You are on page 1of 129

10307 P.1-18.

indd 1 10/8/2562 BE 17:03


จัดพิมพโดย สวนความหลากหลายทางชีวภาพ
สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช
กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช

ที่ปรึกษา นายธัญญา เนติธรรมกุล อธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช


นายประกิต วงศศรีวัฒนกุล รองอธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช
นายธัญนรินทร ณ นคร ผูอํานวยการสํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช
นายมนัส รวดเร็ว ผูอํานวยการสวนความหลากหลายทางชีวภาพ

ขอมูล/ นายมานพ ผูพัฒน


ภาพถาย

ปก/รูปเลม นางสาวจันจิรา อายะวงศ


นางสาวณัฐพร ชนาธิปกุล

พิมพครั้งที่ 2 30 กันยายน 2562

ISBN 978-616-316-538-1

พิมพที่ หางหุนสวนจํากัด เอ็น.พี.จี. เอ็นเตอรไพรส


67 ถนนเจริญนคร 10 แขวงคลองตนไทร เขตคลองสาน
กรุงเทพฯ 10600

10307 P.1-18.indd 2 10/8/2562 BE 17:03


คํานํา
ประเทศไทยมีพืชตางถิ่น (alien plants) ประมาณ 1,500 ชนิด สวนใหญพืชเหลานี้
แพรกระจายเขาสูประเทศไทยดวยความตั้งใจนําเขามาปลูกเปนไมประดับหรือพืชเกษตร
บางชนิดเขามาดวยความรูเทาไมถึงการณจากการคมนาคมขนสงสินคาไปทั่วโลก หรืออาจแพร
กระจายเขามาตามธรรมชาติจากประเทศเพื่อนบาน ในจํานวนนี้พืชตางถิ่นกวา 200 ชนิด
มีการปรับตัวไดดใี นสภาพแวดลอมของประเทศไทยจนกลายเปนพืชตางถิน่ รุกราน (invasive plant)
และมีการแพรระบาดไปทั่วประเทศ รวมทั้งในพื้นที่ปาอนุรักษ พืชเหลานี้มีการคุกคามตอความ
หลากหลายทางชีวภาพ กอใหเกิดความเสือ่ มโทรมของระบบนิเวศปาไม และทําใหเกิดความสูญเสีย
ทางเศรษฐกิจตามมา ซึ่งสถานการณดังกลาวนี้ควรตองมีมาตรการจัดการ ปองกัน และควบคุม
สํานักวิจยั การอนุรกั ษปา ไมและพันธุพ ชื มีภารกิจหนึง่ ในการศึกษาวิจยั พืชตางถิน่ รุกราน
จึงเห็นความจําเปนอยางยิ่งที่จะประชาสัมพันธเผยแพรใหบุคคลทั่วไปและเจาหนาที่เขาใจ และ
รูจ กั ชนิดพันธุพ ชื ตางถิน่ รุกรานมากยิง่ ขึน้ หนังสือ “พืชตางถิน่ รุกรานในพืน้ ทีป่ า อนุรกั ษ” ฉบับนี้
จัดทําขึน้ เพือ่ รวบรวม นําเสนอขอมูลของชนิดพันธุพ ชื ตางถิน่ รุกรานทีส่ าํ คัญ และมีการแพรระบาด
ในพื้นที่ปาอนุรักษของประเทศไทย จํานวน 95 ชนิด (ซึ่งอาจพบไดมากกวานี้) ขอมูลสวนหนึ่ง
มาจากโครงการสํารวจ และวิจัยพืชตางถิ่นรุกรานในกลุมปาแกงกระจาน และบางสวนมาจาก
การตรวจเอกสารเพิ่มเติม รวมกับประสบการณของผูเรียบเรียงที่ไดพบเห็นพืชตางถิ่นรุกรานใน
พื้นที่ปาอนุรักษของประเทศ นํามารวบรวมประเมินสถานภาพของชนิดพันธุพืชตางถิ่นรุกราน
ตามเกณฑของสํานักงานนโยบาย และแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เนื้อหาในฉบับนี้
จัดแสดงชนิดพืชตามลําดับชือ่ วงศ (family) และชือ่ พฤกษศาสตร (botanical name) เพือ่ สะดวก
ตอการทําความเขาใจกลุม พืชทีม่ หี นาตาคลายคลึงกันตามสายวิวฒ ั นาการ และงายตอการจําแนก
มีการแสดงขอมูลสถานภาพหรือระดับของการระบาดหรือความรุนแรงของพฤติกรรมรุกราน คือ
1) ระบาดมาก 2) ระบาดปานกลาง และ 3) ระบาดนอย มีขอมูลคําบรรยายลักษณะเดน
จุดสําคัญที่ใชจําแนกชนิดออกจากชนิดพืชที่มีหนาตาใกลเคียงกันพรอมแสดงภาพถายประกอบ
นอกจากนีย้ งั มีขอ มูลวิสยั และถิน่ กําเนิดเดิมดวย ซึง่ จะเปนประโยชนตอ เจาหนาที่ หรือผูส นใจทัว่ ไป
ในการศึกษาเบือ้ งตนจากการเทียบรูปภาพประกอบคําบรรยาย แลวนําชือ่ พฤกษศาสตรไปคนควา
ตอดวยตัวเอง
สํานักวิจยั การอนุรกั ษปา ไมและพันธุพ ชื หวังเปนอยางยิง่ วาผูอ า นจะชวยกันประชาสัมพันธ
ความรูดังกลาว รวมถึงความรวมมือในการปองกันหรือกําจัดพืชตางถิ่นรุกรานเหลานี้ เพื่อเปน
การปองกัน และบรรเทาความเสียหายตอระบบนิเวศธรรมชาติที่อาจจะลุกลามไปมากกวานี้
จนยากที่จะควบคุมได

สํานักวิจัยการอนุรักษปาไมและพันธุพืช
กันยายน 2562

10307 P.1-18.indd 3 10/8/2562 BE 17:03


บัวตอง Tithonia diversifolia (Hemsl.) A. Gray วงศ ASTERACEAE

10307 P.1-18.indd 4 10/8/2562 BE 17:03


สารบัญ
หนา
คํานํา 3
บทนํา 7
ชนิดพันธุตางถิ่นคืออะไร 7
ผลกระทบ 8
การตรวจสอบสถานภาพพืชตางถิ่น 8
สถานการณของพืชตางถิ่นรุกรานในพื้นที่ปาอนุรักษ 12
ขอเสนอแนะสําหรับการจัดการพืชตางถิ่นรุกรานในพื้นที่ปาอนุรักษ 15
พืชตางถิ่นรุกรานในพื้นที่ปาอนุรักษ ๙๕ ชนิด 19
เอกสารอางอิง 115
ดรรชนีชื่อราชการ 116
ดรรชนีชื่อพฤกษศาสตร 118
ภาคผนวก 121

10307 P.1-18.indd 5 10/8/2562 BE 17:04


ดอกคําใต Acacia farnesciana (L.) Willd.
วงศ FABACEAE

10307 P.1-18.indd 6 10/8/2562 BE 17:04


บทนํา

ชนิดพันธุต‹างถิ่น คืออะไร
ชนิดพันธุตางถิ่น (Exotic species หรือ alien species)
หมายถึงชนิดพันธุสิ่งมีชีวิตที่ไมเคยปรากฏในถิ่นชีวภูมิศาสตรหนึ่งมากอน
แตไดถกู นําเขามาหรือเขามาโดยวิธใี ดๆ จากถิน่ อืน่ ซึง่ อาจดํารงชีวติ อยู และสามารถ
สืบพันธุไ ดหรือไมนนั้ ขึน้ อยูก บั ความเหมาะสมของปจจัยแวดลอม และการปรับตัว
ของชนิดพันธุนั้น

ชนิดพันธุตางถิ่นรุกราน (Invasive species หรือ invasive alien species)


หมายถึง ชนิดพันธุตางถิ่นที่เขามาแลวสามารถตั้งถิ่นฐานและมีการแพร
กระจายไดในธรรมชาติ เปนชนิดพันธุเดนในสิ่งแวดลอมใหม และเปนชนิดพันธุ
ที่อาจทําใหชนิดพันธุทองถิ่นหรือชนิดพันธุพื้นเมือง (native species) สูญพันธุ
รวมไปถึงสงผลคุกคามตอความหลากหลายทางชีวภาพและกอใหเกิดความสูญเสีย
ทางสิ่งแวดลอมเศรษฐกิจ และสุขอนามัย ปจจุบันประเทศไทยมีชนิดพันธุตางถิ่น
มากกวา 3,500 ชนิด และเพิม่ ขึน้ อยูต ลอดเวลา สวนใหญถกู นําเขามาเพือ่ ใชทาง
การเกษตร การเพาะเลี้ยงเปนสัตวเลี้ยง และไมดอกไมประดับ รวมทั้งการเก็บ
รวบรวมไว ในสวนสัตว และสวนพฤกษศาสตร บางชนิดมี ก ารแพรร ะบาด
ขามพรมแดนจากประเทศเพื่อนบานโดยธรรมชาติ หรือติดมากับยานพาหนะ
การเดินทาง การขนสงสินคา และการทองเทีย่ ว ชนิดพันธุต า งถิน่ บางชนิดสามารถ
ดํารงชีวิตไดในสภาพธรรมชาติ และกลายเปนพืชหรือสัตวที่มีความสําคัญทาง
เศรษฐกิจ เชน ปลานิล ยูคาลิปตัส มันสําปะหลัง บางชนิดเขามาแลวสามารถ
แพรกระจายไดดีในธรรมชาติ จนกลายเปนชนิดพันธุตางถิ่นรุกราน สงผลคุกคาม
ตอความหลากหลายทางชีวภาพ และกอใหเกิดความสูญเสียทางเศรษฐกิจ เชน
ปลาหมอเทศ ปลาซักเกอร ผักตบชวา ไมยราบยักษ เปนตน
7

10307 P.1-18.indd 7 10/8/2562 BE 17:04


ผลกระทบ
ผลกระทบตอระบบนิเวศ
ชนิดพันธุตางถิ่นที่รุกราน แพรกระจายจนเปนชนิดพันธุเดนในระบบนิเวศ
แลวจะกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงองคประกอบ และโครงสรางของระบบนิเวศ
เกิดการแกงแยงกับชนิดพันธุพ นื้ เมือง เชน การระบาดของหอยเชอรีท่ าํ ใหหอยโขง
สัตวพื้นเมืองของไทยลดจํานวนลง สัตวตางถิ่นที่เปนผูลาหรือการนําโรคติดตอ
เขามาแลวระบาดสูชนิดพันธุพื้นเมือง จนอาจทําใหเกิดการสูญพันธุของชนิด
พันธุพื้นเมือง และอาจเกิดการผสมกับพันธุพ นื้ เมืองจนทําใหสญ
ู เสียพันธุกรรมพืน้
เมืองทีบ่ ริสทุ ธิ์

