You are on page 1of 51

สัตว์นำ้ ที่สำคัญทำงเศรษฐกิจ

ชนิด และลักษณะสำคัญ
ประเภทของสัตว์นาํ : ปลา
ตามพจนานุกรมภาษาไทยฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525
ปลา เป็ นสัตว์เลือดเย็น มีกระดูกสันหลัง ร่างกายแบ่งเป็ นส่วนหัว ลําตัวและหาง
ส่วนใหญ่หายใจทางเหงือก มีครีบใช้ ช่วยในการเคลือนไหว บางชนิดมีเกร็ดแต่บาง
ชนิดไม่มเี กร็ด รูปร่าง ขนาดและพฤติกรรมแตกต่างกันมากมาย พบทังในทะเลและ
แหล่งนําจืด
ในทางมีนวิทยา ปลา จะหมายถึงสัตว์ทมีี กระดูกสันหลัง
Phylum Chordata
Subphylum Vertebrata
Class Pisces
ลักษณะสําคัญของปลา
เป็ นสัตว์เลือดเย็น (poikilothermal animals) คือ อุณหภูมขิ องเลือดในตัว
ปลาไม่คงทีแต่จะผันแปรไปได้ ง่ายตามการเปลียนแปลงของอุณหภูมสิ งแวดล้
ิ อม
เป็ นสัตว์ทหายใจด้
ี วยเหงือก (gill) ยกเว้ นกลุ่มปลามีปอดซึงสามารถดัดแปลง
อวัยวะบางส่วนมาทีหน้ าทีคล้ ายปอด
เป็ นสัตว์ทหากิี นและมีชีวติ อยู่ในนํา
เป็ นสัตว์มกี ระดูกสันหลังเช่นเดียวกับ กบ นก จระเข้ และเต่า
การมีกระดูกสันหลังเป็ นลักษณะทีแตกต่างกันระหว่างสัตว์ชันสูงกับสัตว์ชนตํ
ั า
lungfish
 ปลำเป็ นสัตว์ท่มี จี ำนวนชนิดมำกที่สดุ เมื่อ
เปรียบเทียบกับสัตว์ท่มี กี ระดูกสันหลังกลุ่ม สัตว์เลี้ยงลูก
อื่น ดังนี้ ด้ วยนม
9%
 ปลำ 23,250 ชนิด
 สัตว์ครึ่งบกครึ่งนำ้ 4,780 ชนิด นก ปลำ
19%
 สัตว์เลื้อยคลำน 7,870 ชนิด 46%

 นก 9,702 ชนิด สัตว์เลื้อยคลำ


 สัตว์เลี้ยงลูกด้ วยนม 4,675 ชนิด น
16%
สัตว์ครึ่ง
บกครึ่งนำ้
10%
ลักษณะสำคัญของปลำ (ต่อ)
 มีขำกรรไกรครบ (ทั้งขำกรรไกรบน และขำกรรไกรล่ำง) ยกเว้ นพวกปลำปำกกลม
 ลำตัวปกคลุมด้ วยเกล็ด ด้ วยเมือกหรือแผ่นกระดูก (สัตว์กลุ่มจระเข้ งู เต่ำ มีแผ่น
เกล็ด แต่เป็ นเกล็ดที่กำเนิดจำกเนื้อเยื่อปกคลุมร่ำงกำยต่ำงชั้นกัน และไม่มตี ่อม
เมือกมำกเหมือนปลำ)
 เคลื่อนไหวไปมำโดยอำศัยครีบและกล้ ำมเนื้อลำตัว
 มีหัวใจสองห้ อง (กุ้ง ปู ไม่มห
ี ัวใจที่แท้ จริง เป็ นแค่กำรพองตัวของเส้ นเลือด ไม่มี
กำรแบ่งห้ อง สำหรับกบ เขียด จระเข้ ถือว่ำมีหัวใจสำมห้ อง ลิง มนุษย์ มีหัวใจสี่
ห้ อง)
ปลาปากกลม
ปลาไหล

