You are on page 1of 30

ใบงานที่ 2 ให้นักศึกษาอธิบายเรื่องเหล่านีอ

้ ย่างละเอียด

1. จงอธิบายเกี่ยวกับประเภทของอาหารสัตว์น้ำ
อาหารสัตว์น้ำ หมายถึง อาหารสมทบ หรือ อาหารผสม หรือ
อาหารเม็ดที่ทำขึน
้ เพื่อใช้เลีย
้ งสัตว์น้ำ ส่วนประกอบของอาหารจะ
ต้องประกอบด้วยสารอาหารที่จำเป็ นเป็ นต่อการเจริญเติบโต ทำให้
ร่างกายดำเนินกิจกรรมการดำรงชีวิตอย่างเป็ นปกติและช่วย
ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ แบ่งเป็ น
1.1 อาหารหลัก
1.2 อาหารที่สัตว์น้ำกินในบางโอกาส
1.3 อาหารยามฉุกเฉิน

อาหารหลัก คือ อาหารที่สัตว์น้ำต้องการกินภายใต้สภาวะที่เหมาะ


สม
อาหารที่สัตว์น้ำกินในบางโอกาส คือ คล้ายกันกับอาหารหลักแต่
สัตว์น้ำกินในบางโอกาสเท่านัน

อาหารยามฉุกเฉิน คือ อาหารที่สัตว์น้ำต้องกินทดแทนเมื่อขาด
อาหารหลัก กินเพื่อความอยู่รอด

โดยทั่วไปสัตว์น้ำที่เลีย
้ งในบ่อจะได้อาหารมาจาก 2 แหล่งด้วยกัน
คือ อาหารธรรมชาติ และอาหารสมทบ
1. อาหารธรรมชาติ (Natural food) หมายถึงอาหารที่เกิดขึน
้ ในบ่อ
ธรรมชาติ ปริมาณของอาหารเหล่านีจ
้ ะมากน้อยเพียงใดขึน
้ อยู่กับความ
อุดมสมบูรณ์ของบ่อนัน
้ ๆ โดยพิจารณาจากแผ่นภาพดังต่อไปนี ้

สัตว์น้ำขนาดใหญ่กว่าจะใช้พืชและสัตว์น้ำเล็กๆ เหล่านีเ้ ป็ นอาหาร


และแปรสภาพเป็ นเนื้อ กระดูก เกล็ด เปลือกนอก และส่วนอื่นๆ ของสัตว์
น้ำที่เลีย
้ งต่อไป การเจริญเติบโตของสัตว์น้ำในบ่อจะขึน
้ อยู่กับอาหาร
ธรรมชาติเหล่านี ้

พืชและสัตว์ที่เป็ นอาหารของสัตว์น้ำตามธรรมชาติ ได้แก่

1. แพลงก์ตอนพืช สิ่งที่มีชีวิตเหล่านีจ
้ ะกระจายอยู่ทั่วไปในบ่อ ส่วน
ใหญ่จะเจริญและขยายพันธุ์ได้ดีในบ่อที่มีแสงอาทิตย์ส่งผ่านถึง เช่น
Chlorella sp. น้ำจืด Phormidium sp., Costerim sp., Nitzchia
sp., Diatoms sp., Volvox sp.
2. แพลงก์ตอนสัตว์ เป็ นพวกที่ว่ายหรือเลื่อนลอยอยู่ในน้ำ ไม่เกาะยึด
หรืออยู่โดยตรงกับดินหรือพืชน้ำ เช่น Euglena sp., Brachionus
sp., Cyclop sp., Moina sp., Daphnia sp. ฯลฯ

3. ชีวอินทรีย์ที่เป็ นสัตว์ เป็ นพวกที่เกาะอยู่ตามพืชน้ำและสิ่งยึดเกาะ


ได้ที่อยู่กลางน้ำ เช่น ลูกน้ำ ลูกหอย ลูกแมลงปอ และลูกแมลงในน้ำ
อื่นๆ บางชนิด ฯลฯ

4. สัตว์น้ำก้นบ่อ เป็ นพวกที่ฝังตัวอยู่ที่พ้ืนก้นบ่อ หรือตามใต้ใบไม้ที่


หล่นอยู่ตามก้นบ่อ เช่น พวกไส้เดือน หนอนแดง (Chironomus
sp.) ลูกหอยขม ลูกหอยโข่ง ฯลฯ

5. พืชนํา้ เป็ นพวกพืชที่เกิดขึน


้ ในบ่อทัง้ ที่อยู่ในสภาพที่ติดดินและรากที่
ลอยอยู่ในน้ำ เช่น สาหร่ายชนิดต่างๆ แหนเป็ ด ไข่น้ำ สันตะวา
หญ้า ฯลฯ

ตัวอย่างอาหารธรรมชาติ
2. อาหารสมทบ (feed) หมายถึง อาหารที่ให้แก่กุ้งและปลาที่เลีย
้ ง
นอกเหนือจากอาหารธรรมชาติที่สัตว์น้ำสามารถกินได้ และเป็ น
ประโยชน์ต่อการเจริญเติบโตของสัตว์น้ำ ซึ่งโดยทั่วไปแบ่งอาหาร
ปลาได้เป็ น

2.1 อาหารสมบูรณ์ (Complete feed) เป็ นอาหารที่ประกอบด้วย


สารอาหารที่จำเป็ นต่อการเจริญเติบโตอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ อาหาร
ประเภทนีป
้ ระกอบด้วยสารอาหารหลายชนิด และมีหลายรูปแบบ เช่น
ผง แผ่น เม็ดจมและเม็ดลอย เป็ นต้น จึงเหมาะแก่การใช้เลีย
้ งกุ้งและ
ปลาในระบบพัฒนาที่ปล่อยกุง้ และปลาอย่างหนาแน่น การเลีย
้ งโดย
อาหารสมบูรณ์นีจ
้ ะให้ผลผลิตสูงมาก เช่น การเลีย
้ งปลาดุก ปลาช่อน
ปลาบู่ และกุง้ กุลาดำ เป็ นต้น

