โกโก สายน้ําผึ้ง เปนตน


ดอกมะละกอ มี 3 ประเภท คือ ดอกตัวผู ดอกตัวเมีย และดอกกระเทย อยูแยกกันคนละตน ผลของ
ตนตัวเมียมีลักษณะกลมปอมเนื้อบาง ผลตนกระเทยมีลักษณะเรียวยาว เนื้อหนา ซึ่งมีลกั ษณะที่
ตลาดตองการ สวนตนตัวผูจ ะไมติดผล

วิธีการปลูก
การปลูก เตรียมหลุมปลูกขนาด กวาง x ยาว x ลึก ประมาณ 50 x 50 x 50 เซนติเมตร
ระยะปลูก 3 x 3 เมตร ยอยดินในหลุมใหละเอียด ใสปยุ หมักหรือปุยคอกประมาณ 5 กิโลกรัม / หลุม
คลุกเคลาดินและปุยคอกใหเขากัน ถอดตนกลามะละกอออกจากถุงดํา นําตนกลาลงปลูกในหลุมที่
เตรียมไว กลบดินลงหลุม กดดินบริเวณโคนตนใหแนน รดน้ําใหชุม ถาดินยุบตัวใหเติมดินอีก ใสปุย
สูตร 15 - 15 -15 ประมาณ 1 กํามือ โรยรอบโคนตนทุก 2 - 3 เดือน

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


การปลูกผักและไมดอก 12

การปองกันกําจัดศัตรูพืช
การปลูกบริโภคในครัวเรือนไมควรใชสารเคมีในการกําจัดศัตรูพืช หากพบศัตรูพืชให
ใชสารสกัดจากธรรมชาติ เชน สารสกัดจากสะเดา การเก็บใบที่เปนโรคและแมลงไปทําลาย การใช
แมลงศัตรูพืชธรรมชาติกําจัด ทําใหไดผลผลิตปลอดภัยจากสารพิษไวบริโภคในครัวเรือน

โรคแมลงทีส่ าํ คัญ

1. โรครากเนาโคนเนา บริเวณโคนตนสวนกลางหรือสวนลางที่ตดิ กับผิวดินจะเกิด


เปนรอยฉ่ําน้ํา ตอมารอยนัน้ จะเนาเปนสีดําหรือสีน้ําตาล มีกลิ่นเหม็นเมื่อเปนถึงยอด ใบจะเฉาติด
กับลําตน และตายในที่สุด การควบคุม ถาพบตนเริ่มเปนโรคนี้ใหถากบริเวณแผลออกใหหมดทาดวย
ปูนขาว ถาเปนตนเล็กใหถอนทิง้ ใสปูนขาวลงในหลุมทีถ่ อนทิง้ พืน้ ทีป่ ลูกควรมีการระบายน้าํ ดี

2. โรคใบดางหรือใบจุดวงแหวน ใบมะละกอจะซีดเหลืองตอมาเปนสีเขียวสลับ
เหลือง เนื้อใบไมเรียบ ถาเปนมากใบจะแคระแกรนบิดเบี้ยว ลําตนจะแสดงอาการเปนวงสีเขียวหรือ
เปนขีดเล็กๆ ขอและปลองสั้นผิดปกติ ผลจะเปนจุดกลมเล็กๆคลายวงแหวนเนื้อในแข็งเปนไต เมือ่ ชิม
มีรสขม การควบคุมตองเลือกเมล็ดจากตนที่ไมมีอาการของโรค หลีกเลีย่ งการปลูกในบริเวณที่มีพืช
ตระกูลแตงหรือใกลตนมะละกอที่แสดงอาการ หากพบตนที่แสดงอาการใหถอนและเผาทําลาย

การเก็บเกี่ยว
ตนมะละกอ จะเริม่ ออกดอกเมือ่ อายุประมาณ 3 – 5 เดือนหลังปลูก สามารถเก็บเกีย่ ว
ผลดิบไดเมื่อผลอายุ 3 – 4 เดือน และเก็บผลสุกเมื่อผลอายุ 5 - 6 เดือนหลังดอกบาน หากมีการดูแลดี
ก็สามารถเก็บผลไดตลอดป ตนมะละกอสามารถใหผลผลิตไดนาน 3 – 4 ป