ผลกระทบตอเศรษฐกิจและสังคม
ทางบวก – ชนิดพันธุตางถิ่นที่นําเขา และมีประโยชนทางเศรษฐกิจ อาทิ
พืชเศรษฐกิจ และพืชสมุนไพร เชน ขาวโพด ออย ชุมเห็ดเทศ และขี้เหล็กบาน
สัตวเศรษฐกิจ และสัตวเลี้ยง เชน สุกร โค แพะ แกะ เปดเทศ และปลาสวยงาม
ตางๆ
ทางลบ – ชนิดพันธุตางถิ่นที่นําเขาเพื่อประโยชนทางเศรษฐกิจบางชนิด
หากไมมีมาตรการควบคุมดูแล เกิดการหลุดรอดออกสูธรรมชาติ จะกอใหเกิด
ความเสียหายตอความหลากหลายทางชีวภาพ และเสียหายตอเนือ่ ง ทัง้ ทางเศรษฐกิจ
และสุขอนามัยของมนุษย เชน การระบาดของผักตบชวา และไมยราบยักษ ทําให
ปดกั้นลํานํ้า และการระบาดของปลาซักเกอร เปนตน

การตรวจสอบสถานภาพพืชต‹างถิ่น
การตรวจสอบสถานภาพการเปนพืชตางถิน่ หรือพืชตางถิน่ รุกราน ผูเ รียบเรียง
ไดใหคํานิยามของ พืชตางถิ่น (Exotic plants หรือ alien plants) หมายถึง
พืชที่มีการกระจายพันธุตามธรรมชาติอยูภายนอกประเทศไทย ซึ่งชนิดพันธุ
พืชตางถิ่นที่ไมรุกราน (non invasive species) หมายถึง พืชที่ขยายพันธุไดเอง

10307 P.1-18.indd 8 10/8/2562 BE 17:04


ตามธรรมชาติไมดี ไมสามารถเจริญเติบโตแกงแยงกับพืชพืน้ เมือง (native plants)
จําเปนตองไดรบั การดูแลเอาใจใสจากมนุษย พืชตางถิน่ รุกราน (Invasive plants
หรือ invasive alien plants) หมายถึง พืชตางถิ่นที่สามารถขยายพันธุไดเอง
ตามธรรมชาติ ออกไปนอกเขตการกระจายพันธุเดิมอยางกวางขวางและรบกวน
การดํารงชีวิตของพืชพื้นเมือง รวมถึงระบบนิเวศของพื้นที่แหงใหมที่พืชชนิดนั้น
เขาไปอาศัย ซึ่งโดยปกติพืชเหลานี้จะมีลักษณะคลายวัชพืช คือ เปนพืชโตเร็ว
ตองการแสงแดดมาก แพรกระจายพันธุไดเองตามธรรมชาติ (ทั้งแบบอาศัยเพศ
หรือแบบไมอาศัยเพศ) อยางรวดเร็วและไปไดไกล หลายชนิดปรับตัวใหทนทาน
ตอสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไดดี
ในป พ.ศ. 2549 สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม (สผ.) ไดรวบรวมขอมูลพืชตางถิ่น (alien plants) ในประเทศไทย
ไดท้งั สิ้น 1,490 ชนิด สําหรับรายชื่อพืชตางถิ่นในประเทศไทย ตามหนังสือชื่อ
พรรณไมแหงประเทศไทย : เต็ม สมิตินันทน ที่จัดทําโดย สวนพฤกษศาสตรปาไม
(2544) มีพืชตางถิ่น จํานวน 147 วงศ 1,019 ชนิด โดยวงศที่มีจํานวนชนิด
พันธุพืชตางถิ่นมากที่สุด 5 อันดับแรก ไดแก วงศถั่ว (FABACEAE) พบมากทีส่ ดุ
จํานวน 88 ชนิด รองลงมาไดแก วงศปาลม (ARECACEAE) จํานวน 68 ชนิด
วงศทานตะวัน (ASTERACEAE) จํานวน 61 ชนิด วงศเปลา (EUPHORBIACEAE)
จํานวน 38 ชนิด และวงศหญา (POACEAE) จํานวน 32 ชนิด ตามลําดับ
อยางไรก็ตามพืชตางถิน่ เหลานี้ ยังไมไดมกี ารคัดแยกเฉพาะทีเ่ ปนพืชตางถิน่
รุกรานออกมา ตอมา สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอม
(สผ.) ไดจดั ทําสถานภาพตามทะเบียนชนิดพันธุต า งถิน่ ทีค่ วรปองกัน ควบคุม และ
กําจัดของประเทศไทยขึ้น ตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ 20 กุมภาพันธ 2561
ในบัญชีดังกลาวมีบัญชีพืชตางถิ่นรุกราน ทั้งหมด 91 ชนิด แบงเปนรายการที่ 1
จํานวน 61 ชนิด รายการที่ 2 จํานวน 23 ชนิด รายการที่ 3 จํานวน 19 ชนิด และ
รายการที่ 4 จํานวน 27 ชนิด (สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ
และสิง่ แวดลอม (สผ.), 2561) (คนหารายละเอียดไดที่ http://bit.ly/2YwQUAZ)
ซึ่งบัญชีที่ 1 - 2 สวนใหญสามารถพบไดทั่วประเทศรวมทั้งในพื้นที่ปาอนุรักษ

10307 P.1-18.indd 9 10/8/2562 BE 17:04


ชัยณรงค และคณะ (2554) ศึกษาพืชตางถิน่ รุกรานในกลุม ปาแกงกระจาน
ซึ่งประกอบดวยพื้นที่ปาอนุรักษจํานวน 4 แหง (อุทยานแหงชาติแกงกระจาน
อุทยานแหงชาติกยุ บุรี อุทยานแหงชาติเฉลิมพระเกียรติไทยประจัน และเขตรักษา
พันธุสัตวปาแมนํ้าภาชี) พบพืชตางถิ่นทั้งหมด 294 ชนิด ในบรรดาพืชเหลานี้ถูก
ประเมินเปนพืชตางถิ่นที่ไมมีสถานภาพรุกราน (non invasive plants) จํานวน
184 ชนิด และพืชตางถิ่นที่มีสถานภาพรุกราน (invasive plants) จํานวน
110 ชนิด
บัญชีรายชื่อพันธุพืชตางถิ่นรุกรานในพื้นที่ปาอนุรักษ จํานวน 95 ชนิด
ที่ไดจัดทําขึ้นในครั้งนี้เปนสวนหนึ่งของพืชตางถิ่นรุกรานที่พบในประเทศไทย
ประมาณ 200 ชนิด ขอมูลสวนใหญไดมาจากการรวบรวมขอมูลผลการศึกษา
พืชตางถิ่นรุกรานในกลุมปาแกงกระจาน ชวงป พ.ศ. 2551 – 2554 (ชัยณรงค
และคณะ, 2554) และการตรวจเอกสารเพิม่ เติม จากประสบการณทไี่ ดไปพบเห็น
และถายรูปพืชตางถิ่นรุกรานในพื้นที่ปาอนุรักษเมื่อออกไปปฏิบัติงานมาทั่ว
ประเทศของผูเรียบเรียง บางชนิดถูกเก็บตัวอยางเพื่อนํามาวินิจฉัยชื่อในภายหลัง
โดยผูเชี่ยวชาญดานพฤกษศาสตรของกลุมงานพฤษศาสตรปาไม กรมอุทยาน
แหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช ทั้งนี้การพิจารณาวาพันธุพืชชนิดใดเปนพืชตางถิน่
ไมรกุ ราน (non invasive plants) พืชตางถิน่ รุกราน (invasive plants / invasive
alien plants) หรือพืชพื้นเมือง (native plants) ผูเรียบเรียงไดพิจารณาตาม
หลักวิชาการและมีกฎเกณฑการพิจารณาตามลําดับ ดังนี้
1. การวินิจฉัยชื่อพฤกษศาสตร ไดตรวจสอบจากเอกสารตอไปนี้
1.1 หนังสือพรรณพฤกษชาติของประเทศไทย ประเทศใกลเคียงหรือ
ประเทศที่เปนถิ่นกําเนิดเดิม
1.2 ตรวจสอบจากเอกสารและสิง่ ตีพมิ พดา นพฤกษศาสตรเฉพาะเรือ่ ง
อื่นๆ ไดแก วารสาร หรือหนังสือ
1.3 ตรวจสอบคําบรรยาย รูปภาพ และถิน่ กําเนิดเพิม่ เติมจากเว็บไซด
ทางพฤกษศาสตรที่นาเชื่อถือ เชน GRIN (http://www.ars-grin.gov/)

10

10307 P.1-18.indd 10 10/8/2562 BE 17:04


1.4 ตรวจเทียบเคียงกับตัวอยางพรรณไมแหงในพิพิธภัณฑพืชของ
กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช เพื่อความถูกตองอีกครั้ง
2. การตรวจสอบการใชชื่อพฤกษศาสตร ชื่อพอง และการสะกด จะยึดถือ
ตามลําดับดังนี้
- The Plant List (http://www.theplantlist.org/) โดยเลือกใช
ชื่อที่ไดรับการยอมรับจากการตรวจสอบแกไขของทีมนักพฤกษศาสตรแลว
(accepted name)
- ฐานขอมูลชือ่ พฤกษศาสตรของพืช International Plant Name Index
(IPNI: http://www.ipni.org/) ซึง่ รวบรวมขอมูลจากดัชนี The Index Kewensis
(IK), The Gray Card Index (GCI) และ The Australian Plant Names Index
(APNI)
- หนังสือพรรณพฤกษชาติของประเทศไทย (Flora of Thailand)
- ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย (ฉบับแกไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2557)
- หนังสือพรรณพฤกษชาติของตางประเทศ
3. การสะกดชือ่ ของผูต งั้ ชือ่ พฤกษศาสตรจะใชตามเว็บไซด The Plant List
4. การประเมินระดับของการรุกรานของพืชตางถิน่ รุกรานในหนังสือเลมนี้
จัดทําขึ้นตามประสบการณของผูเรียบเรียง โดยการเปรียบเทียบกับผลการศึกษา
ที่กลุมปาแกงกระจาน ซึ่งจากประสบการณที่ไดพบพืชตางถิ่นรุกรานในพื้นที่
ปาอนุรักษมาในหลายพื้นที่ พบวามีลักษณะคลายกันกับผลการศึกษาในกลุมปา
แกงกระจาน ดังนัน้ เพือ่ ไมใหผลการประเมินสถานภาพพืชตางถิน่ รุกรานในหนังสือ
เลมนีค้ ลาดเคลือ่ นจากความเปนจริงมาก ผูเ รียบเรียงจึงกําหนดเกณฑการประเมิน
แบบกวางเปน 3 ระดับ คือ ระบาดนอย ระบาดปานกลาง และระบาดมาก
โดยพิจารณาจากความถีข่ องการปรากฏซํา้ ๆ ในพืน้ ทีป่ า อนุรกั ษตา งๆ ทีไ่ ปพบ
รวมกับความชุกชุม และขนาดของตนพืชที่แผปกคลุมพื้นที่