2.2 อาหารแบบไม่สมบูรณ์หรืออาหารสมทบ (supplemental


feed) หมายถึง อาหารที่มนุษย์เพิ่มลงไปในแหล่งน้ำ เพื่อให้สัตว์น้ำได้
รับและใช้ประโยชน์ซึ่งอาจจำแนกได้ตามแหล่งน้ำที่มาของอาหาร
ดังนี ้
          2.1.1 อาหารสมทบประเภทพืช  ได้แก่ ลำต้น ใบ หรือส่วน
หนึ่งส่วนใดของพืช อาจจำแนกได้ตามแหล่งที่มาของพืชต่างๆ
          2.1.2 อาหารสมทบประเภทเนื้อสัตว์ได้แก่ พวกอาหารสด ซึ่ง
เป็ นอาหารที่มีกลิ่นในการกระตุ้นการกินอาหารของสัตว์น้ำได้ดี ได้แก่
กระดูกไก่ หอนกระพง เนื้อกุ้ง หมึก ปลาเป็ ด หรือปลาสด ฯลฯ แต่
การให้อาหารสดอย่างเดียวเลีย
้ งสัตว์น้ำเป็ นเวลานานๆ จนจับขายอาจ
ทำให้ปลาแสดงอาการขาดวิตามินเนื่องจากอาการสดส่วนใหญ่มีสาร
ต่อต้านการทำงานของวิตามินหลายชนิด ดังนัน
้ จึงไม่ควรใช้อาหารสด
อย่างเดียวเลีย
้ งสัตว์น้ำ ควรให้อาหารเม็ดบ้างเป็ นบางครัง้
          อาหารสดมีข้อดีที่มีกลิ่นช่วยกระตุ้นให้ปลากินอาหารมากขึน

และยังช่วยให้สัตว์น้ำที่เลีย
้ งมีสีเข้มสดใส แต่อย่างไรก็ตามการใช้
อาหารสดจะต้องระมัดระวัง เพราะการให้อาหารสดมีแนวโน้มทำให้
คุณภาพน้ำในบ่อเน่าเสียได้ง่าย โดยเฉพาะในกรณีให้อาหารสดมากไป
หรือให้อาหารสดผิดวิธี
          2.1.3 อาหารสมทบประเภทผลิตภัณฑ์แปรรูป ได้แก่ อาหาร
สำเร็จรูป ซึง่ เป็ นอาหารที่จัดทำให้อยู่ในรูปแบบที่พร้อมจะนำไปเลีย
้ ง
สัตว์น้ำน้ำได้ทันที รวมทัง้ สะดวกในการเก็บรักษาและลำเลียงขนส่ง

ตัวอย่างอาหารสมทบ
รูปแบบของอาหารสมทบ

- อาหารแบบเปี ยก
เป็ นอาหารแบบดัง้ เดิมที่เกษตรกรใช้กัน เช่น อาหารที่แหลือ
จากครัวเรือน โดยนำมาต้มรวมกับผัก หรือพันธุ์ไม้น้ำชนิดต่างๆ
หรือ ใช้ปลาเบญจพรรณ หรือที่เรียกว่า ปลาเป็ ด บดรวมกับปลาย
ข้าวต้มและรำแล้วนำไปเลีย
้ ง หรือใช้มูลสัตว์ได้แก่ ไก่ เป็ ด และหมู
ให้โดยตรงหรือเป็ นปุ๋ย พบในการให้อาหารเลีย
้ งปลาช่อน ปลาสลิด
- อาหารแบบแห้ง
อาหารชนิดนีส
้ ามารถเก็บรักษาไว้ได้เป็ นเวลานานและสะดวก
ได้แก่
1. แบบผง ทำมาจากวัสดุอาหารชนิดต่างๆที่มีลักษณะแห้ง
และบดเป็ นผงละเอียด มาผสมรวมกันและโรยให้สัตว์น้ำ
กิน เหมาะกับสัตว์น้ำขนาดเล็กหรือวัยอ่อน
2. แบบเม็ดจม ทำมาจากวัสดุอาหารชนิดต่างๆ ที่มีลักษณะเป็ น
ผงกับน้ำแล้วผ่านเครื่องอัดเม็ดอ่อน ทีเ่ รียกว่า mincer ออกมา
เป็ นแท่งยาว เมื่อได้เส้นผ่าศูนย์กลางและความยาวที่ตอ
้ งการ
เมื่อออกจากเครื่องใหม่จะเปี ยกหมาดๆ ( ความชื้น
ประมาณ 40-60 % ) เมื่อถูกลมและแดดจะแห้งและจับตัว
แน่นเป็ นแท่งยาว สามารถอยู่ในน้ำได้นานและเก็บรักษาได้
นาน
3. แบบเม็ดลอย ส่วนผสมของอาหารก็เช่นเดียวกับอย่างชนิด
แบบผงและชนิดแบบเม็ดจมและอาหารต้องผ่านเครื่องอัด
เม็ด แต่มีกรรมวิธีการผลิตที่ซับซ้อนกว่า คือ ก่อนการอัด
เม็ดต้องทำให้ส่วนผสมของอาหารสุกจนวัสดุอาหารขยาย
ตัวแล้วจึงอัดอากาศเข้าอาหารที่อากาศอยู่ข้างใน จึงมี
คุณสมบัติลอยน้ำได้ มีข้อดีคือผูเ้ ลีย
้ งสามารถทราบได้ว่า
สัตว์น้ำกินอาหารหมดหรือไม่

ตัวอย่างอาหารแบบแห้ง
ข้อแตกต่างของอาหารสัตว์น้ำที่แตกต่างจากอาหารสัตว์บก

- อาหารสัตว์น้ำต้องมีคุณสมบัติสำคัญ คือ มีความคงทนในน้ำ เพื่อให้


สัตว์น้ำมีโอกาสได้กินอาหารมากขึน
้ และให้เหลือในบ่อน้อยที่สุด
- วัสดุที่นำมาประกอบเป็ นอาหารควรมีขนาดเล็ก มีเยื่อไย(Fiber) ไข
มันน้อยและควรมีแป้ งสุกในปริมาณพอสมควร เพื่อให้ยึดวัสดุอ่ น
ื ให้
จับตัวกันแน่นเป็ นรูป ก้อน แผ่นหรือเม็ด การทำเช่นนีจ
้ ะทำให้
อาหารอยู่คงนานในระยะเวลาหนึ่งลำทำให้อาหารอยู่ในน้ำเป็ น
ระยะเวลานาน ควรผสมพวกสารเหนียว(Binder) ลงไปด้วย พวก
สารเหนียวที่มีคุณสมบัติพิเศษในการยึดเกาะ ซึ่งจะทำให้วัสดุต่างๆ
ยึดและเกาะตัวกันแน่น โอกาสที่น้ำจะซึมไปแยกให้วัสดุต่างๆ ยึด
เกาะและเกาะตัวแน่นทำวัสดุในอาหารแยกตัวออกจากกันช้าลง
ทำให้อาหารคงรูปได้นาน

กรมประมงรับขึน
้ ทะเบียนอาหารสัตว์ ประเภทวัสดุที่ผสมแล้ว และ
ประเภทอาหารเสริมสำหรับสัตว์ ที่ใช้สำหรับ กบ ตะพาบน้ำ กุ้งทะเล
กุ้งน้ำจืด ปลาดุก ปลาน้ำจืดกินพืช ปลาน้ำจืดกินเนื้อ และปลาทะเลกิน
เนื้อ