ปลาตูหนา
ปลาตูหนา
ลักษณะสำคัญของปลำ (ต่อ)
 ส่วนมำกปลำมีกำรผสมพันธุก์ น
ั ภำยนอกร่ำงกำย โดยที่ตวั เมียออกไข่มำก่อนแล้ วตัว
ผู้จึงฉีดนำ้ เชื้ออกมำผสมกับไข่ ไข่ท่ไี ด้ รับกำรผสมจะฟักเป็ นตัว แต่ปลำบำงชนิดมี
กำรผสมพันธุก์ นั ภำยในร่ำงกำยของตัวเมียเช่นเดียวกับกระดูกสันหลังชั้นสูงทั่วไป
เช่น ปลำฉลำม ปลำกระเบน ปลำเข็ม ปลำกินยุง แต่ตวั อ่อนเหล่ำนี้ไม่ได้ รับอำหำร
จำกแม่ทำงสำยสะดือเหมือนสัตว์เลี้ยงลูกด้ วยนม
 ลำตัวซีกซ้ ำยขวำเท่ำกัน (Bilateral symmetry) ยกเว้ นปลำบำงชนิดที่มกี ำร
เปลี่ยนรูปร่ำงให้ เหมำะสมกับสิ่งแวดล้ อมที่อำศัยอยู่ เช่น ในกลุ่มปลำลิ้นหมำ ปลำ
ลิ้นควำย และปลำซีกเดียว ที่มลี ักษณะสมมำตรแบบลำตัวซีกซ้ ำยและขวำเท่ำกันเมื่อ
ยังอยู่ในวัยอ่อน แต่พอเจริญวัยขึ้น ด้ วยพฤติกรรมหำกินตำมพื้นท้ องนำ้ ทำให้ ตำ
ข้ ำงหนึ่งเคลื่อนย้ ำยมำรวมกับอีกข้ ำงหนึ่งเพื่อสะดวกในกำรหำอำหำรและกำร
ดำรงชีวติ
ปลาซี กเดียว
การแบ่งจาพวกของปลา
จำแนกตำมแหล่งน้ำทีอ่ ยู่อำศัย
 ปลำนำ้ จืด (freshwater fish) เป็ นปลำที่อำศัยและดำรงชีวิตอยู่ในนำ้ ที่มีควำมเค็ม
ไม่เกิน 0.5 ppt เช่น ปลำตะเพียน ปลำช่อน ปลำไน ปลำบึก ปลำกรำย ปลำนิล
ปลำทับทิม และปลำสวำย เป็ นต้ น
 ปลำทะเล (marine fish) เป็ นปลำที่อำศัย ดำรงชีวิตอยู่ในนำ้ ที่มีควำมเค็ม ตั้งแต่ 30
ppt ขึ้นไป เช่น ปลำนกแก้ ว ปลำสลิดหิน ปลำทู ปลำอินทรี ปลำกะพงแดง ปลำเก๋ำ
ปลำกะรัง เป็ นต้ น
 ปลำนำ้ กร่อย (brackish water fish) เป็ นปลำที่อำศัย ดำรงชีวิตอยู่ในนำ้ ที่มีควำมเค็ม
ระหว่ำง 0.5 ppt และ 30 ppt เช่น ปลำกุเรำ ปลำกระบอก
 ปลำสองนำ้ (diadromous fish) คือ ปลำที่อำศัยอยู่ได้ ท้งั 2 นำ้ ซึ่งสำมำรถแยกเป็ น
2 กลุ่มย่อย คือ
 Catadromous fish เป็ นปลำสองนำ้ ที่วำงไข่ ในทะเลแต่อพยพไปเจริญเติบโตในนำ้ จืด
เช่น ปลำตูหนำ(Anguilla) เป็ นต้ น
 Anadromous fish เป็ นปลำสองนำ้ ที่วำงไข่ ในน้ำจืดแต่ อพยพไปเจริญเติบโตในทะเล
เช่น salmon lamprey และ ปลำตะลุมพุก เป็ นต้ น
ปลาตูหนา
ปลำ salmon