11

10307 P.1-18.indd 11 10/8/2562 BE 17:04


สถานการณของพืชต‹างถิ่นรุกราน
ในพืน้ ที่ป†าอนุรักษ
จากผลการศึกษาของชัยณรงค และคณะ (2554) ซึ่งศึกษาพืชตางถิ่น
รุกรานในกลุมปาแกงกระจาน พบวาเขตบริการหรือบริเวณที่ทําการของพื้นที่
อนุรกั ษในกลุม ปาแกงกระจาน สวนใหญเปนพืน้ ทีท่ พี่ บพืชตางถิน่ จํานวนมากทีส่ ดุ
กวาพื้นที่ระบบนิเวศอื่นๆ ซึ่งปรากฏมากกวา 100 ชนิด โดยพันธุพืชเหลานั้น
สวนใหญเปนพืชตางถิ่นที่ถูกนําเขามาปลูกตกแตงพื้นที่ และเพื่อการบริโภค
พืชตางถิน่ เหลานีป้ ระมาณ 70 % มีสถานภาพไมรกุ ราน อีกประมาณ 30 % เปน
พืชตางถิน่ รุกราน ซึง่ สวนใหญกระจายเขามาตามธรรมชาติ มีบางชนิดทีถ่ กู นําเขามา
ปลูกประดับพื้นที่โดยผูปลูกไมทราบวาพืชเหลานี้มีพฤติกรรมรุกราน พืชตางถิ่น
รุกรานสวนใหญเปนพืชวงศสําคัญดังนี้ คือ วงศถั่ว (Fabaceae) วงศทานตะวัน
(Asteraceae) วงศหญา (Poaceae) วงศบานไมรโู รย (Amaranthaceae) วงศเปลา
(Euphorbiaceae) วงศมะเขือ (Solanaceae) วงศตอยติ่ง (Acanthaceae)
และวงศผกากรอง (Verbenaceae)
พืชเหลานี้สวนใหญเปนพืชลมลุกอายุปเดียวและไมพุมอายุหลายป มีการ
เจริญเติบโตรวดเร็ว ซึ่งเปนพฤติกรรมของวัชพืช (weed) นอกจากนี้ยังพบวา
ระบบนิเวศที่เปนปาดิบแลงจะปองกันการรุกรานของพืชตางถิ่นเขาสูพื้นที่ปา
ธรรมชาติไดดีกวาปาเบญจพรรณ เนื่องจากเปนระบบนิเวศที่มีพรรณพืชขึ้น
อยูอยางหนาแนน ทําใหมีแสงสองถึงพื้นปานอยมาก ปาดิบแลงที่สมบูรณจะมี
ความเขมแสงที่พื้นปาไมเกิน 5 % ซึ่งแทบจะไมพบพืชตางถิ่นขึ้นอยูได ขณะที่
ปาเบญจพรรณเปนปาโปรงทัง้ เรือนยอดชัน้ บนและชัน้ ลาง ปาเบญจพรรณทีส่ มบูรณ
จะมีความเขมแสงที่พื้นปาประมาณ 3 - 12 % ซึ่งอาจพบพืชตางถิ่นปกคลุมได
ไมเกิน 2 % ของพื้นที่ ทั้งนี้ปริมาณการปกคลุมของพืชตางถิ่นขึ้นกับความเขม
แสงที่สองถึงพื้นปามากกวาระยะทางและปริมาณการปกคลุมของพืชตางถิ่น
รุกรานที่เปนแมไมที่ชายปา โดยปาที่โปรงแสงกวา และปาเสื่อมโทรมซึ่งมีเรือน
ยอดเบาบางจะเปดโอกาสใหแกพืชตางถิ่นเขาสูพื้นที่ไดดีขึ้น

12

10307 P.1-18.indd 12 10/8/2562 BE 17:04


การศึกษาวัชพืชบนพื้นที่สูงในภาคเหนือของประเทศไทย โดย Harada,
Paisooksantivatana and Zungsontiporn (1987) มีการสํารวจตามพื้นที่
ปาเสื่อมโทรม และไรเลื่อนลอย ในพื้นที่ระดับความสูง 500 – 2,500 เมตร
พบวัชพืชประมาณ 200 ชนิด 44 วงศ ในจํานวนนี้เปนพืชตางถิ่น จํานวน
34 ชนิด วงศที่เปนวัชพืชที่สําคัญคือ วงศหญา วงศทานตะวัน วงศถั่ว วงศกก
(Cyperaceae) และวงศบานไมรโู รย ชนิด ทีส่ าํ คัญคือ สาบหมา สาบเสือ ทหารกลา
ผักเหี่ย (Artemisia dubia) ปนนกไส (Blumea spp.) หนาดนอย ผักกาดชาง
หรือผักคอออน ผักเผ็ด (Spilanthes paniculata) ทัง้ หมดลวนแตเปนพืชตางถิน่
รุกรานทีม่ ถี นิ่ กําเนิดมาจากทวีปอเมริกา สําหรับวงศหญาทีเ่ ปนวัชพืชทีส่ าํ คัญของ
ภาคเหนือ ไดแก หญาตีนกา (Eleusine indica) หญาคา (Imperata cylindrica)
หญาพง (Neyraudia reynaudiana) หญานมหนอน (Paspalum conjugatum)
หญาขจรจบ (Pennisetum polystachion) หญาโขมง (Saccharum procerum)
กง (Thysanolaena maxima) เกือบทุกชนิดเปนวัชพืชพื้นเมือง ยกเวนหญา
ขจรจบ ที่เปนพืชตางถิ่น
Harada, Shibayama and Morita (1996) ศึกษาวัชพืชในเขตรอนของโลก
279 ชนิด ในจํานวนนี้เปนพืชตางถิ่นรุกรานที่พบในประเทศไทย 103 ชนิด
เมือ่ รวมกับชนิดทีพ่ บตางกันในรายงานของ Harada, Paisooksantivatana and
Zungsontiporn (1987) อีก 4 ชนิดรวมทั้งสิ้น 107 ชนิด หากรวมกับผลการ
ศึกษาพืชตางถิ่นรุกรานในกลุมปาแกงกระจาน โดย ชัยณรงค และคณะ (2554)
จํานวน 110 ชนิด จะไดจาํ นวนชนิดรวมสุทธิทงั้ สิน้ 164 ชนิด ดังนัน้ จึงคาดวา
ในประเทศไทยนาจะมีพนั ธุพ ชื ตางถิน่ รุกราน ไดถงึ ประมาณ 200 ชนิด ซึ่งมีอีก
หลายชนิดที่ยังไมพบ เนื่องจากการสํารวจที่ยังไมทั่วถึงในพื้นที่ปาดิบระดับสูง
มากกวา 500 เมตร จากระดับนํ้าทะเลขึ้นไป หลายชนิดเปนพรรณไมที่กระจาย
พันธุมาจากเขตอบอุน จึงแพรกระจายพันธุไดเฉพาะในระบบนิเวศภูเขาสูงที่มี
อากาศเย็นและชุมชื้น

13

10307 P.1-18.indd 13 10/8/2562 BE 17:04


ชนิดพันธุเดนในแตละระบบนิเวศ
พืชตางถิ่นรุกรานที่พบในพื้นที่ปาอนุรักษจะมีการกระจายพันธุ และเปน
พืชเดนในระบบนิเวศแตกตางกันตามความสามารถในการปรับตัวเขากับสภาพ
แวดลอม และชวงความตองการทางนิเวศ ไดทําการจําแนกพืชตางถิ่นรุกราน
ตามระดับความชุมชื้นของระบบนิเวศเปน 3 ระดับ ดังนี้
- ระบบนิเวศแหงแลง ไดแก ชายปาผลัดใบ ชายปาดิบแลง รวมถึงพื้นที่
เกษตรกรรมทีเ่ คยเปนปาดังกลาวมากอน และพืน้ ทีด่ นิ ตืน้ เชน ไหลทางทีเ่ ปนเศษหิน
ลานกรวด ลานจอดรถ ขอบอางเก็บนํ้าที่ลาดชันหรือสันเขื่อน เปนตน พืชตางถิ่น
รุกรานเดน ไดแก ผกากรอง สาบเสือ สาบแมว กระถินยักษ แมงลักคา ไมยราบ
ไมยราบเลื้อย โสนเขา ถั่วไมยรา ตอยติ่ง สบูแดง หญาขัดใบยาว หญาขัดใบใหญ
หญายาง ใบตางดอก ลูกใตใบ ตีนตุกแก ดอกรัก กะทกรก บานไมรูโรยปา เสมา
สังสม พันงูเขียว หญาลิ้นงู ถั่วสไตโล นํ้านมราชสีห นํ้านมราชสีหเล็ก หญารังนก
หญาดอกชมพู โสมคน เปนตน
- ระบบนิเวศชุมชื้น ไดแก ปาดิบเขา ปาดิบชื้น หรือพื้นที่ชายปาใกลลําธาร
หรือพื้นที่ลุม พืชตางถิ่นรุกรานเดนไดแก ผักกาดชางหรือผักคอออน สาบหมา
ดาวกระจายไตหวัน สาบเสือ สาบแรงสาบกา ผักแครด ผักคราดปา ขี้ไกยาน
ทหารกลา หนาดนอย บัวตอง สาบแมว แมงลักคา โสนเขา กะทกรก กรดนํ้า
หญา ขจรจบดอกเล็ก หญ าขจรจบดอกใหญ หญา เนเป ย หญา กิ นี หญา ขน
หญาจุกขาว มันสําปะหลังปา ละหุง ผักขมหัด ถั่วลาย ผักแวนดอย หงอนไกปา
ชุมเห็ดไทย มะแวงนก มะเขือพวง ตะขบฝรั่ง ขี้เหล็กอเมริกา จามจุรี เปนตน
- ระบบนิเวศพื้นที่ชุมนํ้า ในที่นี้หมายถึงระบบนิเวศที่เปนพื้นที่ชื้นแฉะ –
พื้นที่ชุมนํ้า ไดแก ริมตลิ่งลําธาร รองนํ้า เขตที่ลุมดินตะกอน พืชตางถิ่นรุกราน
เดนไดแก ไมยราบยักษ ธูปฤาษี ผักตบชวา ผักเปดไทย หญาเกล็ดปลา โสนเขา
ชุมเห็ดไทย ชุมเห็ดเล็ก ชุดเห็ดเทศ เทียนนา โทงเทง มะเขือขื่น กรดนํ้า ขี้ไกยาน
พญารากดํา แวนแกว เปนตน ซึ่งพืชเหลานี้สวนใหญมีความจําเพาะกับระบบ
นิเวศเชนนี้มากที่สุด