1. ประเภทวัตถุที่ผสมแล้ว ได้แก่
1.1 หัวอาหารสัตว์ มีลักษณะเป็ นผง มีส่วนผสมประกอบด้วย
วัตถุดิบหลายชนิดเช่นเดียวกับอาหารผสมสำเร็จรูป แต่จะมี
โปรตีนสูงกว่าอาหารผสมสำเร็จรูป วิธีใช้ผสมกับวัตถุดิบชนิดอื่น
ก่อน เช่น ปลาสด รำละเอียด ปลายข้าว แล้วจึงให้สัตว์น้ำกิน
1.2 อาหารสัตว์ผสมสำเร็จรูปมีลักษณะของอาหารแบ่งออกเป็ น
1.2.1 อาหารเม็ดลอยน้ำ
1.2.2 อาหารเม็ดจมน้ำ
1.2.3 อาหารชนิดเกล็ด
1.2.4 อาหารชนิดผง

ส่วนผสม : ประกอบด้วย ปลาป่ น กากถั่วเหลือง รำข้าว น้ำมัน


ปลา วิตามิน แร่ธาตุ เป็ นต้น

วิธีใช้ : ให้สัตว์น้ำกินได้โดยตรง

อาหารเสริมสำหรับสัตว์ หมายถึง วัตถุที่ผสมแล้ว วัตถุที่เติมเต็มใน


อาหารสัตว์ เพื่อเพิ่มคุณค่าทางโภชนาการแก่สัตว์ โดยให้สัตว์กินโดยตรง
และหรือทำให้เจือจางก่อนใช้เลีย
้ งสัตว์ หรือผสมอาหารสัตว์อ่ น
ื เพื่อใช้
เลีย
้ งสัตว์โดยแบ่งเป็ น 4 ชนิด คือ

1. อาหารเสริมโปรตีน ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ที่มีวัตถุดิบที่เป็ นแหล่งของ


โปรตีนมากกว่า 1 ชนิด ผสมกัน หรือผลิตภัณฑ์ที่เป็ นวัตถุที่เติมใน
อาหารสัตว์ที่เป็ นแหล่งโปรตีน หรือ กรดอมิโน เช่น ยีสต์ ไลซีน เม
ไทโอนีน ฯลฯ โดยมีวัตถุประสงค์ใช้เสริมโปรตีน แต่ต้องไม่เข้า
เกณฑ์เป็ นอาหารสัตว์ผสมสำเร็จรูปหรือหัวอาหารสัตว์ หรือ
ผลิตภัณฑ์นมสำหรับสัตว์
2. อาหารเสริมแร่ธาตุ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของแร่ธษตุ
ชนิดใดชนิดหนึ่ง หนือหลายชนิดรวมกัน และไม่มีส่ อ
ื เป็ นส่วน
ประกอบ เช่น คอปเปอร์ซัลเฟต ฟี ดเกรด
3. อาหารเสริมวิตามิน ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของวิตามิน
ชนิดใดชนิดหนึ่งหรือหลายชนิดรวมกัน และไม่มีส่ อ
ื เป็ นส่วน
ประกอบ เช่น วิตามินบี1 ฟี ดเกรด
4. อาหารเสริมไขมัน ได้แก่ อาหารเสริมที่มีส่วนประกอบของไขมัน
ชนิดใดชนิดหนึ่งหรือหลายชนิกรวมกัน หรือผลิตภัณฑ์ที่เป็ นวัตถุที่
เติมในอาหารสัตว์ที่เป็ นแหล่งของไขมันหรืออนุพันธ์ของไขมัน เช่น
ไขมันพืช ไขมันสัตว์ เลซิติน ฯลฯ
2. จงอธิบายเกี่ยวกับวัตถุดิบอาหารสัตว์

ส่วนประกอบอาหารที่ให้โภชนะ จำนวนวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต
อาหารสัตว์น้ำมีจำนวนชนิดน้อยกว่าที่ใช้ผลิตอาหารสัตว์บก ในการเลือก
ชนิดวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตอาหารต้องทราบลักษณะของวัตถุดิบอาหาร
สัตว์ที่มีคุณภาพ และต้องทราบคุณค่าทางโภชนาการที่สำคัญของวัตถุดิบ
ชนิดของวัตถุดิบที่ใช้ในการประกอบอาหาร สามารถแบ่งได้ดังนี ้

วัตถุดิบอาหารสัตว์ประเภทโปรตีนต่ำ หรือแป้ ง (วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย,


2536) มีราคาถูกที่สุด นิยมใช้ในการลดต้นทุนการผลิตอาหาร มีโปรตีน
ประมาณ 8-14% และมีแป้ ง มาก 70-90%

ปลายข้าว

- นิยมใช้ในสูตรอาหารปลา

รำข้าว
- มีไขมันมากกว่าปลายข้าว ทำให้เหม็นหืนง่าย รำข้าวมี 3 อย่าง คือ รำ
หยาบ รำละเอียด และรำสกัดน้ำมัน การใช้รำละเอียดหรือรำสกัด
น้ำมันเป็ นส่วนผสมในสูตรอาหารปลากินเนื้อไม่ควรเกิน 20% ใน
ปลากินพืชอาจมากถึง 30-40%

ข้าวโพด

- นิยมใช้ในการผลิตอาหารลอยน้ำ มีการปนเปื้ อนด้วยเชื้อรา


Aspergillus flavus ซึง่ สร้างสาร พิษ Alphatoxin ควรเลือก
ข้าวโพดที่มีความชื้นไม่เกิน 13% เพื่อลดโอกาสการปนเปื้ อนของ
เชื้อรา บดให้ ละเอียดก่อนนำไปผลิตอาหารปลา

ข้าวฟ่ าง

- มีคุณค่าใกล้เคียงกับข้าวโพด มีรสขม เนื่องจากข้าวฟ่ างมีสารพิษ


Tannin ควรใช้ร่วมกับปลาป่ นหรือกากถั่วเหลือง เนื่องจากข้าวฟ่ าง
มีกรดอะมิโนไลซีน และทรีโอนิน มันสําปะหลัง ทั่วไปมี 3 แบบ
ได้แก่ 1. หัวมันสด
2. มันเส้นหรือมันอัดเม็ด และแป้ งมันสำปะหลัง
3. หัวมันสดที่ขุดขึน
้ มาใหม่ ๆ จะมีสารพิษไฮโดรไชยานิค ทำลาย
ได้โดยสับหัวมันเป็ นชิน
้ เล็ก ๆ นำไปตากแดดทำลายพิษ การใช้มัน
เส้น หรือแป้ งมันสำปะหลัง ในปลากินเนื้อไม่เกิน 15-20% ในปลา
กินพืชสามารถใช้ได้ถึง 30- 40%