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


การปลูกผักและไมดอก 13

มะลิ

พันธุ
พันธุแมกลอง ทรงพุมใหญ หนาและทึบ เจริญเติบโตเร็ว ใบหนาปลายใบมน
สีเขียวเขม ชวงขอใบหาง ดอกใหญ กลม มีดอก 1 ชุดๆละ 1 ดอก ดอกไมดก

พันธุราษฏรบูรณะ ทรงพุม เล็กกวา คอนขางทึบ ปลายใบเรียว เล็ก ชวงขอใบ


คอนขางถี่ ดอกเล็ก เรียวแหลม มักมีดอก 1 – 2 ชุดๆละดอก ดอกดก ทยอยใหดอก

พันธุชุมพร คลายพันธุราษฏรบูรณะและทรงพุมโปรงกวา ใบเรียวกวา


สีออนและบางกวา ขอใบถี่ ดอกเล็ก เรียวแหลม ดอกมีมากกวา 2 ชุดๆละ3ดอก ดอกดกมากแตทงิ้
ระยะออกเปนชวงๆ

วิธีการปลูก
นิยมปลูกในชวงตนฤดูฝน ระยะปลูกที่เหมาะสมคือ 70 x 90 เซนติเมตร หากจะปลูก
มะลิใหมีอายุยืนยาว ควรขุดหลุม ลึก กวาง และยาวดานละ 50 เซนติเมตร ใสปุยคอก ใบไมผุหรือ
ปุยหมัก และวัสดุอื่นๆ ในอัตราสวน 1:1:1 พรอมกับเติมปุยซุปเปอรฟอสเฟต (0 -46 -0)และปุยผสม
สูตร 15 -15 -15 อยางละ 1 กํามือ คลุกเคลาใหเขากัน แลวใสกลับลงไปในหลุมใหม ทิง้ ไวประมาณ
7-10 วัน จึงนําเอาตนมะลิทซี่ ื้อมาหรือไดจากการปกชําลงปลูก

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


การปลูกผักและไมดอก 14

การดูแลรักษา
การใหน้ํา มะลิจะตองการน้ําพอสมควร
การใสปุย ใหใชปุยสูตร 15 -15 -15 หรือ 16 -16 -16 อัตราการใสปุยขึ้นอยูกับ
ขนาดของทรงพุม ใสเดือนละครั้ง โดยการหวานและรดน้ําตาม
การตัดแตง หลังจากปลูกมะลิไปนานๆแลวมะลิจะแตกกิ่งกานสาขามากมาย
ควรตัดแตทรงพุมใหโปรง

การปองกันกําจัดศัตรูพืช
เพลี้ยไฟ เพลี้ยไฟทั้งตัวออนและตัวเต็มวัยทําลายโดยการดูดน้ําเลี้ยง โดยเฉพาะ
ดอกและใบ ทําใหดอกแคระแกรน เล็กลง ใบหงิกงอเปนคลื่นมีสีขาวซีด หรือถามีการทําลายรุนแรง
สวนนัน้ ๆจะเปนรอยดางสีน้ําตาล เหีย่ วแหง
การปองกันกําจัด ถามีการระบาดมาก และจําเปนตองใชสารเคมีใหใช ชนิดใดชนิดหนึง่
คือ สารคารโบซัลแฟน (พอสซ 20 % อีซี. ) อัตรา 30 - 50 ซีซี. ตอน้าํ 20 ลิตร , สารโปรไธโอฟอส
(โตกุไธออน 50 % อีซี. ) อัตรา 20 - 30 ซีซี. ตอน้ํา 20 ลิตร เปนตน