14

10307 P.1-18.indd 14 10/8/2562 BE 17:04


ขŒอเสนอแนะสําหรับการจัดการ
พืชต‹างถิ่นรุกรานในพืน้ ที่ป†าอนุรักษ
1. การพิจารณาคัดเลือกพันธุพืชเขามาปลูกตกแตงพื้นที่ พืชอาหารหรือ
การใชประโยชนอื่นๆ ควรพิจารณาเลือกพันธุพืชพื้นเมืองของประเทศไทยกอน
เปนอันดับแรก (การตรวจสอบวาเปนพันธุพ ชื ตางถิน่ หรือไม เบือ้ งตนใหตรวจสอบ
จากหนังสือชือ่ พรรณไมแหงประเทศไทย (ฉบับแกไขเพิม่ เติม 2557, (www.dnp.
go.th/botany/index.html#database) หรือเว็บไซดอื่นๆ ที่นาเชื่อถือได เชน
GRIN (http://www.ars-grin.gov/) หรืออาจสอบถามผูเ ชีย่ วชาญดานพฤกษศาสตร
ปาไม
สําหรับพืชตางถิ่นที่ไมควรนําเขามาปลูกในพื้นที่ปาอนุรักษ ควรตรวจ
สอบสถานภาพการรุกราน ดังนี้
1.1 พืชตางถิน่ ตามบัญชีรายชือ่ ทีจ่ ดั ทําโดยสํานักงานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (สผ.) ตามมติคณะรัฐมนตรี 20 กุมภาพันธ
2561 รายการที่ 1 – 4 เปนพืชตางถิน่ รุกรานตรวจสอบไดตามเอกสารเผยแพร
เรื่อง มาตรการปองกัน ควบคุม และกําจัดชนิดพันธุตางถิ่น (http://bit.ly/2Y-
wQUAZ)
1.2 ตามบัญชีรายชือ่ ในหนังสือเลมนี้ ขอแนะนําวาไมควรนําเขามาปลูก
ในพื้นที่ปาอนุรักษ หรือพื้นที่อื่นๆ ก็ตาม เนื่องจากสามารถขยายพันธุไดเองตาม
ธรรมชาติ ลักษณะการเจริญเติบโตรวดเร็วตองการแสงแดดมาก มีพฤติกรรม
คลายวัชพืช ถึงแมวาในชวงแรกที่นําเขามาปลูกอาจยังไมมีการขยายพันธุออกไป
จากพื้นที่ปลูก แตเมื่อเจริญเติบโตเต็มวัยและมีสภาพแวดลอมเหมาะสมมากขึ้น
เชน การเพิ่มแสง ความชุมชื้นมากขึ้น อาจผลิตเมล็ดจํานวนมากหรือสืบพันธุ
แบบไมอาศัยเพศ (การแตกหนอ ไหล) หากมีการกระจายพันธุใ นพืน้ ทีอ่ ยูก อ นแลว
ควรหาทางกําจัดและควบคุมไมใหเกิดการระบาดจนยากที่จะควบคุม โดยเฉพาะ
พันธุไมประดับหรือพืชตางถิ่นรุกรานที่มีดอกสวยงามบางชนิดที่มีสถานภาพเปน
พืชตางถิ่นรุกราน ซึ่งผูปลูกยังไมทราบถึงอันตราย ไดแก บานไมรูโรยบราซิล

15

10307 P.1-18.indd 15 10/8/2562 BE 17:04


บุษบาริมทาง กระดุมไพลิน บัวตอง ดาวกระจายไตหวัน (พืชเหลานี้มีใบและดอก
สวยงาม ปลูกเลี้ยงงาย มีเมล็ดขนาดเล็กจํานวนมากกระจายไดไกล กําลังระบาด
ไปทั่วประเทศ) กระดุมทองเลื้อย (นิยมปลูกคลุมดิน ขยายพันธุรวดเร็ว โดยไหล)
ผักตบชวา บัวสุธาสิโนบล กกรังกา แวนแกว ธูปฤาษี อเมซอนใบกลม พืชนํ้า
เหลานี้ มีการระบาดหนักในแหลงนํ้าหลายแหงในประเทศไทย ซึ่งถูกปลอยปละ
ละเลย เนือ่ งจากเห็นวาเปนพืชสวยงามและมีการขยายตัวของประชากรเปนจํานวน
มากในบึง คูนํ้า คลองชลประทาน
2. การนําพืชตางถิน่ เขามาปลูกในพืน้ ทีป่ า อนุรกั ษควรพิจารณาพืชทีอ่ ยูใ น
กลุมวงศเหลานี้เปนพิเศษ เพราะมีความเสี่ยงสูงที่จะเปนพืชรุกราน ไดแก วงศถั่ว
(Fabaceae) วงศหญา (Poaceae) วงศทานตะวัน (Asteraceae) วงศบานไมรโู รย
(Amaranthaceae) วงศเปลา (Euphorbiaceae) วงศกะเพรา (Lamiaceae)
วงศผกากรอง (Verbenaceae) วงศผกั เบีย้ (Portulacaceae) วงศชบา (Malvaceae)
วงศผักบุง (Convovulaceae) วงศผักกาด (Brassicaceae) และวงศมะเขือ
(Solanaceae) เนือ่ งจากเปนพืชทีส่ ว นใหญจะผลิตเมล็ดแหงขนาดเล็กจํานวนมาก
สามารถทนตอสภาพแวดลอมไดดี กระจายพันธุไดไกล และมีอัตราการงอกสูง
รวมถึงบางชนิดแมไมสามารถผลิตเมล็ดไดแตสามารถขยายพันธุแบบไมอาศัย
เพศไดดี
พืชเหลานีม้ จี ดุ เดนทีก่ ารสรางเมล็ดทีม่ เี ปลือกแข็งแรง มีจาํ นวนมาก มีอายุ
ยาวนาน ทนตอสภาพอากาศ และมีอัตราการงอกสูง โดยเฉพาะวงศหญา วงศถั่ว
และวงศมะเขือที่สามารถใชเปนอาหารสัตวได เมล็ดจะแพรกระจายพันธุไปกับ
มูลสัตวไดดี สําหรับวงศทานตะวัน มักจะสรางเมล็ดแหงขนาดเล็กจํานวนมาก
และมีพขู นทีป่ ลายดานหนึง่ สามารถปลิวไปตามลมไดไกลหรือติดไปกับขนสัตวไดดี
วิธีการที่เหมาะสมตอการกําจัดพืชเหลานี้จึงควรปองกันการขยายพันธุตั้งแต
เริม่ พบครัง้ แรกเมือ่ ยังมีจาํ นวนนอยและกําจัดในชวงทีย่ งั ไมตดิ เมล็ด การทําเขตกรรม
ดวยการปลูกพืชชนิดที่ไมรุกรานคลุมดิน หรือการควบคุมความเขมแสงดวยการ
ปลูกตนไมใหรมเงา

16

10307 P.1-18.indd 16 10/8/2562 BE 17:04


3. ในบรรดาพืชตางถิ่นรุกรานที่พบในประเทศไทย ประมาณ 70 % มีถิ่น
กําเนิดมาจากทวีปอเมริกาเขตรอน และ 20 % มาจากทวีปแอฟริกาในเขตรอน
ที่เหลือมาจากทวีปและภูมิภาคอื่นๆ พืชเหลานี้เปนวัชพืชที่สําคัญกระจายพันธุ
อยูในเขตรอนและกึ่งเขตรอน ซึ่งมีลักษณะภูมิอากาศคลายประเทศไทย ดังนั้น
การนําพืชในภูมิภาคเหลานี้เขามาปลูกในประเทศไทยควรจะตองพิจารณาเปน
พิเศษโดยควรมีการศึกษาพฤติกรรมวาเปนวัชพืช หรือเปนพืชตางถิ่นที่รุกราน
แลวในตางประเทศหรือไม หากจําเปนตองนําเขามาตองมีการศึกษาการเจริญเติบโต
ภายในโรงเรือนที่มีการควบคุมกอนปลูกในพื้นที่เปด
4. ความสามารถในการสืบพันธุและกระจายพันธุของพืชตางถิ่นรุกราน
เปนปจจัยทีท่ าํ ใหพชื เหลานีม้ โี อกาสเขาถึงพืน้ ทีห่ า งไกลและตัง้ ตัวไดดขี นึ้ โดยเฉพาะ
ลม สัตว และมนุษย สวนความสามารถในการเจริญเติบโต ความทนทานตอ
สภาพแวดลอม ทําใหพืชตางถิ่นรุกรานสามารถแกงแยงแขงขันกับพืชพื้นเมืองได
อยางไรก็ตามพืชตางถิน่ รุกรานเปนพืชโตเร็วตองการแสงแดดมาก ความเขมของแสง
จึงเปนปจจัยจํากัดที่สําคัญในการเจริญเติบโต รวมถึงความแหงแลงของอากาศ
ยังมีผลตอการควบคุมการงอกและการเจริญเติบโตไดเปนอยางดี ซึง่ สวนใหญเปน
พืชลมลุกที่ตองการความชื้นสูงในชวงระยะแรกของการเจริญเติบโต การควบคุม
พืชตางถิ่นรุกราน จึงควรควบคุมปริมาณแสงแดดเปนอันดับแรกโดยพึงระวัง
การเปดพืน้ ทีโ่ ลง ทําเมือ่ มีความจําเปน เมือ่ มีการเปดพืน้ ทีค่ วรเรงปลูกพืชพืน้ เมือง
หรือไมประดับตางถิ่นที่ไมมีพฤติกรรมรุกรานใหปกคลุมพื้นที่กอนที่พืชตางถิ่น
รุกรานจะเขามาตั้งตัวได สําหรับในพื้นที่ที่มีการระบาดของพืชตางถิ่นรุกราน
แลวควรมีการกําจัดดวย เขตกรรมวิธี กลวิธี ชีววิธี หรือสารเคมี (ถาจําเปน)
โดยเลือกกําจัดในชวงเวลากอนติดผลแกเพื่อปองกันการกระจายของเมล็ด และ
ควรกําจัดสวนขยายพันธุแ บบไมอาศัยเพศทัง้ หมดดวย เชน เหงา หัว หรือทอนพันธุ