วัตถุดิบอาหารสัตว์ประเภทโปรตีนสูง (วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย, 2536) มี


ปริมาณโปรตีนมากกว่าความต้องการ
ของปลา ส่วนใหญ่เป็ นโปรตีนคุณภาพดี

โปรตีนจากสัตว์

ปลาป่ น

- โปรตีนหลักที่นิยมใช้ในการผลิตอาหารปลา คุณภาพโปรตีนสูงมาก
ประมาณ 55-60% มีกรด อะมิโนครบทุกชนิด มีแคลเซียมและ
ฟอสฟอรัสมาก มีกลิ่นหอมกระตุ้นความอยากกินอาหารของสัตว์น้ำ
ปลาป่ นที่ดีไม่ควรมีกลิ่นเห็นไหม้ ปราศจากการปลอมปนจากทราย
ละเอียด เปลือกหอย ยูเรีย ขนไก่ป่น

เลือดป่ น

- ได้จากโรงงานนำมาอบแห้ง และบดละเอียด เลือดปนมีปริมาณ


โปรตีนสูงถึง 90% แต่คณ
ุ ภาพ โปรตีนต่ำ มี Methionine และ
Isoleucine ต่ำมาก ควรใช้ผสมในอาหารสัตว์น้ำไม่เกิน 5%

เนื้อป่ น

- ได้จากการชำแหละเนื้อสัตว์ ประกอบด้วยเนื้อ พังผืด และเศษ


กระดูก คุณภาพแปรผันมาก คุณภาพโปรตีนต่ำ ส่วนมากมีโปรตีน
มากกว่า 55% ฟอสฟอรัสต่ำกว่า 4.4% เนื้อกระดูกป่ น จะมีโปรตีน
ต่ำกว่า 55% และฟอสฟอรัสมากกว่า 4.4% ไม่ควรใช้เกิน 10% ใน
อาหาร
หางนมผง

- หางนมผงเป็ นผลิตภัณฑ์จากวัว คุณภาพโปรตีนสูง นิยมใช้ในอาหาร


สัตว์น้ำวัยอ่อน เนื่องจาก มีราคาสูง การใช้หางนมผงต้องคำนึงถึง
พลังงานในอาหาร เนื่องจากหางนมผงมีไขมันต่ำ

แกลบกุ้ง หรือ หัวกุ้งป่ น

- เป็ นส่วนของเปลือกกุ้ง และหัวกุ้งที่เหลือจากการโรงงานอาหาร


ทะเลแช่แข็ง มีโปรตีนย่อยยากมีแคลเซียมและไคสินปริมาณมาก มี
กลิ่นหอม กระตุ้นความอยากกินอาหารของปลา ไม่ควรใช้มากกว่า
10% ในอาหาร

โปรตีนจากพืช

- กากถั่วเหลือง กากถั่วเหลืองเป็ นผลพลอยได้จากการสกัดน้ำมัน


จากเมล็ดถั่วเหลือง แบ่งเป็ น 3 ชนิด 1. กากถั่วเหลืองอัดน้ำมัน
2. กากถั่วเหลืองสกัดน้ำมันชนิดไม่กะเทาะเปลือก
3. กากถั่วเหลืองสกัดน้ำมันชนิดกะเทาะเปลือก

- กากถั่วเหลืองอัดน้ำมัน มีไขมันประมาณ 7% เก็บไว้ไม่ได้นาน

- กากถั่วเหลืองสกัด น้ำมันมีไขมันประมาณ 1%

- กากถั่วเหลืองสกัดน้ำมันชนิดไม่กะเทาะเปลือกมีโปรตีน 45% และ


เยื่อใย 7%

- กากถั่วเหลืองสกัดน้ำมันชนิดกะเทาะเปลือกมีโปรตีน 50% และเยื่อ


ใย 4%
การพิจารณาเลือกกากถั่วเหลืองมาใช้ในการผลิตอาหารต้อง
ตรวจสอบความสุกของถั่วเหลืองให้พอดี ถ้ามากเกินไปจะทำให้กาก
ถั่วเหลืองไหม้ กรดอะมิ โนไลซีนจับตัวกับน้ำตาล ปลาใช้ประโยชน์
ไม่ได้ ถ้าน้อยเกินไปกากถั่วเหลืองไม่สุก ทำให้สารยับยัง้ การทำงาน
ของเอนไซม์ทรีพซินในกากถั่วเหลืองไม่ถูกทำลาย

เมล็ดถั่วเหลือง

- คุณภาพใกล้เคียงกับกากถั่วเหลืองแต่ราคาถูกกว่า เมล็ดถั่วเหลืองมี
สารยับยัง้ เอนไซม์ไพรินมาก ก่อนนำมาใช้ต้องกำจัดโดยการทำให้
สุกด้วยวิธีต้ม นึง่ หรือคั่ว

กากถั่วลิสง

- กากถั่วลิสงเป็ นส่วนที่เหลือจากการสกัดน้ำมันเมล็ดถั่วลิสง ทั่วไปมี


2 แบบ ได้แก่
1. กากถั่วลิสงอัดน้ำมัน มีไขมันเหลืออยู่ประมาณ 6% เก็บได้ไม่
นาน
2. กากถั่วลิสงสกัดน้ำมัน มีไขมันเหลือ ประมาณ 1% เก็บได้นาน
กว่า มีปริมาณโปรตีนใกล้เคียงกับกากถั่วเหลือง แต่คุณภาพ
โปรตีนต่ำกว่า ขาดกรดอะมิโน Lysine และ Methionine กาก
ถั่วลิสงอาจมีเชื้อราที่ผลิต Alphatoxin ควรเลือกใช้กาก ถั่วลิสง
สกัดน้ำมัน เนื่องจากใช้ความร้อนในการผลิตสูงกว่า ทำให้สารยับ
ยัง้ ทริพซินถูกทำลายเหลืออยู่ในปริมาณต่ำกว่า

ใบกระถินป่ น
- มี S-carotene ในปริมาณมาก เป็ นแหล่งวิตามินเอ มีรงควัตถุแซน
โทฟิ ลล์ (Xanthophyll) เป็ นสารเร่งสี ช่วยให้ปลามีสส
ี ดใสขึน
้ มี
โปรตีนประมาณ 20% และเยื่อใยประมาณ 11% ปริมาณโปรตีน
อาจต่ำกว่านีเ้ นื่องจากการปลอมปนด้วยก้านหรือลำต้น ใบกระถิน
สดมีสารโมโมชั่น (Minosine) เป็ น อันตรายต่อปลา ลักษณะของใบ
กระถินป่ น มีลักษณะแห้ง สีเขียวสด มีกลิ่นเหม็นเขียวเล็กน้อย
ปริมาณการใช้ในอาหารปลาไม่ควรเกิน 15%