ปลำ lamprey
การแบ่งจาพวกของปลา
จำแนกตำมลักษณะของแหล่งอำศัย
 ปลำหน้ ำดิน (demersal fish) เป็ นปลำที่อำศัยและหำกินบนพื้นขอแหล่งนำ้
ต่ำงๆหรือ อยู่เหนือพื้นทะเลเล็กน้ อย เช่น ปลำบู่ ปลำดุก ปลำลิ้นหมำ ปลำเห็ดโคน
ปลำทรำยแดง และปลำสีกุน เป็ นต้ น
 ปลำผิวนำ้ (pelagic fish) เป็ นปลำที่อำศัยตั้งแต่ระดับผิวนำ้ ลงไปถึงระดับกลำง
นำ้ เช่นปลำเสือพ้ นนำ้ ปลำอินทรี ปลำทู และปลำโอ เป็ นต้ น
 ปลำที่อำศัยอยู่บริเวณผิวนำ้ ทะเลลึก (Oceanic fish) เช่น ปลำนกกระจอก
ปลำโอ ปลำกระโทงแทง เป็ นต้ น
 ปลำในบริเวณชำยฝั่ง (inshore fish) เช่น ปลำช่อนทะเล ปลำเก๋ำ ปลำกระทุง
เหว ปลำใบโพธิ์ ปลำกระตัก เป็ นต้ น
 ปลำทะเลลึก (deep-sea fish) เช่น ปลำอีโต้ มอญ ปลำทูน่ำ เป็ นต้ น
 ปลำในเขตนำ้ ขึ้นนำ้ ลง (intertidal fish) เช่น ปลำตีน ปลำกะรัง ปลำกระบอก
เป็ นต้ น
 ปลำในบริเวณปะกำรัง (coral-reef fish) เช่น ปลำกะรัง ปลำกะพง ปลำสลิดหิน
ปลำนกแก้ ว เป็ นต้ น
ปลำเศรษฐกิจ ทีส่ ำคัญ
 ปลำนำ้ จืด ปลาดุก

ปลาดุกอุย ปลาดุกด้าน (อุยป้าน ด้านแหลม)

ปลานิล  ปลำดุกบิ๊กอุย เป็ นปลำลูกผสมข้ ำม


พันธุร์ ะหว่ำงปลำดุกอุยเพศเมียและ
ปลำดุกเทศเพศผู้

ปลาทับทิม เป็ นปลาที่พฒั นาสายพันธุม์ าจาก


ปลานิล ที่มีการผสมข้ามสายพันธุ์กบั ปลานิล
แดงของต่างประเทศที่อยูใ่ นตระกูลเดียวกัน
ปลาช่อน ปลาสลิด

ปลาตะเพียน
ปลาสวาย ปลากราย ปลาเนื้ ออ่อน

ปลาบู่
ปลำเศรษฐกิจ ทีส่ ำคัญ
 ปลำทะเล

ปลาทู

ปลาลัง
ั้
้ ,ปลาทูสน
ปลาทู, ปลาทูเตีย
b Rastrelliger brachysoma

ปลาล ัง, ปลาทูล ัง,ปลาทูยาว


Rastrelliger kanagurta

ปลาทูปากจิง้ จก
Rastrelliger faughni
จุดบนหลังของปลาเมื่อมองจากแผ่นหลังของปลาทูและปลาลัง