17

10307 P.1-18.indd 17 10/8/2562 BE 17:04


สุธาสิโนบล Nymphaea capensis Thunb. var. zanzibariensis Casp.
วงศ NYMPHAEACEAE

10307 P.1-18.indd 18 10/8/2562 BE 17:04


พืชต‹างถิ่นรุกราน
ในพืน้ ที่ป†าอนุรักษ
๙๕ ชนิด

จัดเรียงตามชื่อวงศ และชื่อพฤกษศาสตร

สัญลักษณ
1 ระบาดมาก
2 ระบาดปานกลาง
3 ระบาดนอย

10307 P.19-128.indd 19 10/8/2562 BE 17:02


วงศ ACANTHACEAE 1

บาหยา
Asystasia gangetica (L.) T. Anderson ssp. micrantha (Nees) Ensumu

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปแอฟริกา
พืชลมลุกอายุหลายป ลําตนทอดเลื้อย
ปลายกิ่งตั้งชูขึ้นสูง 20-50 เซนติเมตร
ลําตนมีขนเล็กนอย ใบเรียงตรงกันขาม
รูปไข ยาว 2-4 เซนติเมตร เนือ้ บางออนนุม
คล า ยต น บุ ษ บาริ ม ทางหรื อ อ อ มแซบ
(เปนพืชชนิดเดียวกันแตเปน subspecies
gangetica), ดอกเป น ช อ ตั้ ง ขึ้ น ยาว
4-7 นิ้ว ดอกสีขาวมี 5 แฉก แฉกลางมี
จุดประสีมวงอมนํ้าเงิน/ชมพู ดอกบาน
กวาง 1-1.5 เซนติเมตร ติดฝกคลาย
ตอยติ่ง, ขยายพันธุไดดีดวยเมล็ดและ
การแตกแขนงเลื้อยปกคลุมดินเปนกลุม
ใหญ ชอบสภาพอากาศที่ชุมชื้น ทั้งที่โลง
หรือที่รําไร ตามชายปา สวนผลไม สวน
ยางพารา, เมล็ดสามารถติดไปกับดินมูล
สัตวและกระถางตนไม, ใบออนกินเปน
ผักไดคลายตนออมแซบ

20

10307 P.19-128.indd 20 10/8/2562 BE 17:02


2 วงศ ACANTHACEAE

ตŒอยติ่ง
Ruellia tuberosa L.

ถิ่นกําเนิด : ดานตะวันตกของหมูเกาะ
อินดีส ในทวีปอเมริกาตอนกลาง
พื ช ล มลุ ก อายุ หลายป สูงไม เ กิน 30
เซนติเมตร ใบเรียงตรงกันขาม รูปรี-ไขกลับ
ยาว 4-8 เซนติเมตร ผิวเกลีย้ ง ดอกมัก
ออกเดี่ยว สีมวง มี 5 กลีบ คลายแตร
ดอกยาว 3-5 เซนติเมตร ฝกรูปทรง
กระบอกตั้ง ขึ้ น ยาว 2-3 เซนติเ มตร
มีกลีบเลี้ยงรูปเสนดายยาว 2 เซนติเมตร
ติดทน เมื่อแกฝกจะแหง และเมื่อถูกนํ้า
หรือความชื้นจะแตกสองเสี่ยง ตรงกลาง
ฝกแตละซีกมีหนาม, แพรระบาดไปทั่ว
ประเทศเพราะเมล็ดมีอายุยืน ทนทาน
ดีดกระจายไปไกล ติดไปกับดินและนํา้ ได
ตนมีอายุยนื มีเหงาและรากลึกจํานวนมาก
คลายรากตนกระชาย ถอนไดยากมาก
ทนแลงและทนไฟไดดี ขึ้นที่ระดับความ
สูงไมเกิน 1,000 เมตร

10307 P.19-128.indd 21 10/8/2562 BE 17:02


วงศ ACANTHACEAE 3

แววตา
Thunbergia alata Bojer ex Sims

ถิ่นกําเนิด : ทวีปแอฟริกาตอนใต
ไม เ ถาล ม ลุ ก อายุ ห ลายป ยาวได ถึ ง
10 เมตร กิง่ เปนสีเ่ หลีย่ ม มีขนสัน้ ใบเรียง
ตรงกันขาม ลักษณะใกลเคียงตนรางจืด
แตมีใบและดอกที่เล็กกวา ใบรูปไข-รูป
เงี่ยงหอก ยาว 3-7 เซนติเมตร มีขนสาก
ทั้งสองดาน ดอกสีเหลือง-สม มี 5 กลีบ
กลี บ ดอกขนาดเท า กั น ด า นในหลอด
กลี บ ดอกสี ม  ว งอมนํ้ า ตาล (นํ้ า แน ด ง
(Thunbergia hossei) ที่เปนพืชปาจะมี
ขนาดของกลีบดอกทั้ง 5 กลีบไมเทากัน
และดานในหลอดไมมีสีมวง), ปลูกเปน
ไมประดับ แตจะเจริญเติบโตไดดีและติด
เมล็ดในสภาพอากาศที่เย็นและชุมชื้น
บนพื้นที่สูงมากกวา 700 เมตร โดยจะ
เลื้อยปกคลุมพืชชนิดอื่นไดอยางรวดเร็ว
และหนาแนนมากจนขาดแสงแดดและ
ตายลง

22

10307 P.19-128.indd 22 10/8/2562 BE 17:02


3 วงศ ALISMATACEAE

อเมซอนใบกลม
Echinodorus cordifolius (L.) Griseb.

ถิ่นกําเนิด : ทวีปอเมริกาใต
พืชนํ้าลมลุก อายุหลายป คลายบอนจีน
(หนา 24) แตใบและกานใบมีเนือ้ เหนียว
กวา ไมมีไข นวลออกสีขาวแบบบอนจีน
ดอกมีสีขาว ชอดอกยาว 0.5-1 เมตร
เปนไมปลูกประดับตามนํา้ ตกบอปลาคูนาํ้
สามารถกระจายพันธุไดดีแบบแตกหนอ
และหนอออนที่ชอดอก ตามแหลงนํ้า
ที่มีปุยตกคางหรือนํ้าทิ้งจากชุมชนและ
คูนํ้าที่ขาดการดูแลในเขตเมืองและทั่ว
ประเทศ

23

10307 P.19-128.indd 23 10/8/2562 BE 17:02


วงศ ALISMATACEAE 2

บอนจีน
Limnocharis flava (L.) Buchenau

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
หรือ ตาลปตรฤาษี ผักกานจอง เปนพืชนํา้
ลมลุก มีรากยึดทองนํ้า ชูใบขึ้นมาเหนือ
ผิวนํ้า ตนสูง 0.3-1 เมตร ตนออนนุม
มีชองอากาศจํานวนมาก ผิวเกลี้ยงมีไข
เคลือบไมติดนํ้า กานใบและชอดอกเปน
สามเหลีย่ ม ใบรูปใบพายกวาง ดอกสีเหลือง
มีก ลีบ ดอก 3 กลีบดอก เป นวั ช พื ช ใน
นาขาว รองนํ้า หรือพื้นที่ชุมนํ้าที่นํ้าลึก
ไมเกิน 1 ฟุต ขยายพันธุไดดีดวยการ
แตกหนอและเมล็ดที่หลนตกคางในดิน
หรือไหลไปตามนํ้า, ชอดอกออนรสขม
กินเปนผัก

24

10307 P.19-128.indd 24 10/8/2562 BE 17:02


1 วงศ AMARANTHACEAE

บานไม‹รูŒโรยบราซิล
Alternanthera brasiliana (L.) Kuntze ‘Rubiginosa’

ถิน่ กําเนิด : ทวีปอเมริกาตอนกลาง และ


ตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต
หรือบานไมรโ ู รยฝรัง่ พืชลมลุก สูง 30-100
เซนติเมตร ใบและกิง่ กานมีสมี ว งอมนํา้ ตาล
มีขนสั้นปกคุม เขามาสูประเทศไทยโดย
การเป น ไม ป ระดั บ พั น ธุ  ลู ก ผสมที่ นิ ย ม
ปลูกคือ ‘Brazilian Red Hots’ ซึง่ ใบจะมี
ลายดางสีชมพูเขมสลับสีมวงเขม พันธุนี้
ไมขยายพันธุไ ดเองตามธรรมชาติ ขณะที่
สายพันธุ ‘Rubiginosa’ ที่มีใบสีมวงอม
นํ้าตาลเทานั้นที่ปรับตัวไดดี ทนทานตอ
สภาพอากาศทัง้ ทีช่ มุ ชืน้ และแหงแลงไดดี
สามารถแพรขยายพันธุไ ดเองตามธรรมชาติ
กลายเปนวัชพืชที่สําคัญในขณะนี้ไปทั่ว
ประเทศ แมแตในปาอนุรกั ษ เพราะผลิต
เมล็ดจํานวนมาก มีขนาดเล็กเทาเมล็ด
ทรายสีดาํ และสามารถเลือ้ ยแผกอออกไป
ไดเร็ว มีอายุยืน

25

10307 P.19-128.indd 25 10/8/2562 BE 17:02


วงศ AMARANTHACEAE 2

โคกกระสุนเล็ก
Alternanthera pungens Kunth

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกาใต
พืชลมลุก ทอดเลือ้ ยตามพืน้ ดิน สูงไมเกิน
10 เซนติเมตร ใบออนนุม รูปไขกลับ
ยาว 1-2 เซนติเมตร ปลายใบมีติ่งหนาม
ตามลําตนมีขนสีขาว ชอดอกคลายดอก
บานไมรโู รยสีเขียวอมขาว กวางเพียง 0.5
เซนติเมตร ใบประดับเปนหนามแหลม
ทําใหเจ็บปวดเมือ่ เดินเหยียบยํา่ คลายตน
หนามโคกกระสุน พบไดงายตามพื้นที่
แหงแลง ดินขาดความอุดมสมบูรณ

26

10307 P.19-128.indd 26 10/8/2562 BE 17:02


2 วงศ AMARANTHACEAE

ผักเปšดไทย
Alternanthera sessilis (L.) DC.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
เปนพืชลมลุกอายุปเดียว-หลายป ตนสูง
20-30 เซนติเมตร ลําตนทอดเลือ้ ย ปลาย
กิ่งชูขึ้น ใบรูปหอก รูปรี ยาว 2-5 เซนติ
เมตร ไมมีกานใบ เรียงตรงขาม ชอดอก
กลมสีขาว คลายดอกบานไมรโู รย แตขนาด
เล็กกวามาก เปนกระจุกออกที่ซอกใบ
ไรกานชอดอก ตนแกที่ขึ้นกลางแจงมักมี
ใบและกิ่งสีแดงอมนํ้าตาลแตม พบเปน
วั ช พื ช ที่ สํ า คั ญ ในนาข า ว พื้ น ที่ ชุ  ม นํ้ า
และตามขอบอางเก็บนํา้ ทีร่ ะดับความสูง
ไมเกิน 1,000 เมตร

27

10307 P.19-128.indd 27 10/8/2562 BE 17:02


วงศ AMARANTHACEAE 3

ผักขมหนาม
Amaranthus spinosus L.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
ผักขมหนาม มีลักษณะคลายผักขมหัด
(หนา 29) แตกตางกันทีต่ ามกิง่ กานจะมี
หนามแหลมคม และเปนตนสูงใหญกวา
สูง 30-100 เซนติเมตร มีการกระจาย
พันธุอยูทั่วไป พบไดนอยกวาผักขมหัด
แต สร า งความรํ า คาญ ความเจ็บปวด
ใหแกเกษตรและผูที่เดินผานอยางมาก
เนื่องจากหนามที่คมมาก