ส่าเหล้า

- ส่าเหล้าเป็ นของเหลือจากอุตสาหกรรมการผลิตสุรา เป็ นกากข้าว


เจ้าหรือข้าวเหนียวที่เหลือจากการกลั่นแอลกอฮอล์แล้ว มีโปรตีน
ประมาณ 20% แต่คณ
ุ ภาพของโปรตีนต่ำ เป็ นแหล่งของวิตามิน
และแร่ธาตุ นิยมใช้เพื่อลดปริมาณการใช้พรีมิกซ์ (Premix) ปริมาณ
การใช้ไม่ควรเกิน 5% และใช้กับปลาที่โตเท่านัน

วัตถุดิบอาหารสัตว์ประเภทพลังงานสูง ได้แก่

น้ำตาล กากน้ำตาล ไขมันต่าง ๆ ในการผลิตอาหารปลานิยมใช้ไข


มันเป็ นแหล่งของ พลังงานมากที่สุด น้ำมันที่นิยมใช้ในอาหารปลา
ได้แก่ น้ำมันจากสัตว์ทะเลทุกชนิด น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันรำ
น้ำมันข้าวโพด
การใช้น้ำมันในอาหารช่วยกระตุ้นความอยากกินอาหารของปลาให้
เพิ่มขึน
้ (วี รพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย, 2536)

วัตถุดิบอาหารสัตว์ประเภทวิตามินและแร่ธาตุ
รูปแบบที่นิยมใช้ในอาหารสัตว์น้ำ ได้แก่ พรีมิกซ์ ไดแคลเซียม
ฟอสเฟต และกระดูกปื น พรีมิกซ์ (Premix) หมายถึง หัววิตามินและแร่
ธาตุ รวมอยู่ในรูปวิตามินรวม และแร่ธาตุรวม ถูกทำลายได้ง่าย ด้วยแสง
อากาศ และความชื้น จึงควรเก็บพรีมิกซ์ในที่มืดและอุณหภูมิต่ำ วิตามิน
ถูกทำลายได้ง่ายเมื่ออยู่รวมกับแร่ธาตุ ดังนัน
้ จึงไม่ควรผสมวิตามินและแร่
ธาตุปนกันแล้วเก็บไว้ ควรที่จะแยกวิตามินและแร่ ธาตุออกจากกัน (วีร
พงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย, 2536)

ไดแคลเซียมฟอสเฟต เป็ นแหล่งของแคลเซียมและฟอสฟอรัส มี


แคลเซียมประมาณ 24% และ มีฟอสฟอรัสประมาณ 20% กระดูกป่ น มี
แคลเซียมประมาณ 24% และมีฟอสฟอรัสประมาณ 12%

วัตถุดิบอาหารสัตว์ประเภทกรดอะมิโนสังเคราะห์

มีคุณค่าทางโภชนาการเช่นเดียวกับกรดอะมิโนธรรมชาติ ใช้ในกรณี
ที่มีการเลือกใช้วัตถุดิบ อาหารสัตว์ที่มีกรดอะมิโนไม่ครบตามความ
ต้องการของปลา ส่วนประกอบอาหารที่ไม่ให้โภชนะ (Nonnutrient diet
components) ในอาหารสัตว์นอกจากโภชนะที่จำเป็ นหรือให้คุณค่าทาง
อาหารแล้ว ยังประกอบด้วยสาร อินทรีย์และสารอนินทรีย์ทัง้ ที่มี
ประโยชน์ด้านอื่น และสารไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ และอาจเป็ นอันตราย
สัตว์น้ำปนอยู่ด้วย สารเหล่านีไ้ ด้ทั่วไปในธรรมชาติ มีตัง้ ใจหรือไม่ตัง้ ใจ ใน
อาหาร หรือ เป็ นผลผลิตที่เกิดจากการทำปฏิกิริยาทางเคมีของสารเคมีใน
อาหาร หรือเป็ นผลผลิตของการเจริญเติบ โตของจุลินทรีย์

ฮอร์โมน (Hormones)
การใช้ฮอร์โมนในอาหารสัตว์เพื่อกระตุ้นการเจริญเติบโต
(Synthetic androgens and estrogens) และเพิ่มการผลิตน้ำนมใน
สัตว์บก (Somatotropin หรือ Growth hormone) มีการทดลอง ใช้
ฮอร์โมนในอาหารหลายชนิดเพื่อกระตุ้นการเจริญเติบโตของปลา เช่น
Growth hormone, Thyroid hormones, Insulin และ Sex steroids
ชนิดต่าง ๆ พบว่า Synthetic androgens สามารถส่งเสริมการ เจริญ
เติบโต ปรับปรุง FCR ในปลา Salmon แต่ในปลา Channel catfish
การใช้ Synthetic androgens ได้ผลในทางลบ

การใช้ฮอร์โมนประเภท Steroid เพื่อกระตุ้นการเจริญเติบโตเป็ น


ระยะเวลานานหรือใช้ Dose ที่สูง อาจมีผลกระทบข้างเคียง เช่น มีการ
พัฒนาของระบบสืบพันธุ์, การพัฒนาของกระดูกผิดปกติ, ติดเชื้อต่างๆ
ได้ง่าย, เนื้อเยื่อตับไต และกระเพาะอาหารผิดปกติ

การใช้ฮอร์โมนเพศ (Sex hormone) ในอาหาร มีการใช้ในการ


ควบคุมการพัฒนาระบบสืบพันธุ์ ในปลาบางชนิด เช่น ปลานิล เพื่อ
ควบคุมให้เกิด Monosex ทำให้สัตว์มีการพัฒนาเป็ นเพศผู้ทงั ้ หมด
เพื่อการเจริญเติบโตที่ดีขึน
้ ฮอร์โมนเพศ Androgenic steroids ที่ใช้ได้
แก่ Ethyltestosterone และ Methyltestosterone การเปลี่ยนเพศ
ปลานิลทำกันในหลายประเทศ แต่วิธีการให้ปลากิน Steroid เพื่อ
ควบคุมเพศยังไม่เป็ นที่ยอมรับในอเมริกา การทดลองในลูกปลา
Rainbow trout และ Atlantic salmon ที่เริ่มกินอาหารโดยให้กิน
ฮอร์โมน 17-3-methyltestosterone ความเข้มข้นต่ำเป็ นเวลา 3 เดือน
ปลาทัง้ หมดกลายเป็ นเพศผู้ ถ้าให้รอร์โมนเพศเมีย Ehtyinylestradiol,
Estrone, Diethystilbestrol ในลูกปลานิล
ยาปฏิชีวนะ(Antibiotics)