หนอนเจาะดอกมะลิ ตัวหนอนเจาะเขาไปอาศัยกัดกินอยูภายในดอกมะลิ
โดยกัดกินเกสรดอกและกลีบดอกดานใน ทําใหเห็นกลีบดอกดานนอกเปนรอยช้ําเหี่ยวแหงและรวง
ตัวเมียวางไขบนกลีบดอกมะลิ หรือกานกลีบเลี้ยง ยอดออน ใบออน ตัวหนอนเมื่อฟกออกมาเจาะ
เขาไปในดอกทันที ถาถูกทําลายตั้งแตยงั เปนดอกเล็ก ก็จะเหีย่ วแหงเปนสีนา้ํ ตาลและรวงหลน กอนที่
จะเจริญเปนดอกระยะสงตลาด
การปองกันกําจัด สารเคมีกําจัดที่ไดผล ไดแก สารไพรีทรอยสังเคราะห เชน
ไซเปอรเมทริน (แอซคอรด 15 % อีซ.ี ) อัตรา 30 ซีซ.ี ตอน้าํ 20 ลิตร ไซเปอรเมทริน( ริพคอรด 15 % อีซ.ี )
อัตรา 10 ซีซี. ตอน้ํา 20 ลิตร เปนตน

การเก็บเกี่ยว
ดอกมะลิตองเก็บขณะดอกตูม มีความเจริญเต็มที่ มีลกั ษณะสีขาวนวล วิธีเก็บใหใช
มือเด็ดตรงกานดอกใตกลีบเลี้ยง

หมายเหตุ ใชสารเคมีปองกันและกําจัดศัตรูพืชเทาทีจ่ ําเปนเทานั้น

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


การปลูกผักและไมดอก 15

ชบา

พันธุ
มีมากมายหลายพันธุ ปจจุบนั มีการผสมพัฒนาสายพันธุช บาใหมๆ ออกมาใหได
ปลูกเลนประดับสวนอยูตลอดเวลา ดอกชบามีทงั้ ดอกซอน และดอกรา หมายถึงกลีบดอกเดียวไมซอน
ทั้งดอกเล็กและดอกใหญ สีก็มีหลากหลายทั้ง สีแดง ชมพู แสด ขาว เหลือง มวง โดยจะมีเกสรอยู
ตรงกลาง ชูตั้งขึ้นมาเหนือดอก
นอกจากสายพันธุท หี่ ลากหลายแลว ชบายังมีแยกออกไปอีกเชน
ชบาดิน ลักษณะเปนไมพุมเตี้ยคลุมดิน ตนจะทอดยาวไปกับพืน้ ดิน

ชบาดาง แตกตางจากชบาอื่นตรงที่ใบจะมีสีขาวดางประปรายเปนลาย ขอบใบ


หยิกเปนฟนเลือ่ ย ดอกเดี่ยวสีแดงสด

ชบาหนู ลําตนและดอกเล็ก เปนไมกงึ่ เลื้อย

ชบาหนูใหญ ใบลักษณะคลายใบชบาทั่วไป เปนไมพุมขนาดกลาง เวลาบานดอก


จะมีลักษณะคลายรมทีห่ ุบยังไมไดกางออก มีสีแดงสด

นอกจากนัน้ สายพันธุตางประเทศทีน่ ิยมในปจจุบัน เชน ชบาออสเตรเลีย ซึ่งจุดเดน


อยูที่สีสันและความใหญของดอก สวนลักษณะตนเหมือนชบาทัว่ ไป

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


การปลูกผักและไมดอก 16

วิธีการขยายพันธุ
การปกชํา เลือกกิ่งที่ไมแกไมออนเกินไป ตัดเอาใบแกออกใหเหลือ 2-3 ใบ แลวอาจ
จุมน้ํายาเรงราก แลวนําไปปกชําในถุงดําทีใ่ สขี้เถาแกลบแลวรดน้ําใหชมุ นําถุงพลาสติกใหญสวมทับ
ถุงชํา มัดปากถุงใหแนน ตัง้ ทิง้ ไวในรมประมาณ 1 เดือน รากก็จะงอกออกมา จากนั้นนําไปปลูกใน
กระถางที่ใสดนิ ไดเลย