ปลาทู ปลาลัง
ปลาทู ที่มาจากแหล่งจับแตกต่างกัน

ปลาทูอินเดีย ปลาทูแม่กลอง ปลาทูสตูล

ปลาทูระนอง ปลาทูนครศรีธรรมราช ปลาทูมาเลเซีย


ปลำเศรษฐกิจ ทีส่ ำคัญ

ปลาอินทรีย ์

ปลากระพงแดง
ปลาโอดา

ปลาสีกุน
ปลาเก๋า
ปลำเศรษฐกิจ ทีส่ ำคัญ
 นำ้ กร่ อย

ปลากระพงขาว

ปลากระบอก
ปลำดอลลี่ ปลำอะไร?
ประเด็นทีค่ วรรู้
 ปลำปักเป้ ำ ไม่ใช่สตั ว์นำ้ เป้ ำหมำย (non targeted species) แล่แล้ ว เนื้อขำว
ไม่มีกลิ่นคำว แปรรูปหริอทำอำหำรได้ หลำยชนิด
 แต่ปัญหำคือ บำงชนิดมีพิษ มีสำร tetrodotoxin ไม่สำมำรถสลำยด้ วยควำม
ร้ อน อำกำรหลังได้ รับพิษ ชำที่ริมฝี ปำก ลิ้น มือ หน้ ำ อำเจียน ปวดท้ อง หำยใจไม่
ออก หัวใจทำงำนผิดปกติ ตำย
 มีประกำศกระทรวงสำธำรณสุข ปี 2545 ห้ ำมผลิต นำเข้ ำ จำหน่ำยปลำปักเป้ ำทุก
ชนิด
 ผู้บริโภคมักไม่ทรำบข้ อมูลที่ถูกต้ องในกำรซื้อวัตถุดบ
ิ เนื้อปลำแล่ หรือเนื้อปลำแปร
รูป มีโอกำสที่จะกินปลำปักเป้ ำโดยไม่ร้ ตู วั ได้
ปลาปักเป้า :เรื่ องทีผ่ ้ บู ริโภครู้ น้้อ ภาพ: ผศ. ดร. อภิน้ัน้ท์ สุ รรณรักษ์
กล้ำมเนือ้ ปลำปักเป้ ำ ภาพ: ผศ. ดร. อภิน้ัน้ท์ สุ รรณรักษ์
ภาพ: ผศ. ดร. อภิน้ัน้ท์ สุ รรณรักษ์
ประเภทของสัตว์น้ำ : ตะพาบน้า
 ตะพาบน้ า
 ตะพำบนำ้ พบในนำ้ จืดอย่ำงเดียว ลำตัวประกอบด้ วยกระดองบนและกระดองล่ำง
ไม่มเี กล็ดห่อหุ้มเหมือนเต่ำ แต่มหี นังหุ้มแทน ตีนหน้ ำเป็ นแผ่นผังพืดกว้ ำง นิ้วตีน
ยำวมีเล็บเพียง 2-3 นิ้ว คอและขำหดได้ มดิ ในกระดอง อำหำรของตะพำบนำ้ คือ
กุ้ง ปลำสด และเนื้อสัตว์เน่ำเปื่ อย

 เต่า
 เต่ำทะเลที่พบในประเทศไทยมีท้งั หมด 5 ชนิด ได้ แก่ เต่ำมะเฟื อง เต่ำตนุ เต่ำกระ
เต่ำหญ้ ำ และเต่ำหัวฆ้ อน โดยกำรจำแนกเต่ำทะเลสำมำรถทำโดยพิจำรณำจำก
ลักษณะของกระดอง จำนวนเกล็ดบนกระดอง และจำนวนเกล็ดระหว่ำงจะงอยปำก
กับตำ
Soft shell

