You are on page 1of 2

มวนเขียวดูดไข่ ด้วงเต่า ด้วงดิน ตัวเบียนและตัวห�ำ้ เพลีย้ กระโดด

มวนเขียวดูดไข่ เป็นตัวห�้ำดูดกินไข่เพลี้ยกระโดดสี ด้วงเต่า เป็นตัวห�้ำกินเหยื่อทั้งตัวอ่อน เป็นตัวห�้ำ จับเหยื่อกินทั้งตัวอ่อนและตัวเต็มวัยของ เป็นทัง้ ตัวห�ำ้ และตัวเบียน ของเพลีย้ กระโดดสีนำ�้ ตาล
น�้ำตาลที่ส�ำคัญมาก จะดูดกินไข่เพลี้ยกระโดดสีน�้ำตาลและ และตัวเต็มวัยของเพลีย้ กระโดดสีนำ�้ ตาล เพลีย้ เพลีย้ กระโดดสีนำ�้ ตาล เพลีย้ จักจัน่ หนอนและดักแด้ของผีเสือ้ และเพลี้ยกระโดดหลังขาว พบทั่วไปบนต้นข้าว เป็นแมลงที่มี
เพลีย้ จักจัน่ ท�ำให้ไข่ฝอ่ พบทัว่ ไปในนาข้าวโดยเฉพาะภาคกลาง จักจัน่ ไข่ของหนอนห่อใบข้าวหนอนกอข้าว หนอน กินใบข้าว หนอนและดักแด้ของแมลงบั่ว พบได้ตามต้นข้าว ความว่องไว เพศเมียจะวางไข่ในตัวของเพลี้ยกระโดดฯ ตัว
และจะอพยพเข้ามาในนาพร้อมกับเพลีย้ กระโดดสีนำ�้ ตาล หาก ผีเสื้อกินใบข้าวและดักแด้หนอนผีเสื้อกินใบ เพื่อหาเหยื่อ หนอนจะเจริญอยู่ภายในตัวเพลี้ยกระโดดฯ ท�ำให้เกิดเป็นถุง
มีมากในนาจะสามารถควบคุมเพลี้ยฯ ได้ โป่งข้างล�ำตัว และตายในที่สุด

มวนดูดไข่ ด้วงก้นกระดก แมลงปอ แตนเบียนหนอนห่อใบข้าว


มวนดูดไข่ ลักษณะใกล้เคียงกับ เป็นตัวห�ำ้ จับเหยือ่ กินทัง้ ตัวอ่อนและ เป็นตัวห�้ำ พบทั่วไปในนาข้าว บิน เป็นตัวเบียน หนอนห่อใบข้าว เป็นแตนเบียนมีความ
มวนเขียวดูดไข่แต่มีปีกสีน�้ำตาลและเพลี้ย ตัวเต็มวัยของเพลีย้ กระโดดสีนำ�้ ตาล เพลีย้ จัด โฉบจับเหยื่อกินเป็นอาหาร เช่น ผีเสื้อ ส�ำคัญในการลดปริมาณลงของหนอนห่อใบข้าว เพศเมียมี
จักจั่นพบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือและ จั่น หนอนและดักแด้ของผีเสื้อกินใบข้าวและ หนอนกอข้าว ผีเสือ้ หนอนห่อใบข้าวและศัตรู อวัยวะวางไข่มลี กั ษณะเป็นเข็มยาวโดยจะแทง ทะลุและวางไข่
ภาคกลาง ในภาคกลางจะพบน้อยกว่าเมื่อ ไข่ของหนอนกอ พบทัว่ ไปในนาข้าวเวลาวิง่ จะ ข้าวอืน่ ๆ สามารถพบได้ตงั้ แต่ ข้าวอายุนอ้ ย ในตัวหนอนห่อใบข้าว ไข่ของแตนเบียนจะฟักและเจริญเติบโต
เทียบกับมวนเขียวดูดไข่ ยกปลายท้องตั้งขึ้นคล้ายแมงป่องจึงเรียกว่า จนถึงข้าวอายุเก็บเกี่ยว ที่พบในนาข้าวมี 2 ภายในตัวหนอน ท�ำให้ตัวหนอนห่อใบข้าวตายในที่สุด
“ด้วงก้นกระดก” ชนิด คือ แมลงปอบ้าน และแมลงปอเข็ม
สิ่งมีชีวิตอื่นๆ แมลงที่เป็นมิตรแท้....ของชาวนา
ทีเ่ ป็นประโยชน์นอกเหนือจากแมลง แมลงตัวห�้ำ ช่วยปกป้องต้นข้าวโดยกัดกินเหยื่อทั้ง
คือ แมงมุม และเชื้อจุลินทรีย์บางชนิด เช่น ตัวท�ำให้แมลงศัตรูข้าวตายทันที เช่น ด้วงดิน ตั๊กแตนต�ำข้าว