การดูแลรักษา
การใหน้ํา รดน้ําวันละ 1 – 2 ครั้งในตอนเชา และตอนบาย หากเปนชวงฤดูฝน
ไมตองใหน้ําบอย หากใหน้ําจนแฉะมากเกินไปจะทําใหระบบรากเนาได
การใหปยุ ถาปลูกในกระถางใสปุยสูตรเสมอเชน 16-16-16 ประมาณ 10 เม็ด
ตอตนตอครั้ง ประมาณ 10 วัน ตอครั้งใชวธิ ีการใสนอยๆแตบอยครั้ง
แสงแดด ถาตองการใหชบาออกดอกดก ควรปลูกไวกลางแดด แสงแดดมีสวน
ทําใหดอกมีสสี วย และถาตัดแตงกิ่งที่ติดดอก แลวออกกิ่งใหมก็จะไดดอกอีก แตถาตัดกิ่งแลวยังแตก
กิ่งกับใบเพิ่มขึน้ มา แตไมมีดอก อาจเนื่องจากใหน้ํามากเกินไป การใหน้ําตองใหแตพอดี ไมมากไม-
นอยเกินไป ถาไมมีดอกตองใหปุยชวยโดยสลับดวยการใชปยุ สูตรที่มีฟอสฟอรัสสูงเชน 12 – 24 – 12 ,
8 – 24 – 24 เปนตน

การปองกันกําจัดศัตรูพืช
เพลี้ยไฟ ไรแดง จะระบาดมากในชวงแลง มีมดเปนพาหะนําเพลี้ยขึ้นตน ถาตัด
มดไดก็ตัดวงจรเพลี้ยได สวนไรแดง ใชสารสะเดาฉีดปองกัน เมื่อเขาฤดูฝน เพลี้ยไฟและไรแดง จะลด
นอยลง นอกจากนัน้ ยังอาจพบแมลงศัตรูอื่นๆ เชน หนอมมวนใบฝาย หนอนคืบฝาย เพลี้ยออน
หนอนเจาะลําตนกาแฟ

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร


การปลูกผักและไมดอก 17

เข็ม
พันธุ
พันธุเข็มมีหลายชนิด เชน
เข็มแสด จะแตกหนอเปนกอโต
เปนพรรณไมทรงเตี้ยแคระ ลําตนสูง
ประมาณ 1 ฟุต มีใบหนา แข็งซอน
ชิดติดกัน ดอกจะดกและแนนออกดอก
เปนชอ กานชอตั้งตรงยาวประมาณ
15 เซนติเมตร ชอหนึง่ จะมีดอกราว
50 ดอก ดอกมีสีสมออนจนถึงสมแก มีเกสรเห็นเปนจุดสีดํา
เข็มแดง เปนพรรณไมตนเตี้ย ออกดอกตรงสวนยอดของตน กานชอดอกจะตั้ง
แตไมแข็งเทาเข็มแสด ยาวประมาณ 20 เซนติเมตร ดอกมีสีสมอมแดงหรือสีแดงสดใส ปลายเกสรมี
สีมวง ดอกจะทนถึง 2 สัปดาหจะออกดอกราวเดือนเมษายน – พฤษภาคม
เข็มเหลือง หรือทีเ่ รียก เข็มเศรษฐี เปนพรรณไมพมุ มีลําตนสูงประมาณ 8 – 15 ฟุต
ออกดอกเปนชออยูตามสวนยอดของลําตน ดอกจะไมคอยดกนัก ชอดอกใหญปานกลาง ดอกจะมี
หลายสี เชน สีแดงสม สีเหลืองแดงแสดและสีแดงเลือดนก แตสวนใหญจะพบสีแดงเลือดนก

วิธีการขยายพันธุ
ขยายพันธุดว ยการตอน และปกชํากิง่
การดูแลรักษา
เปนไมที่ชอบอยูกลางแจง ควรปลูกในดินรวนซุยและมีความชืน้ พอเหมาะ ตองการ
น้ํานอยถึงปานกลาง