28

10307 P.19-128.indd 28 10/8/2562 BE 17:02


1 วงศ AMARANTHACEAE

ผักขมหัด
Amaranthus viridis L.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
พืชลมลุก อายุปเดียว สูง 15-30 เมตร
ลําตนตั้งตรง มักแตกกิ่งนอย ออนนุม
และเกลี้ยง ออกดอกเปนชอยาวตั้งขึ้น
คลายดอกสรอยไก สีนํ้าตาลคลํ้า, ยอด
และใบออนกินไดเหมือนผักขม/ผักโขม,
เป น วั ช พื ช ที่ พ บทั่ ว ไปตามพื้ น ที่ เ กษตร
ทัว่ ไป ทีร่ ะดับความสูงไมเกิน 1,500 เมตร

29

10307 P.19-128.indd 29 10/8/2562 BE 17:02


วงศ AMARANTHACEAE 2

หงอนไก‹ป†า
Celosia aegentea L.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปแอฟริกา
พืชลมลุก สูง 0.5-2 เมตร กิง่ เปนเหลีย่ ม
ผิวเกลีย้ ง ลักษณะทัว่ ไปคลายตนหงอนไก
บานหรือสรอยไก แตชอดอกมีสีชมพู
ดอกเกามีสชี มพูออ น ทรงกระบอก ปลาย
ชอเรียวแหลม ตัง้ ขึน้ ยาว 5-20 เซนติเมตร
กวาง 1-2 เซนติเมตร ขึน้ ทีร่ ะดับความสูง
ไมเกิน 1,000 เมตร

30

10307 P.19-128.indd 30 10/8/2562 BE 17:02


2 วงศ AMARANTHACEAE

บานไม‹รูŒโรยป†า
Gomphrena celosioides Mart.

ถิ่นกําเนิด : ทวีปอเมริกาใต
พืชลมลุก กิง่ ทอดเลือ้ ยคลุมตามพืน้ ดินสูง
10-30 เซนติเมตร กิง่ และใบมีขนสากคาย
ใบยาว 1-3 เซนติ เ มตร ดอกออกที่
ปลายกิ่ง คล า ยดอกบานไมรู โรย กวาง
1 เซนติเมตร เปนวัชพืชที่พบมากตามที่
รกราง ไรนา กลางแจง ชอบสภาพอากาศ
ที่ แ ห ง แล ง แบบประเทศไทยตอนบน
ที่ระดับความสูงไมเกิน 500 เมตร

31

10307 P.19-128.indd 31 10/8/2562 BE 17:02


วงศ ASTERACEAE 3

ผักคราดป†า
Acmella ciliata (Kunth) Cass.

ถิน่ กําเนิด : ตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต


พื ช ล ม ลุ ก กึ่ ง ทอดเลื้ อ ย อายุ ห ลายป
สูง 30-50 เซนติเมตร คลายตนสาบเสือ
แตมลี าํ ตน กิง่ และกานใบสีมว งอมนํา้ ตาล
แผนใบเกลีย้ งหรือมีขนประปราย ชอดอก
เปนกระจุกกลม ดอกยอยวงใน เรียงตัวนูน
ขึน้ เปนทรงคลายพานพุม ปลายแหลม-มน
สูง 4-7 มิลลิเมตร ปลายสีเหลือง มีกลีบ
ดอกวงนอกสีเหลือง มี 5-15 กลีบ ยาว
2-4 มิลลิเมตร (ผักคราด/ผักคราดหัว
แหวน (Acmella oleracea) จะมีชอ
ดอกวงในเปนทรงนูนกลม-ทรงกระบอก
ปลายชอปาน-ตัด สูง 10-20 มิลลิเมตร
และไมมีกลีบดอกวงนอก), ชอบขึ้นตาม
ที่รําไร-กลางแจง และคอนขางชุมชื้น,
ที่ ร ะดั บความสู ง ไมเ กิ น 2,000 เมตร
พบมากตามพืน้ ทีเ่ กษตรทีส่ งู หรือชายปา
ดงดิบ

10307 P.19-128.indd 32 10/8/2562 BE 17:02


1 วงศ ASTERACEAE

สาบหมา
Ageratina adenophora (Spreng.) R. M. King & H. Rob.

ถิ่นกําเนิด : ทวีปอเมริกาตอนกลาง
พืชลมลุก อายุหลายป สูง 0.3-2 เมตร
ลําตนและกิง่ มีขนสัน้ ลักษณะทัว่ ไปคลาย
ตนสาบเสือ แตมกั แตกกิง่ ตัง้ ตรง (สาบเสือ
กิง่ จะทอดเลือ้ ย) และกิง่ มีสนี าํ้ ตาลอมมวง
ใบทั้งสองดานมีขนสั้นประปราย ชอดอก
แบบแยกแขนง ดอกสีขาว ชอดอกยอย
เรียงเปนกลุม คอนขางแนนรูปรม, ชอบขึน้
ตามพืน้ ทีโ่ ลงแจง ทีม่ อี ากาศเย็นและชุม ชืน้
ทีร่ ะดับความสูง 700-2,500 เมตร เปน
วัชพืชทีส่ าํ คัญบนพืน้ ทีส่ งู ในเขตภาคเหนือ
ของไทย เพราะมีการผลิตเมล็ดจํานวน
มากปลิวไปตามลมไดไกล มีเหงาอยูใ ตดนิ
ทนตอไฟปาและความแหงแลง เมื่อเขา
ฤดูฝนจะแตกตนขึ้นมาใหม

33

10307 P.19-128.indd 33 10/8/2562 BE 17:02


วงศ ASTERACEAE 1

สาบแรŒงสาบกา
Ageratum conyzoides L.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกาใต
พืชลมลุก อายุปเ ดียว สูง 30-80 เซนติเมตร
ใบคลายสาบแมว (หนา 44) แตมขี นยาว
คอนขางสากคายสีขาวหนาแนนตามกิ่ง
กานใบ และทองใบ ใบมีสีเขียวเขมกวา
ผิวใบดานบนมีรอยกดตามแนวเสนใบที่
ชัดเจนหรือยนกวา และมีกลิ่นฉุนคลาย
นํ้ า มั น เบนซิ น ช อ ดอกสี ข าวอั ด แน น
ผลแกอัดเปนกอนกลมไมแตกฟูมากนัก
กวาง 7-10 มิลลิเมตร ขึ้นไดที่ระดับ
ความสู ง ตํ่ า กว า 2,000 เมตรลงมา
ชอบขึ้นตามที่ชุมชื้นมากกวาสาบแมว
และสาบเสือ เชน ตามไรเลือ่ นลอย ในเขต
ภูเขาสูง ปาดงดิบ ไรที่มีชั้นดินลึกและ
ชุมชื้น หรือใกลรองนํ้า

34

10307 P.19-128.indd 34 10/8/2562 BE 17:02


1 วงศ ASTERACEAE

ดาวกระจายไตŒหวัน Bidens pilosa L.

ถิ่นกําเนิด : ทวีปอเมริกาตอนกลาง
หรื อปน นกไส พื ชลมลุก อายุ ห ลายป
ตนสูง 0.3-1.5 เมตร ลําตนเปนสีเ่ หลีย่ ม
เกลีย้ งหรือมีขนสัน้ -ยาวประปราย ใบเดีย่ ว
หรือใบประกอบแบบขนนก 1 ชัน้ ใบยอย
มักหยักเปนพู 2-3 พู ลึกเกือบถึงแกน
ใบยอย ใบยอยรูปไข ปลายใบเรียวแหลม
ขอบใบหยักมีขนสั้นประปราย ชอดอก
เปนกระจุกกลม กานชอยาว 10-30
เซนติเมตร มีใบประดับสีเขียวรูปชอน
หุมรอบโคนชอดอกยาว 5 มิลลิเมตร
กลีบดอกวงนอกไมมี หรือถามีจะเปนสีขาว
มี 5-8 กลีบ กลีบรูปขอบขนาน-ไขกลับ
ยาว 0.5-1.5 เซนติเมตร (คลายดอก
บานชืน่ ) เกสรและดอกวงในสีเหลือง กวาง
6-8 มิลลิเมตร ติดเมล็ดสีดําจํานวนมาก
รูปเรียว ยาว 0.7-1.6 เซนติเมตร เปน
เหลีย่ ม ตามเหลีย่ มมีหนามสัน้ ปลายเมล็ด
มีระยางค 2-3 แทง และมีหนามตะขอ
ยอนกลับ, ขึ้นไดทั่วประเทศ ทั้งในสภาพ
อากาศที่ แ ห ง แล ง หรื อ มี ฝ นตกชุ ก
ออกดอกตลอดทัง้ ปโดยเฉพาะในชวงฤดูฝน
พบมากตามพื้นที่เกษตรที่สูง สวนผลไม
และขางทางหลวง, แพรกระจายไดดดี ว ย
เมล็ดที่มีหนามตะขอติดไดดีกับขนสัตว
เสื้อผา มูลสัตวและเศษดิน
35

10307 P.19-128.indd 35 10/8/2562 BE 17:02


วงศ ASTERACEAE 3

กระดุมไพลิน
Centratherum punctatum Cass.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
พืชลมลุก อายุหลายป ตนสูง 30-60
เซนติเ มตร ดอกสี ม วง เป นไม ประดั บ
ปลูกงายทนแลง สามารถงอกไดเองตาม
ธรรมชาติ ด  ว ยเมล็ ด เนื ่ อ งจากมี ด อก
สีมวงสวย จึงมีคนชวยแพรกระจายได
อยางรวดเร็วยิ่งขึ้น

36

10307 P.19-128.indd 36 10/8/2562 BE 17:02


1 วงศ ASTERACEAE

สาบเสือ
Chromolaena odorata (L.) R. M. King & H. Rob.