มีการใส่ Antibiotics ชนิดต่าง ๆ ในอาหารสัตว์เพื่อควบคุมการเกิด


โรค เช่น Sulfadimethoxine, Oxytetracycline ซึ่งยาทัง้ สองชนิดนีไ้ ด้
รับการยอมรับให้ใช้ใน USA โดยองค์การ อาหารและยา การใช้ยา
ปฏิชีวนะในอาหารต้องมีการควบคุมระยะเวลาในการใช้ และการหยุดใช้
ยา ก่อนการเก็บเกี่ยวผลผลิตเพื่อป้ องกันการตกค้างของยาในเนื้อเยื่อของ
ปลา ระยะเวลาหยุดการใช้ยา ก่อนเก็บเกี่ยวผลผลิตจะประมาณ 21 วัน

สารกระตุ้นภูมิคุ้มกัน (Immunostimulants)

สารช่วยกระตุ้นภูมิคุ้มกันที่ใช้จะอยู่ในกลุ่ม Nonspecific immune


responses สารที่มีการใช้ ในปลาได้แก่ Glucans, Chitin หรือ
Complex polysaccharides วิธีการใช้ โดยการฉีด การแช่ และ ผสม
อาหาร โดยมีรายงานสารกระตุ้นภูมิคุ้มกันช่วยเพิ่มความต้านทานการติด
เชื้อแบคทีเรียของปลาเรนโบว์เทราท์

สารกระตุ้นความอยากกินอาหาร (Attractants and feeding


stimulants)

สารที่ช่วยกระตุ้นความสนใจ และการอยากกินอาหาร
(Palatability) ของสัตว์น้ำ อาจมีหรือไม่มีคุณค่าทางอาหาร สารในกลุ่มนี ้
ได้แก่ Squid meal, Shrimp head meal หรือ สารสกัดต่าง ๆ ที่มี
รายงานว่าสามารถกระตุ้นการอยากกินอาหารของสัตว์เพิ่มขึน
้ โดยปกติ
อาหารที่ประกอบด้วยปลาป่ น จะกระตุ้นการอยากกินอาหารของปลาเพิ่ม
ขึน
้ สารเคมีบางชนิด เช่น Free amino acids, Betaine, Nucleic acid,
Inosine จะมีกลิ่นที่ดึงดูดความสนใจในการกินอาหารของปลา
ลักษณะสำคัญของสารที่กระตุ้นการอยากกินอาหารของสัตว์น้ำ คือ
มีน้ำหนักโมเลกุลต่ำ ส่วนประกอบในโมเลกุลมีไนโตรเจนไม่ระเหยแต่ละ
ลายน้ำได้ และมีคณ
ุ สมบัติเป็ นทัง้ กรดและด่าง (Carr, 1982) ปลากลุ่ม
Carnivorous จะตอบสนองต่อการกระตุ้นด้วยสารที่มีความเป็ นด่างและ
กลาง เช่น Glycine, Proline, Taurine, Valine และ Betaine ส่วน
ปลากลุ่ม Herbivorous ส่วนใหญ่ตอบสนองต่อ สารกระตุ้นที่มีความ
เป็ นกรด เช่น Aspartic acid และ Glutamic acid

สารป้ องกันการเหม็นหืน (Antioxidants)

สารป้ องกันการเหม็นหืน จะช่วยป้ องกันการเกิด Oxidation ของไข


มันในอาหาร ทำให้คณ
ุ ค่า ทางโภชนาการของไขมัน และวิตามินที่
สำคัญลดลง มีการใช้วิตามินอีหรือซีลิเนียมเพิ่มเพื่อช่วยลดการ เกิด
Oxidation ในไขมันเพิ่มในอาหารสัตว์ สาร Antioxidants ตามธรรมชาติ
ได้แก่ Ascorbic acid, a-Tocopherol แต่สารกลุ่มนีม
้ ีความ คงตัวไม่
นาน ส่วนใหญ่นิยมใช้สารสังเคราะห์ที่มีความคงตัวต่อความร้อนและแสง
สว่าง เช่น L- Ascorbyl-2-phosphate, a-Tocopherol acetate สาร
ป้ องกันการเหม็นหินสังเคราะห์ ได้แก่ BHA (Butylated
hydroxyanisole) และ BHT (Butylated hydroxytoluene),
Ethoxyquin (1,2-dihydro-B- ethoxy-2,2,4-trimethyl quinoline)
ปริมาณที่ใช้การป้ องกันการเหม็นหืนสังเคราะห์ในอาหารไม่ควรเกิน
0.02% สําหรับ BHA และ BHT และ 150 mg/kg สําหรับ Ethoxyquin

3. จงอธิบายเกี่ยวกับการคำนวณสูตรอาหารสัตว์น้ำ
การผลิตอาหารสัตว์น้ำ เป็ นการนำวัตถุดิบแต่ละชนิดที่มีคุณค่าทาง
อาหารแตกต่างกัน มาผสมกันในอัตราส่วนที่เหมาะสม เพื่อให้อาหารที่ได้
มีคุณค่าทางโภชนาการตามความต้องการของปลาหรือสัตว์

สิ่งที่ต้องทราบสำหรับการคำนวณสูตรอาหารสัตว์น้ำ

1. ความต้องการโภชนะชนิดต่าง ๆ ของปลาหรือสัตว์น้ำแต่ละชนิด
แต่ละช่วงการเจริญเติบโต

2. ส่วนประกอบทางโภชนะของวัตถุดิบชนิดต่าง ๆ ที่จะนำมา
ประกอบสูตรอาหาร หาได้จากตารางส่วนประกอบทางโภชนะของวัตถุดิบ
ต่าง ๆ จากเอกสารอ้างอิง หรือได้จากการวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ

3. รู้จักลักษณะทางกายภาพเคมี และชีวภาพของวัตถุดิบที่จะนำมา
ประกอบสูตรอาหาร

4. ราคาของวัตถุดิบที่ใช้ สำหรับเลือกใช้วัตถุดิบที่มีคุณภาพดี ราคา


ถูก เพื่อลดต้นทุนค่าอาหาร วิธีการคำนวณสูตรอาหารวิทยา หรือใช้
ประสบการณ์ 29°C

วิธีการคำนวณสูตรอาหาร

- วิธีลองผิดลองถูก ใช้ประสบการณ์
วิธีนีเ้ ป็ นวิธีคำนวณโดยการตัดสินใจหรือการเดาว่าจะใช้
วัตถุดิบอาหารสัตว์แต่ละชนิดใน ปริมาณเท่าใด แล้วคำนวณว่ามี
โภชนะตามที่ต้องการหรือไม่ ถ้าไม่พอดีต้องมีการปรับสูตรอาหาร
ใหม่ จนกว่าจะตรงตามความต้องการ การคำนวณโดยวิธีนีท
้ ำได้เร็ว
หรือไม่ขึน
้ กับประสบการณ์และความ ชำนาญในการคำนวณสูตร
์ ัก, 2540)
อาหาร (วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์ชัย, 2536, เวียง เชื้อโพธิห