การปองกันกําจัดศัตรูพืช
ตนเข็มไมคอ ยมีปญ
 หาเรือ่ งโรคและแมลง แตอาจพบการทําลายจากหนอนเขียวหวาน
หนอนมวนใบสม หรือหนอนหอใบ หนอนปลอกเล็ก

หมายเหตุ ใชสารเคมีปองกันและกําจัดศัตรูพืชเทาทีจ่ ําเปนเทานั้น


กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร
การปลูกผักและไมดอก 18

พุด
พันธุ
มีหลายพันธุ เชน
พุดจีบ ทรงตนคลายพุดซอน เปน
พรรณไมพมุ เตี้ย ทรงพุม หนาแนนและ
ทึบ สูงประมาณ 4 - 8 ฟุตเมื่อเด็ดใบดู
จะมียางสีขาวๆไหลซึมออกมา จะออก
ดอกตามงามกิ่งใกลๆกับยอด ซึง่ จะ
ออกเปนชอๆหนึ่งมีดอกประมาณ
10 -15 ดอก และจะบานทีละดอกเทานัน้ กลีบดอกจะซอนกันอยู 3 ชัน้ ๆละ 5 กลีบ ดอกมีสีขาว
ดอกจะดก มีกลิ่นหอมออนๆ
พุดซอน มีลักษณะตนคลายพุดจีบ แตจะไมมียางสีขาวอยูในตนและใบเหมือน
พุดจีบ สวนมากจะออกดอกเปนดอกเดี่ยว อยูตามงามกิ่งตอนใกลๆกับตรงสวนยอด ลักษณะของดอก
เหมือนๆกับดอกพุดจีบ ดอกมีสีขาว และกลีบดอกจะซอนกันหลายชัน้ มีกลิ่นหอมออนๆ
พุดตะแคง เปนพรรณไมพมุ ยืนตนขนาดเตี้ยๆ มีลําตนสูงประมาณ 8 ฟุต ดอกออกเปน
ชออยูตามปลายกิง่ ลักษณะดอกจะคลายๆดอกมะลิ แตจะผิดกันทีต่ รงสีเทานัน้ คือ เมือ่ ดอกบานใหมๆ
จะมีสีเหลืองนวล แตพอบานเต็มที่แลวจะเปนสีขาว กลีบแตละกลีบจะบิดงอตะแคงตามกันเหมือน
กังหัน ดอกมีกลิ่นหอมแรง จะผลิดอกตลอดป แตจะดกมากในฤดูฝน

วิธีการขยายพันธุ
ขยายพันธุดว ยการตอน การเพาะเมล็ด และการปกชํา
การดูแลรักษา
เปนพรรณไมกลางแจง ชอบแสงแดดจัด แตก็สามารถอยูในที่รมรําไรได ขึ้นไดดีใน
ดินที่รวนซุยและมีความชุม ชื้นพอสมควร ตองการน้าํ ปานกลาง

การปองกันกําจัดศัตรูพืช
ตนพุดไมคอยมีปญหาเรื่องโรคและแมลง แตอาจพบการทําลายของเพลี้ยหอย
หมายเหตุ ใชสารเคมีปองกันและกําจัดศัตรูพืชเทาทีจ่ ําเปนเทานั้น
กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี กรมสงเสริมการเกษตร
เรียบเรียง
กลุมสงเสริมการผลิตผัก
กลุมสงเสริมการผลิตไมดอกไมประดับ
กลุมงานอนุบาลและขยาย
จัดทํา
กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร
สํานักงานเกษตรกรุงเทพมหานคร
กรมสงเสริมการเกษตร

จํานวนพิมพ
5,000 ฉบับ ธันวาคม 2548

ที่มา
เอกสารคําแนะนํา : การปลูกผักและไมดอก กรมสงเสริมการเกษตร. 2548

จัดทําและเผยแพรทางเว็บไซตโดย

กลุมสื่อสงเสริมการเกษตร
สํานักพัฒนาการถายทอดเทคโนโลยี
กรมสงเสริมการเกษตร

You might also like