เต่า ตะพาบน้ า
นิยมเลี้ยงพันธุ์ไต้หวัน
กุ้ง
 กุ้งเป็ นสัตว์ไม่มกี ระดูกสันหลัง เป็ นกลุ่มที่มลี ำตัวและรยำงค์เป็ นข้ อปล้ อง
 ลักษณะของกุ้ง ลำตัวแบนข้ ำงแนวสันหลังโค้ งงอ มีเปลือกเป็ นสำรประกอบจำพวก
ไคติน (chitin) ห่อหุ้มตัว
 เปลือกหุ้มแยกออกเป็ น 2 ตอน คือตอนหน้ ำหุ้มหัวและอก (โดยทั่วไปแบ่ง
ออกเป็ น 3 ส่วน คือ ส่วนหัว(head) ส่วนอก (thorax) และลำตัว
(abdomen) แต่ปกติเรียกส่วนหัวและอกรวมๆว่ำ ส่วนหัวอก
(cephalothorax) ซึ่งไม่แยกเป็ นข้ อปล้ อง แต่ส่วนลำตัวแยกเป็ นปล้ องอย่ำง
ชัดเจน
 กุ้งจะเจริญเติบโตด้ วยกำรลอกครำบและสร้ ำงเปลือกใหม่ข้ น ึ มำแทนที่ (สำมำรถ
สร้ ำงรยำงค์ใหม่ข้ นึ มำทดแทนรยำงค์อนั เดิมที่สลัดทิ้งได้ หรือชำรุดขำดหำยไปได้ )
กุ้งเศรษฐกิจทีส่ ำคัญ
กุง้ กุลาดา หรื อ กุง้ ม้าลาย : Tiger prawn

กุง้ กุลาดา

กุง้ ขาว
กุง้ ก้ามกราม กุ้งขำวแปซิฟิก Pacific White Shrimp หรือ
White Leg Shrimp
กุง้ ก้ามกราม หรื อ กุง้ ก้ามคราม
Giant Freshwater Prawn
ปู
 ปูเป็ นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เป็ นกลุ่มที่มีลำตัวและรยำงค์เป็ นข้ อเป็ นปล้ อง
 ปูมีขำ 10 ขำ (5 คู่) เช่นเดียวกับ กุ้งก้ ำมกรำม จั๊กจั่นทะเล แมงดำทะเล ขำของปู
แบ่งเป็ นปล้ องๆ
 ปูท่วั โลกมีมำกกว่ำ 1,000 ชนิด ปูเกือบทุกชนิดอำศัยอยู่ในทะเล มีเพียงไม่ก่ชี นิดที่อำศัย
อยู่ในนำ้ จืด
 ปูมีจับปิ้ ง หรือ จะปิ้ ง ตะปิ้ ง หรือ ตับปิ้ ง ซึ่งเป็ นอวัยวะส่วนท้ อง มีลักษณะคล้ ำยแผ่น
กระเบื้องเรียงต่อกันอยู่ 7 แผ่น จับปิ้ งของปูเพศผู้มีขนำดเรียวเล็ก แต่ของเพศเมียมีขนำด
กลม กว้ ำงใหญ่เกือบเต็มส่วนอก
 เลือดของปูมีสฟี ้ ำ
 ปูสองกระดอง คือ ปูท่อี ยู่ในสภำพที่พร้ อมจะลอกครำบ กระดองใหม่จะเป็ นเยื่อบำงๆ ช่วง
นี้ปูจะมีเนื้อแน่นนิยมนำมำปรุงอำหำรพอๆกับไข่ปู (ในสหรัฐนิยมนำปูกระดองนิ่ม หรือปู
ที่ลอกครำบใหม่ๆมำปรุงเป็ นอำหำร เพรำะสำมำรถรับประทำนได้ ท้งั ตัว ปูสองกระดองที่
นิยมนำมำรับประทำน ได้ แก่ ปูม้ำ ปูทะเล สำหรับปูแสม ปูจำก นิยมนำมำคลุกเกลือหมัก
ดองเป็ นปูเค็ม)
 ปูท่นี ำมำทำอำหำรต้ องใช้ ปูสดหรือปูท่จี บ
ั มำได้ ใหม่ ถ้ ำจับมำขังนำนๆหรือตำยแล้ ว
จะมีเนื้อน้ อย เรียกว่ำ ปูโพรก เนื้อไม่แน่น นำ้ หนักเบำ