ถิ่นกําเนิด : ทวีปอเมริกาใต
พืชลมลุกกึ่งเลื้อย อายุหลายป สูง 1-3
เมตร ตามกิ่งออน ชอดอก กานใบ และ
ทองใบมีขนสั้นหนาแนน ใบเรียงตรงกัน
ขาม รูปไข-ไขแกมรูปสามเหลี่ยม ยาว
4-10 เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลม
ขอบใบจัก กานใบยาว 1-2 เซนติเมตร
ชอดอกแบบแยกแขนง มีชอดอกยอยติด
แบบซีร่ ม หางๆ ชอดอกยอยเปนชอกระจุก
ทรงกระบอกสี ข าว-สีชมพูออน กวาง
4-5 มิลลิเมตร ติดเมล็ดขนาดเล็ก ยาว
เพียง 4 มิลลิเมตร ปลายเมล็ดมีพขู นสีขาว
ปลิ ว ตามลมได ไ กลขึ้ น ตามที่ โ ล ง แจ ง
ปาเบญจพรรณและปาดิบแลงเสือ่ มโทรม
หรื อ ตามพื้ น ที่ เ กษตร ที่ ร ะดั บ ตํ่ า กว า
1,300 เมตร ลงมา ชอบพืน้ ทีท่ มี่ ปี ริมาณ
นํ้ า ฝน 1,000-1,500 มิลลิ เ มตร/ป
ติดผลประมาณฤดูหนาว-รอน ถาแหงแลง
มากหรื อ ถู ก ไฟป า ต น อาจแห ง ตาย
แลวแตกหนอขึน้ มาใหมในฤดูฝน

37

10307 P.19-128.indd 37 10/8/2562 BE 17:02


วงศ ASTERACEAE 1

หนาดนอย
Conyza bonariensis var. leiotheca (S. F. Blake) Cuatrec.

ถิ่นกําเนิด : ทวีปอเมริกาใต
พืชลมลุก อายุปเดียว สูง 0.6-1.3 เมตร
ตามลําตนมีขนนุม ใบเรียวยาวมีหลายขนาด
ยาวไดถึง 15 เซนติเมตร ขอบใบเรียบ
หรือหยักหางๆ ชอดอกออกที่ปลายกิ่ง
จํานวนมาก สีขาว ปลายมีเกสรสีเหลือง-
นํ้าตาลแดง ติดผลเปนขนปุยฟู ปลิวตาม
ลมไดไกล พบมากตามไรราง

38

10307 P.19-128.indd 38 10/8/2562 BE 17:02


1 วงศ ASTERACEAE

หญŒาคออ‹อน
Crassocephalum crepidioides (Benth.) S. Moore

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปแอฟริกา
หรือผักเผ็ดแมว หรือผักกาดชาง พืชลมลุก
อายุปเ ดียว สูง 30-50 เซนติเมตร ลําตน
และใบเกลีย้ ง-มีขนประปราย ใบเรียงสลับ
รูปรี ยาว 7-12 เซนติเ มตร ปลายใบ
เรียวแหลม ขอบใบจักฟนเลือ่ ย หรือหยัก
เปนแฉกลึกแบบขนนก โคนใบสอบ เนือ้ ใบ
ออนนุม มีรสเผ็ดกินเปนผักได ชอดอก
ออกตามปลายกิง่ ปลายชอดอกมักจะออน
โคงงอลง ชอดอกเปนกระจุกทรงกระบอก
ยาว 1 เซนติเมตร กวาง 3-5 มิลลิเมตร
ไมมดี อกยอยวงนอก (ray floret) ดอกยอย
วงในสีสม-แดงอมนํ้าตาล โคนสีขาว ผล
แตกเปนขนปุยนุนสีขาว ทรงกลม กวาง
2.5 เซนติเมตร ปลิ วไปตามลมไดดี ,
ชอบขึน้ ตามไรรา ง ไรเลือ่ นลอย บนภูเขาสูง
ตามชายปาดงดิบ ปาเบญจพรรณชืน้ หรือ
พื้นที่ตํ่าที่มีความชื้นสูง ที่ระดับความสูง
ไมเกิน 1,300 เมตร

39

10307 P.19-128.indd 39 10/8/2562 BE 17:02


วงศ ASTERACEAE 1

หญŒาคออ‹อนม‹วง
Crassocephalum rubens (Juss. ex Jacq.) S. Moore

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนและกึง่ รอนในทวีป


แอฟริกา
ลักษณะทัว่ ไปคลาย หญาคอออน (หนา 39)
แตดอกมีสมี ว งอมฟาออน หายากทีม่ สี ชี มพู
ชอบขึน้ ตามพืน้ ทีเ่ กษตร ไรรา งบนภูเขาสูง
มากกวา 500 เมตร หรือตามชายปาดงดิบ
ที่ ร ะดั บความสู ง ไมเ กิ น 2,000 เมตร
ขณะนีแ้ พรระบาดในภาคเหนือในจังหวัด
ที่ติดตอกับประเทศเมียนมาร และพบที่
มณฑลยูนานดวย มีแนวโนมแพรไปสู
พื้นที่ภูเขาสูงทั่วประเทศได

40

10307 P.19-128.indd 40 10/8/2562 BE 17:02


1 วงศ ASTERACEAE

ทหารกลŒา
Galinsoga parviflora Cav.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
พืชลมลุก อายุปเ ดียว สูง 30-50 เซนติเมตร
คลายตนสาบเสือ แตตามกิง่ กานใบ กาน
ชอดอกเกลี้ยง-มีขนประปราย ใบเกลี้ยง
ใบรูปหอก หรือรูปไข ยาว 2-5 เซนติเมตร
กวางไมเกิน 3 เซนติเมตร มีเสนใบออก
จากโคน 3 เสน ขอบใบหยัก เสนใบดานบน
กดเปนรองชัดเจน ชอดอกออกเปนกระจุก
ทีป่ ลายกิง่ มีชอ ดอกยอยเปนกระจุกกลม
3-7 ชอ/กระจุก กวาง 3-5 มิลลิเมตร
เกสรสีเหลือง และมีกลีบดอกสีขาวลอม
5-7 กลีบ ยาว 1-2 มิลลิเมตร คลายดอก
ตนตีนตุกแก (Tridax procumbens),
(หนา 48) ชอบขึน้ ตามไรรา ง พืน้ ทีเ่ กษตร
ทีส่ งู หรือชายปาทีค่ อ นขางชุม ชืน้ มีชนั้ ดิน
ลึก, ทีร่ ะดับความสูงไมเกิน 2,500 เมตร

41

10307 P.19-128.indd 41 10/8/2562 BE 17:02


วงศ ASTERACEAE 1

ทหารกลŒาใบขน
Galinsoga quadriradiata Cav.

ถิ่นกําเนิด : ทวีปอเมริกาตอนกลาง
พืชลมลุก อายุปเ ดียว คลายตนทหารกลา
มาก (หนา 41) แตกตางกันทีต่ ามกิง่ ออน
กานใบ กานชอดอกมีขนยาวสีขาวหนา
แนน แผนใบมีขนตามเสนใบดานลาง
ใบรูปไข-ไขกวาง กวาง 2-5 เซนติเมตร
ขอบใบหยักคอนขางลึกกวา, ขึน้ ตามสภาพ
แวดลอมเชนเดียวกับตนทหารกลา

42

10307 P.19-128.indd 42 10/8/2562 BE 17:02


1 วงศ ASTERACEAE

ขี้ไก‹ย‹าน
Mikania micrantha Kunth

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
ไม เ ถาล ม ลุ ก อายุ ห ลายป ยาวได ถึ ง
20 เมตร ตามเถาและกิ่งมีขนสั้นสีขาว
ประปราย-หนาแนน ใบเรียงตรงกันขาม
รูปไขหรือแกมรูปสามเหลี่ยม ยาว 4-10
เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบหยัก
หางๆ โคนใบรูปหัวใจหรือหยักเงี่ยงหอก
มีเสนแขนงใบออกจากโคนใบ 3-5 เสน
แผนใบออนนุม ผิวเกลี้ยง ชอดอกแบบ
แยกแขนง มีชอ ดอกยอยออกหางๆ คลาย
ชอดอกตนสาบเสือ ชอดอกยอยเปนกระจุก
สีขาว กวางประมาณ 3 มิลลิเมตร เมล็ด
ขนาดเล็ก ยาว 2 มิลลิเมตร ปลายเมล็ด
มีพูขนสีขาว ทําใหปลิวตามลมไดไกล,
เจริญเติบโตไดรวดเร็วมาก ชอบขึน้ ตามที่
โลงแจง หรือชายปาและมีสภาพอากาศ
ที่คอนขางชื้น-ชื้นมาก เชน ตามชายปา
ดงดิบ ริมนํ้า หรือในพื้นที่หุบเขา ขึ้นได
ในพื้ น ที่ ที่ มี ป ริ ม าณนํ้ า ฝนเกิ น กว า
1,000 มิลลิเมตร/ปขึ้นไป และที่ความ
สูงไมเกิน 1,000 เมตรจากระดับนํา้ ทะเล
รากและซากพืชที่รวงสูพื้นดินสามารถ
ปลอยสารพิษตอพืชขางเคียง (allelopathy)
โดยจะไปยับยั้งการงอกของเมล็ดและ
การเจริญเติบโตของพืชอืน่ ๆ ทําใหออ นแอ
ลงและถูกคลุมจนตาย
43

10307 P.19-128.indd 43 10/8/2562 BE 17:02


วงศ ASTERACEAE 1

สาบแมว
Praxelis clematidea (Griseb.) R. M. King & H. Rob.

ถิ่นกําเนิด : ทวีปอเมริกาใต
พืชลมลุก อายุปเ ดียว สูง 20-60 เซนติเมตร
กิ่ง กานใบ และทองใบมีขนสั้น-ยาวหนา
แนนคลายตนสาบแรงสาบกา (หนา 34)
แผนใบดานบน มีรอยกดตามแนวเสนใบ
เล็ก น อ ย ใบมี ก ลิ่ นคล า ยป ส สาวะแมว
เมื่อขยี้ใหมๆ ชอดอกสีชมพูอมมวง กวาง
4-5 มิ ล ลิ เ มตร ผลแกจะฟู ก ลม กว า ง
1-1.5 เซนติเมตร ระบาดไปทั่วประเทศ
ไทยมานานมากแลว ตามไร คันนา สวน
ยางปลู ก ใหม ที่ ร กรา ง ปา เสื่ อ มโทรม
ชายปา ทุงหญา พบปะปนกับสาบแรง
สาบกา แตจะทนแลงไดดีกวาและพบ
หนาแนนและบอยกวาอีกดวย หลายคน
สับสนเขาใจวาเปนชนิดเดียวกัน พบขึ้น
ไดที่ระดับความสูงตํ่ากวา 1,500 เมตร
ลงมา