มิตรแท้
เชื้อราบิวเวอร์เรีย ฯลฯ แมลงปอ แมลงหางหนีบ ฯลฯ และแมลงที่แทงดูดเหยื่อ เช่น
มวนเพชฌฆาต มวนพิฆาต ฯลฯ
แมลงตัวเบียน ช่วยรักษาต้นข้าวโดยการอาศัยและ

ของชาวนา
หากินอยูก่ บั เหยือ่ ทัง้ ภายนอกและภายในตัวเหยือ่ ท�ำให้เหยือ่
อ่อนแอและตายในที่สุด เช่น แตนเบียนไข่ แมลงเบียนตัว
หนอน แมลงเบียนดักแด้ และแมลงเบียนตัวเต็มวัยต่างๆ
แมงมุมเขี้ยวยาว
เป็นตัวห�้ำ พบในนาข้าว 6 ชนิด ลักษณะ
ล�ำตัวและขาจะยาวกว่าแมงมุมชนิดอื่น ปกติจะพบ เชื้อราบิวเวอร์เรีย
เกาะทาบไปตามใบข้าวและชักใยดักจับเหยือ่ ทีบ่ นิ เข้า
มา เช่น เพลี้ยกระโดดสีน�้ำตาล ผีเสื้อหนอนห่อใบ เป็นเชื้อราขาวที่ท�ำให้เกิดโรคของ
ข้าว ฯลฯ สมามารถพบแมงมุมชนิดนี้ ตั้งแต่ข้าวยัง แมลง โดยสปอร์ของเชือ้ ราจะสร้างเส้นใยแทง
เล็กจนถึงระยะเก็บเกี่ยว ทะลุผ่านล�ำตัวแล้วสร้างสารพิษท�ำลายแมลง
ท�ำให้แมลงป่วยไม่เกินอาหารแล้วตายในที่สุด
แมลงที่ถูกเชื้อราบิวเวอร์เรียท�ำลายจะตาย
ภายใน 3-5 วันแมลงที่ตายจะมีลักษณะแห้ง
มีสปอร์สีขาวปกคลุกทั่วตัวสามารถใช้ก�ำจัด
เพลี้ยกระโดดสีน�้ำตาล แมลงด�ำหนาม ฯลฯ
แมงมุมสุนัขป่า
เป็นตัวห�้ำ ตัวเต็มวัยจะมีสีน�้ำตาลอ่อน ผลิตและเผยแพร่ ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม
ถึงด�ำ ไม่ชักใยจับเหยื่อ คอยจับเหยื่อบริเวณโคน โครงการการพัฒนาศูนย์บริการวิชาการ จัดท�ำโดย : ส�ำนักส่งเสริมการผลิตข้าว
ต้นข้าวสามารถวิ่งไปมาบนผิวน�้ำได้อย่างรวดเร็ว เพลี้ยกระโดดสีน�้ำตาล ปี 2556 ส�ำนักส่งเสริมการผลิตข้าว กรมการข้าว ศูนย์วิจัยข้าว ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าว
ชอบกินตัวเต็มวัยของเพลีย้ กระโดดสีนำ�้ ตาล เพลีย้ ส�ำนักส่งเสริมการผลิตข้าว กรมการข้าว รวบรวมและเรียบเรียงโดย : ศูนย์บริการชาวนาใกล้บ้านท่าน โทร. 02-561-3962
จักจั่น ผีเสื้อหนอนกอข้าว ฯลฯ การใช้สารเคมี ข้อมูลและภาพประกอบ พรศิริ เสนากัสป์ นักวิชาการเกษตรช�ำนาญการพิเศษ www.ricethailand.go.th
ชนิดเม็ดจะเป็นอันตรายต่อแมงมุมชนิดนี้ ส�ำนักวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว วันทนา ศรีรัตนศักดิ์ นักกีฏวิทยาช�ำนาญการพิเศษ เอกสารเผยแพร่ : สสข. 2557-05-064

You might also like