ตัวอย่าง ต้องการคำนวณอาหารที่มีโปรตีน 40% โดยใช้ปลาป่ นที่มี


โปรตีน 60% ผสมกับรำที่มีโปรตีน 12%
ปลาป่ น 100 กก. ให้โปรตีน 60 กก.
รำ 100 กก. ให้โปรตีน 12 กก.
สมมติว่าใช้ปลาป่ น 60 กก. จะได้โปรตีน = (60/100)*60 =
36 กก.
รำ 40 กก. จะได้โปรตีน = (12/100)*40 = 4.8 กก.
จะได้โปรตีนรวม 40.8 กก
โปรตีนเกิน 0.8 กก.
ถ้า ปลาป่ น 1 กก. โปรตีนจะลดลง 0.6 กก.
ถ้าเพิ่ม 1 กก. โปรตีนจะเพิ่มขึน
้ 0.12 กก.
ดังนัน
้ ถ้าลดปลาป่ น 1 กก. แล้วเพิ่ม 1 กก. โปรตีนจะลดลง
0.48 กก.
จะต้องลดปลาป่ นและเพิ่ม = 0.80.48 = 1.6 กก.
ต้องใช้ปลาป่ น = 60-1.6 = 58.4 กก. จะได้โปรตีน =
(60/100)*58.4 = 35 กก.
ต้องใช้รําจํานวน = 40+1.6 = 41.6 กก.
จะได้โปรตีน = (12/100)*41.6 = 5 กก.
ตัวอย่าง
ต้องการคำนวณอาหารที่มีโปรตีน 25% โดยใช้ปลาป่ น กากถั่วลิสง
มันเส้น และพรีมิกซ์ เป็ นส่วนผสม กำหนดให้ปริมาณโปรตีนของปลาป่ น
กากถั่วลิสง และมันเส้น มีค่าเป็ น 60, 45, 12 และ 2% ตามลำดับ ใช้ฟรี
มิกซ์ 1% ในสูตรอาหาร

สมมติว่าใช้ ปลาป่ น 15 กก.


กากถั่วลิสง 25 กก.
รำ 30 กก.
มันเส้น 29 กก.
พรีมิกซ์ 1 กก.
รวม 100 กก.
ตรวจสอบปริมาณโปรตีนในปลาป่ น = (60/100)*15 = 19 กก.
กากถั่วลิสง = (25/100)*25 = 11.25 กก.
รำ = (12/100)*30 = 3.6 กก.
มันเส้น = (2/100)*29 = 0.58 กก.
โปรตีนรวม = 24.43 กก.
ต้องการโปรตีนเพิ่ม 25-24.43 = 0.57 กก.
ถ้าเพิ่มปลาป่ น 1 กก. จะได้โปรตีนเพิ่ม 0.6 กก.
ถ้าลดรำ 1 กก. โปรตีนจะลดลง 0.12
ดังนัน
้ ถ้าเพิ่มปลาป่ น 1 กก. แล้วลดรำลง 1 กก. จะได้โปรตีนเพิ่ม
= 0.6-0.12 = 0.48 กก.
จะต้องเพิ่มปลาป่ นเป็ นจำนวน 0.57 /0.48 = 1.2 กก.
ดังนัน
้ ต้องใช้ปลาป่ น = 15+1.2 = 16.2 กก.
กากถั่วลิสง = 25 กก.
รำ = 30-1.2 28.8 กก.
มันเส้น = 29 กก.
ฟรีมิกซ์ = 1 กก.
รวม = 100 กก.
ตรวจสอบปริมาณโปรตีนในปลาป่ น= (60/100)*16.2 = 9.72
กก.
กากถั่วลิสง = (45/100)*25 = 11.25
กก.
รำ = (12/100)*28.8 = 3.46 กก.
มันเส้น = (2/100)*29 = 0.58 กก.
โปรตีนรวม = 25.01 กก.

โจทย์ ต้องการคำนวณอาหารที่มีโปรตีน 30% โดยใช้ปลาป่ นที่มีโปรตีน


55% ผสมกับกากถั่วเหลืองที่มี โปรตีน 38% และข้าวโพดที่มีโปรตีน 8%

วิธีการคำนวณโดยใช้สมการทางพีชคณิต
เป็ นวิธีคำนวณที่ใช้กับวัตถุดิบที่ต้องการหาปริมาณเพียง 2 ชนิด
โดยตัง้ สมการพีชคณิตจาก ปริมาณโภชนะที่มีอยู่ในวัตถุแต่ละชนิด ( เทา,
2540)
ตัวอย่าง ต้องการคำนวณอาหารที่มีโปรตีน 30% โดยใช้ปลาป่ นที่มี
โปรตีน 45% ผสมกับปลายข้าวที่มี โปรตีน 8%
x = ปริมาณปลาป่ นที่มีในอาหารผสม 100 กก.
y = ปริมาณปลายข้าวที่มีในอาหารผสม 100 กก.

x+ y = 100 (1)
( 45/ 100) x+( 8/ 100) y = 30
(2)

0. 45x 0. 08( 100- x) = 30


0. 45x 8- 0. 08x = 30
0.37x = 22
X = 59.5 กก.
Y = 100-59.5 = 40.5 กก
ตรวจสอบปริมาณโปรตีน (45/100)*59.5+(8/100)*40.5 =
30.0 กก.