เพศผู ้ ไข่ปู

จับปิ้ ง

เพศเมีย
ธนาคารปู
ปูเศรษฐกิจทีส่ ำคัญ

ปูมา้ ปูทะเล หรือ ปูดา

ปูแสม
ปูนมิ่
แมงดำทะเล
 แมงดำทะเล (king crab , horseshoes crab) ซึ่งจัดเป็ นสัตว์ท่โี บรำณมำกกลุ่มหนึ่ง
ลักษณะลำตัวแบ่งออกเป็ น 2 ส่วน ส่วนหัวและอกเชื่อมรวมกัน และส่วนท้ อง
 แมงดำทะเลที่พบในประเทศไทยมีอยู่ 2 ชนิด คือ
 แมงดำจำน (Tachypleus gigas) เป็ นแมงดำขนำดใหญ่ ขนำดประมำณ 20 เซนติเมตร
หำงเป็ นสันแหลม มีรปู หน้ ำตัดของหำงเป็ นรูปสำมเหลี่ยม จึงมีช่ ือเรียกอีกอย่ำงว่ำ แมงดำ
หำงเหลี่ยม
 แมงดำถ้ วย (Carsinoscorpius rotundicauta) มีขนำดเล็กกว่ำแมงดำจำน ด้ ำนหลัง
ของหำงมนโค้ ง ภำพหน้ ำตัดของหำงจะกลม จึงเรียกว่ำ แมงดำหำงกลมบำงครั้ง แมงดำ
ถ้ วย จะถูกเรียกอีกอย่ำงว่ำ แมงดำไฟ หรือ เหรำ (อ่ำนว่ำ เห-รำ)
 แมงดำทะเลที่รับประทำนแล้ วอำจเป็ นพิษนั้นคือ แมงดำถ้ วย (พิษเดียวกับปลำปักเป้ ำ)
 มักเกิดพิษในช่วงเดือนธันวำคมถึงมีนำคม อำกำรท้ องเสีย หรือผู้รับประทำนจะมีอำกำรชำ
ที่ปำกและลิ้น หำยใจไม่ออก บำงรำยเสียชีวิต
แมงดาจาน แมงดาถ้วย
หอย
 หอยเป็ นสัตว์ไม่มกี ระดูกสันหลังจัดอยู่ในไฟลัมมอสลัสก้ ำ (Mollusca) ชนิดของ
หอยที่พบทั่วไปสำมำรถจำแนกได้ ตำมลักษณะรูปร่ำงของเปลือกและเท้ ำ
 Class Gastropoda เป็ นกลุ่มหอยฝำเดียว เปลือกมีช้ ินเดียว แต่มสี ่วนหัว มี
หนวดตำ เปลือกหักม้ วนขดเป็ นวง (coil) ได้ แก่ หอยฝำเดียว (หอยกำบเดี่ยว)
ชนิดต่ำงๆ เช่น หอยเป๋ ำฮื้อ
 Class Bivalvia (Pelecypoda) เป็ นหอยสองฝำหรือหอยกำบคู่ อำศัยอยู่ใน
ทะเล นำ้ กร่อย นำ้ จืด เช่น หอยแครง (cockle) หอยลำย (baby clam)
หอยแมลงภู่ (green mussel) หอยนำงรม (oyster) หอยพัด (scallops)
และหอยมือเสือ (Tridacna gigas) (หอยสองฝำที่ใหญ่ท่สี ดุ มีนำ้ หนักมำกกว่ำ
200 กิโลกรัม) และหอยมุก เป็ นต้ น
 เลือดของหอยฝำเดียวและสองฝำมีสำรจำพวกฮีโมไซยำนิน ยกเว้ นเลือดของ
หอยแครง (Arca sp.) มีสำรจำพวกฮีโมโกลบิน
หอยเศรษฐกิจทีส่ ำคัญ
หอยแครง หอยนางรมกรามใหญ่