โจทย์ ต้องการคำนวณอาหารที่มีโปรตีน 25% โดยใช้ปลาป่ น กากถั่วลิสง


รำ มันเส้น และพรีมิกซ์เป็ นส่วนผสม กำหนดให้ปริมาณโปรตีนของปลา
ป่ น กากถั่วลิสง รำ และมันเส้น มีค่าเป็ น 60, 45, 12 และ 2% ตาม
ลำดับ ใช้พรีมิกซ์ 2% ในสูตรอาหาร

วิธีการคำนวณโดยใช้สี่เหลี่ยมของเพียร์สัน
คำนวณโดยอาศัยรูปสี่เหลี่ยม (Pearson’s square) ใช้ได้เมื่อมี
วัตถุดิบอาหารสัตว์เพียงสองชนิด หรือสองกลุ่ม และปริมาณโภชนะที่
ต้องการคำนวณจะต้องเป็ นร้อยละเท่านัน
้ ปริมาณโภชนะที่ต้อง การต้อง
มีค่าอยู่ระหว่างปริมาณโภชนะที่มีอยู่ในวัตถุดิบทัง้ สองกลุ่ม วิธีการ
คำนวณ เขียนปริมาณโภชนะที่ต้องการหาเป็ นร้อยละไว้ตรงกึ่งกลางรูป
สี่เหลี่ยม เขียน ปริมาณโภชนะเป็ นร้อยละ ซึ่งมีในวัตถุดิบแต่ละชนิดที่
ต้องการใช้ ทัง้ สองชนิดหรือสองกลุ่ม ไว้ตรงมุม ซ้ายทัง้ บนและล่างของ
รูปสี่เหลี่ยม หาผลต่างระหว่างตัวเลขที่มุมซ้ายกับตัวเลขกึ่งกลางรูป
สี่เหลี่ยม แล้วใส่ผลต่างไว้ทางมุมขวาตามแนวเส้นทแยงมุม ของตัวเลขที่
ใช้หาผลต่าง ตัวเลขที่ได้ทางมุมขวา คือปริมาณหรือสัดส่วนของวัตถุดิบที่
อยู่ตรงกันตามแนวนอนของสี่เหลี่ยมนัน
้ เมื่อผสมวัตถุดิบทัง้ สองชนิดหรือ
สองกลุ่มตามสัดส่วนที่ได้ จะได้อาหารผสมที่มีปริมาณโภชนะตรงกับความ
ต้องการที่กำหนดไว้เป็ นร้อยละตรงกึ่งกลางรูปสี่เหลี่ยม (วีรพงศ์ วุฒิพันธุ์
ชัย, 2536)

ตัวอย่าง
ต้องการคำนวณอาหารที่มีโปรตีน 30% โดยใช้ปลาป่ นที่มีโปรตีน
45% ผสมกับปลายข้าวที่มี โปรตีน 8%

ส่วนผสมทัง้ หมดมี 37 ส่วน


ดังนัน
้ อาหารผสม 100 ส่วน
ประกอบด้วยปลาป่ น = (22*100)/37 = 59.5 ส่วน
ต้องใช้ปลายข้าว = (15*100)/37 = 40.5 ส่วน
ตรวจสอบปริมาณโปรตีน = [(45/100)*59.5]+
[(8/100)*40.5] = 30.0 กก.

ตัวอย่าง ต้องการคำนวณอาหารที่มีโปรตีน 25% โดยใช้ปลาป่ น กากถั่ว


ลิสง รำ มันเส้น และพรีมิกซ์ เป็ นส่วนผสม กำหนดให้ปริมาณ
โปรตีนของปลาป่ น กากถั่วลิสง รำ และมันเส้น มีค่าเป็ น 60, 45,
12 และ 2% ตามลำดับ ใช้พรีมิกซ์ 1% ในสูตรอาหาร

กำหนดปริมาณพรีมิกซ์ 1 กก. ในอาหาร 100 กก.


ปริมาณอาหารที่เหลือ = 99 กก. ในอาหาร 99 กก. ต้องมี
โปรตีน 25 กก.
ในอาหาร 100 กก. ต้องมีโปรตีน = (100*25)/99 = 25.25
กก.
แบ่งวัตถุดิบอาหารออกเป็ น 2 กลุ่มคือ กลุ่มโปรตีนสูง และ
กลุ่มโปรตีนต่ำ
กลุ่มโปรตีนสูง มี ปลาป่ น และ กากถั่วลิสง มีโปรตีนเฉลี่ย =
(60+45)/2 = 52.5%
กลุ่มโปรตีนต่ำ มี รำ และ มันเส้น มีโปรตีนเฉลี่ย = (12+2)/2
= 7%

ส่วนผสมทัง้ หมด = 18.25 27.25 = 45.5 ส่วน


อาหาร 99 ส่วนประกอบด้วยวัตถุดิบโปรตีนสูง = (18.25*99)/45.5 =
39.7 ส่วน
วัตถุดิบโปรตีนต่ำ = (27.25*99)/45.5 = 59.3 ส่วน
ตรวจสอบปริมาณโปรตีนในปลาป่ น =
(60/100)*(39.7/2) = 11.91 กก.
กากถั่วลิสง = (45/100)*(39.7/2) =
8.93 กก.
รำ = (12/100)*(59.3/2) = 3.56
กก.
มันเส้น = (2/100)*(59.3/2) =
0.59 กก.
โปรตีนรวม = 11.91 8.93 3.56 0.59
= 24.99 กก.
ดังนัน
้ ในอาหารต้องใช้ปลาป่ น และกากถั่วลิสง อย่างละ
19.85 กก.
ต้องใช้ รำ และมันเส้น อย่างละ 29.65 กก. และ พรี
มิกซ์ 1 กก.
รวม 100 กก

วิธีคำนวณโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
มีโปรแกรมสำหรับรูปที่สามารถใช้ในการคำนวณสูตรอาหารได้
หลายโปรแกรม ทัง้ โปรแกรมคำนวณ ที่ประยุกต์ใช้คำนวณสูตรอาหาร
และโปรแกรมสำหรับการคำนวณสูตรอาหารโดยเฉพาะ โปรแกรมกระ
ดาษอิเล็กทรอนิคส์ที่สามารถประยุกต์ใช้คำนวณสูตรอาหารได้คือ
โปรแกรม Micorsoft ExcelTM โดยสามารถคำนวณหาสูตรอาหารอย่าง
ง่าย เพื่อให้ได้สูตรอาหารตามต้องการ สำหรับการใช้โปรแกรมเฉพาะ
สำหรับคำนวณสูตรอาหารเพื่อให้ได้ต้นทุนอาหารที่ต่ำที่สุดจะใช้ วิธี
Least cost linear programming จะมีการตัง้ ค่าความต้องการโปรตีน
และพลังงานในอาหาร รวมทัง้ ปริมาณสูงสุด และต่ำสุดของวัตถุดิบอาหาร
ที่สัตว์สามารถนำอาหารไปใช้โดยไม่ทำให้เกิดอันตราย สมการสำหรับการ
คำนวณ Least cost linear programming ศึกษาเพิ่มเติมได้ที่ Gui
laume et al. (1999) โปรแกรมมีทัง้ ที่เป็ น Freeware และ Shareware
โดยโปรแกรมที่เป็ น Freeware ทำงานบน DOS ได้แก่ User-Friendly
Feed Formulation, Done Again (UFFDA) โดย University of
Georgia ในขณะที่โปรแกรมที่มีลิขสิทธิแ์ บบ Shareware โปรแกรมที่มี
์ ำงานบน Windows ได้แก่ FeedLIVETM ของ Live
ลิขสิทธิท
Informatics Co., Ltd, ประเทศไทย

You might also like