หอยนางรม หอยนางรมกรามเล็ก
เพศเมีย

หอยแมลงภู่ เพศผู ้

หอยเป๋ าฮื้ อ

หอยลาย
หอยแครง

หอยคราง
มุก เกิดจากอะไร ?
 เมื่อมีเศษวัตถุ (สิ่งแปลกปลอม) หลุดเข้ ำไปอยู่ในช่องว่ำงระหว่ำงเปลือกกับเยื่อ
แมนเทิล เยื่อแมนเทิลจะขับชั้นมุก (nacreous layer) ออกมำหุ้มวัตถุดงั กล่ำวไว้
เพื่อไม่ให้ เกิดกำรระคำยเคือง เมื่อมีขนำดใหญ่ข้ นึ จะทำให้ เกิดเม็ดมุก (pearl)
ขึ้นมำได้ ถ้ ำวัตถุหลุดเข้ ำไปติดแน่นอยู่กบั เปลือกจะได้ มุกซีก แต่ถ้ำวัตถุน้นั กลิ้งไป
มำกได้ จะได้ มุกกลม ซึ่งมีรำคำสูงกว่ำมุกซีก
 มุกเกิดได้ กบ ั หอยสองฝำแทบทุกชนิด แต่หอยสกุล Pinctada จะสร้ ำงเม็ดมุกที่มี
ขนำดใหญ่
 ปัจจุบนั เกิดเป็ นธุรกิจกำรเพำะเลี้ยงหอยมุกนำ้ จืดและทะเล โดยนำเอำชิ้นของเยื่อ
แมนเทิลจำกหอยมุก หรือเปลือกชั้นเนเครียสชิ้นเล็กๆ ใส่ไปในช่องว่ำงระหว่ำง
เปลือกกับแมนเทิลเป็ นนิวเคลียสให้ หอยสร้ ำงมุก ซึ่งใช้ เวลำเลี้ยงประมำณ 1 ปี จึง
ย้ ำยไปใส่ในหอยมุกขนำดใหญ่ข้ นึ เพื่อให้ หอยสร้ ำงมุกมำหุ้ม โดยใช้ เวลำไม่ต่ำกว่ำ 3
ปี ในกำรเลี้ยงจนได้ เม็ดมุกขนำดใหญ่
หมึก
 หมึกเป็ นสัตว์ไม่มกี ระดูกสันหลังจัดอยู่ในไฟลัมมอลลัสก้ ำ (Mollusca) เป็ นกลุ่ม
สัตว์ท่วี ่องไว ว่ำยนำ้ ได้ ดี มีหนวดรอบปำก มีท่อนำ้ ระบบประสำทเจริญดี มีตำขนำด
ใหญ่รับภำพได้
 ภำยในลำตัวของหมึกจะมีโครงสร้ ำงของแข็ง เรียกว่ำ กระดองหมึก หมึกแต่ ละชนิด
จะมีลักษณะของกระดองหมึกต่ำงกัน หมึกกล้ วยเป็ นแผ่นใสคล้ ำยพลำสติก เป็ น
สำรประกอบพวกไคติน ของหมึกกระดองเป็ นแผ่นแข็งสีขำวขุ่น เป็ นสำรประกอบ
พวกหินปูน เรียกว่ำ ลิ้นทะเล
หมึกเศรษฐกิจทีส่ ำคัญ
 หมึกกล้ วย (squid : Loligo sp.) รูปร่ ำงทรงกระบอก (torpedo shape) มี
หนวด 10 เส้ น โครงร่ำงภำยในเป็ นเพน (pen) มีครีบรูปสำมเหลี่ยมอยู่ส่วนท้ ำย
ของลำตัว
 หมึกหอม (cuttle fish squid : Sepioteuthis sp. ) ลำตัวรูปไข่มห ี นวด 10
เส้ น โครงร่ำงภำยในเป็ นเพน ครีบยำวตลอดด้ ำนข้ ำงตัว และเชื่อมต่อกันด้ ำนท้ ำย
 หมึกกระดอง (cuttle fish : Sepia sp.) ลำตัวรูปไข่ มีหนวด 10 เส้ น โครงร่ ำง
ภำยในเป็ น cuttle bone ครีบยำวตลอดด้ ำนข้ ำงแต่ไม่เชื่อมต่อกันตอนท้ ำยตัว
จึงเป็ นรูปตัวยูหัวกลับอยู่ตอนท้ ำยตัว ส่วนท้ ำยของลำตัวมีหนำมแหลมที่เป็ นส่วน
ปลำยของลิ้นทะเลที่ย่นื ออกมำ
 หมึกยักษ์ หมึกสำย (octopus : Octopus sp.) ลำตัวเป็ นถุง มีหนวด 8 เส้ น
ไม่มโี ครงร่ำงภำยใน ไม่มคี รีบ
หมึกกล้วย หมึกหอม
หมึกสาย

หมึกกระดอง
หมึกสำยวงน้ำเงิน (บลูรงิ ) ซอันตรำยถึงชีวติ
 หมึกสำยวงนำ้ เงิน
หรือ หมึกบลูริง
(Blue-ringed
octopus) เป็ น
หมึกยักษ์จำพวก
หนึ่ง แต่มีขนำดเล็ก
มำก โดยตัวเต็มวัย
มีขนำดลำตัวเพียง
4-5 เซนติเมตร มี
8 หนวด แต่ละ มีสารพิษTetrodotoxin ถูกสร้างจากเชือ้ แบคทีเรีย
หนวดยำวประมำณ
บางชนิดทีอ่ าศัยอยูก่ บั ตัวหมึกบลูรงิ แบบพึง่ พา
15-20 เซนติเมตร
(symbiosis)
กำรบ้ำน ให้เลือกทำ วิธที ี่ 1 หรือ 2 เพียง 1 วิธเี ท่ำนัน้
 1. สินค้ ำสัตว์นำ้ ในตลำด  2. กำรรับประทำนสัตว์นำ้
 ถ่ำยรูปท่ำน(เซลฟี่ ) กับสัตว์นำ้ นั้น (ให้ ภำพท่ำน  ถ่ำยรูปท่ำน(เซลฟี่ ) กับอำหำรที่มีสตั ว์นำ้ (ให้ ภำพ
และสัตว์นำ้ อยู่ในรูปเดียวกัน) ท่ำนและอำหำรอยู่ในรูปเดียวกัน)
 ระบุช่ ือประเภทหรือกลุ่มของสัตว์นำ้ และระบุช่ ือ  ระบุช่ ือประเภทหรือกลุ่มของสัตว์นำ้ และระบุช่ ือ
ชนิดสัตว์นำ้ ชนิดสัตว์นำ้
 ระบุรูปแบบกำรจำหน่ำย เช่น สด แช่แข็ง แปรรูป  ระบุรูปแบบวัตถุดิบที่นำมำประกอบอำหำรว่ำเป็ น
นึ่ง ตำกแห้ ง หมักดอง ฯ แบบไหน เช่น สด แปรรูป หมักดอง ฯ
 ระบุช่ ือสถำนที่ เช่น ตลำดนัดท ซุปเปอร์มำเก็ตอะ  ระบุช่ ือเมนูอำหำร
ตลำดสด ร้ ำนสะดวกซื้อ ระบุช่ือ และที่ต้ัง

 ระบุวัน เดือน ปี ที่ทำกำรถ่ำยรูป


 นำภำพที่ถ่ำย วำงใน file word หรือไฟล์อ่น
ื ๆ พร้ อมเขียนหรือพิมพ์คำอธิบำย และระบุช่ือ สกุล เลข
ประจำตัว
 ส่งเข้ ำ email nong-36@hotmail.com (ในอีเมล์หน้ ำเลข 36 เป็ นขีดกลำงนะครับ)
 กำหนดส่ง ภำยในวันวันที่ 26 กรกฎำคม 2565
 ตัวอย่ำงกำรตั้งชื่อ file และชื่อ email : การบ้าน-01299201-รหัสนิสิต-ชื่อนิสิต
ตัวอย่ำง 1 ตัวอย่ำง 2

You might also like