44

10307 P.19-128.indd 44 10/8/2562 BE 17:02


3 วงศ ASTERACEAE

กระดุมทองเลื้อย
Sphagneticola trilobata (L.) Pruski

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
พื ช ล ม ลุ ก ทอดเลื้ อ ยตามพื้ น ดิ น อายุ
หลายป ยาวไดถึง 5 เมตร ลําตน และใบ
เกลี้ยงหรือมีขนสากประปราย ใบเรียง
ตรงกั น ข า ม ใบรู ป ไข ห รื อ หยั ก สามพู
เล็กนอย ยาว 2-6 เซนติเมตร ขอบใบ
หยักเล็กนอย ชอดอกเปนกระจุกกลม
ออกเดี่ยว กวาง 1-1.5 เซนติเมตร กลีบ
ดอกวงนอกสีเหลือง มี 4-8 กลีบ รูปขอบ
ขนาน ยาว 1.5-2 เซนติเมตร ปลายหยัก
2-3 พู ดอกวงในและเกสรสีเหลือง เมล็ด
รูปไข ยาว 3-5 มิลลิเมตร ไมมีพูขนที่
ปลาย, มักเปนพืชที่นําไปปลูกประดับ
คลุมดิน แตจะขยายพันธุแบบเลื้อยยาว
ออกไปหรื อ การขาดของกิ่ ง ได ดี ต าม
พื้นที่ชื้น ในปาดงดิบชื้น ปาดิบเขา หรือ
ตามริมรองนํ้า, และมีการปลอยสารเคมี
ใส พื ช ชนิ ด อื่ น จนตายแล ว แผ ป กคลุ ม
อยางหนาแนน

45

10307 P.19-128.indd 45 10/8/2562 BE 17:02


วงศ ASTERACEAE 2

ผักแครด
Synedrella nodiflora (L.) Gaertn.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
พืชลมลุก อายุหลายป สูง 10-80 เซนติเมตร
ใบคลายสาบเสือ แตขอบใบไมหยักมาก
ผิวใบทัง้ สองดานมีขนสากคายมือ กานใบ
ยาวนอยกวา 1 เซนติเมตร ดอกออกเปนชอ
กระจุกขนาดเล็กที่ซอกใบและปลายกิ่ง
ไมมกี า นชอดอก ชอดอกกวาง 3-6 มิลลิเมตร
มีกลีบดอกวงนอกสีเหลือง 4-10 กลีบ
ยาวประมาณ 2 มิลลิเมตร พบมากตาม
ไรรา ง ชายปาทีต่ ดิ กับพืน้ ทีเ่ กษตร ทีร่ ะดับ
ความสูงไมเกิน 1,000 เมตร สามารถ
ทนทานรมเงา และขึ้นแทรกกับวัชพืช
อื่นๆ ไดดี เนื่องจากมีสาร allelopathy

46

10307 P.19-128.indd 46 10/8/2562 BE 17:02


1 วงศ ASTERACEAE

บัวตอง
Tithonia diversifolia (Hemsl.) A. Gray

ถิ่นกําเนิด : ทวีปอเมริกาตอนกลาง
ไมพุมกึ่งพืชลมลุก อายุหลายป ตนสูง
1-3 เมตร ใบรูปไข ยาว 3-6 นิ้ว มีขน
สาก ขอบใบหยั ก เปนแฉก 3-7 แฉก
ดอกคลายดอกทานตะวันสีเหลืองเขม
เมื่อบานกวาง 3-4 นิ้ว, ออกดอกชวงตน
ฤดูหนาว ตนจะแหงเหี่ยวไปในฤดูแลง
แล ว แตกขึ้ น มาใหม จ ากเหง า ใต ดิ น ใน
ชวงฤดูฝน ทนตอไฟปาไดดี, ชอบอากาศ
ชื้นและเย็นบนภูเขาสูงตั้งแต 500 เมตร
ขึ้นไป จะขยายพันธุไดดีทั้งจากการแตก
หนอและเมล็ด พืชกลุมนี้มีการปลอย
สารเคมีจากรากและซากพืชที่รวงสูพื้น
ดินทําใหพืชอื่นๆ ออนแอ จนพวกมัน
สามารถปกคลุมพืชอื่นๆ ไดอยางรวดเร็ว
เปนผืนแผกวาง, บัวตองนิยมปลูกประดับ
ตามชุ ม ชนบนภู เขาแล ว แผ ข ยายออก
เปนวงกวางจนยากที่จะควบคุม

47

10307 P.19-128.indd 47 10/8/2562 BE 17:02


วงศ ASTERACEAE 1

ตีนตุกแก
Tridax procumbens L.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
พืชลมลุกทอดเลือ้ ยตามพืน้ ดิน อายุปเ ดียว
ตนสูงไมเกิน 30 เซนติเมตร ลําตน กานใบ
และใบมีขนสากคาย ใบเรียงตรงกันขาม
รูปไข ยาว 2-4 เซนติเมตรปลายใบแหลม
ขอบใบหยัก โคนใบสอบ ชอดอกชูตั้งขึ้น
กานชอดอกยาว 10-30 เซนติเมตร ชอ
ดอกเปนกระจุกกลม กวาง 6-7 มิลลิเมตร
มีกลีบดอกวงนอกสีขาว ยาว 3-5 มิลลิเมตร
ปลายจักลึก 2-3 พู มีดอกวงในและ
เกสรสีเหลือง ชอผลแกเมล็ดจะแตกฟูเปน
ทรงกลม กวาง 1.5-2 เซนติเมตร เมล็ด
ยาว 2 มิลลิเมตร ปลายมีพขู นจํานวนมาก,
ชอบขึ้นตามที่โลงขางทาง หรือชายปา
ที่ระดับความสูงไมเกิน 1,000 เมตร
พบมากทางตอนบนของประเทศ

48

10307 P.19-128.indd 48 10/8/2562 BE 17:02


1 วงศ CACTACEAE

เสมา
Opuntia elatior Mill.
ถิน่ กําเนิด : ทวีปอเมริกาตอนกลาง และ
ตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต
ไมพุม สูงไดถึง 3 เมตร เปนพืชตระกูล
ตะบองเพชร ลําตนเปนแผนแบน มีรอย
คอดเปนขอ แตละปลองรูปไขกลับ ยาว
20-30 เซนติเมตร มีหนามแหลมคมมาก
(ปวดมากคลายถูกเงีย่ งปลาแทง) ยาวไดถงึ
2 นิ้ว ดอกสีสมอมแดง ผลสุกสีแดงคลํ้า
เปนพืชที่ทนแลง ขยายพันธุไดเองตาม
ธรรมชาติ เป น กลุมหนาแนน บนพื้นที่
แหงแลงมีดินปนทราย หรือหนาผาหิน
บนภูเขาหินชนิดตางๆ พบมากตามจังหวัด
นครปฐม ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรขี นั ธ
และชลบุรี กระจายพันธุไดดีดวยเมล็ด
มีพาหะเปนนก คางคาว สัตวเลีย้ งลูกดวย
นมขนาดเล็ก เพราะผลมีรสหวาน มีเมล็ด
จํานวนมาก และยังสามารถแตกหนอ
จากกิ่งที่ถูกตัดฟนแลวหลนลงสูพื้นดิน
ไดดีอีกดวย

49

10307 P.19-128.indd 49 10/8/2562 BE 17:02


วงศ COMMELINACEAE 3

กŒามปูหลุด
Tradescantia zebrina Heynh.

ถิ่นกําเนิด : ประเทศแม็กซิโก
พืชลมลุก ทอดเลือ้ ยตามพืน้ ดิน ปลายกิง่ ชูขนึ้
สูงไมเกิน 30 เซนติเมตร ลักษณะคลายผัก
ปราบ ลําตนอวบนํา้ หนา 0.5 เซนติเมตร
มีขอปลอง ใบเรียงสลับซาย-ขวา รูปไข
สีมวงอมนํ้าตาล มีแถบสีเงิน 1 แถบตาม
แนวยาวในแตละดานของแผนใบ ดอกสี
ชมพู, เปนไมประดับปลูกคลุมดิน ชอบขึน้
ในที่รําไร-แสงแดดจัดและมีความชื้นสูง
หากปลูกในทีอ่ ากาศชืน้ สูงเชน ในภาคใต
หรือตามริมหวย จะแพรขยายพันธุอยาง
รวดเร็ว แมบนภูเขาหินปูนก็ตาม

50

10307 P.19-128.indd 50 10/8/2562 BE 17:02


3 วงศ CYPERACEAE

กกรังกา
Cyperus involucratus Rottb.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปแอฟริกา
และตะวันออกกลาง
พืชนํ้าลมลุก สูง 1-2 เมตร ลําตนเหนือ
ดินคอนขางเปนสามเหลีย่ มมน ผิวเกลีย้ ง
เปนมัน หนา 1-1.5 เซนติเมตร ใบประดับ
ออกเปนกระจุกที่ปลายลําตนคลายซี่รม
15-20 ใบ แตละใบยาว 20-30 เซนติ
เมตร กวาง 1 เซนติเมตร ชอบขึ้นตามที่
ชุมนํ้าหรือริมลําธาร หรือถูกปลูกเพื่อใช
เปนไมประดับ หรือสานเสื่อ

51

10307 P.19-128.indd 51 10/8/2562 BE 17:02


วงศ EUPHORBIACEAE 3

ใบต‹างดอก
Euphorbia cyathophora Murr.

ถิน่ กําเนิด : ทวีปอเมริกาตอนกลาง และ


ประเทศสหรัฐอเมริกาตอนใต
พืชลมลุก สูง 0.3-5 เมตร ลําตนกลวง
มีนาํ้ ยางสีขาวขุน ลักษณะคลายกับหญายาง
(หนา 53) มีจุดเดนตรงใบที่ปลายกิ่ง
กอนออกดอกจะมีสีแดงแตมชวงโคนใบ
ดูคลายตนคริสตมาส กระจายตามธรรมชาติ
ไปทัว่ ประเทศไทยมานานมากแลว ขึน้ ใน
สภาพแวดลอมเหมือนกับหญายาง ตาม
ข างทาง ที่ร กรา ง ที่ แ หง แล ง หรือ ป า
ชายหาด มักพบขึ้นเปนกลุม

52

10307 P.19-128.indd 52 10/8/2562 BE 17:02


1 วงศ EUPHORBIACEAE

หญŒายาง
Euphorbia heterophylla L.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
พืชลมลุก สูง 0.3-1 เมตร ลําตนกลวง
มีนํ้ายางสีขาวขุน เกลี้ยง มีขนที่ปลายกิ่ง
ประปราย ใบเรียงเวียน รูปรี รูปไขกลับ
หรือคลายไวโอลิน ยาว 3-10 เซนติเมตร
ปลายแหลม เนื้อออนนุม เกลี้ยง ชอดอก
เปนกระจุก ไรกานชอดอก สีเขียว ออก
ที่ปลายกิ่ง ติดผลงาย มีเมล็ดขนาดเล็ก
จํานวนมาก, ขึ้นตามที่รกราง กลางแจง
พื้นที่เกษตรทั่วไป หรือชายปาดงดิบหรือ
ปาเบญจพรรณ ที่ระดับความสูงไมเกิน
1,300 เมตร

53

10307 P.19-128.indd 53 10/8/2562 BE 17:02


วงศ EUPHORBIACEAE 2

นํานมราชสีห
Euphorbia hirta L.

ถิ่ นกํ า เนิ ด : ทวี ป อเมริก าตอนกลาง


พื ช ล ม ลุ ก อายุ ป  เ ดี ย ว ต น ตั้ ง ตรงสู ง
15-50 เซนติ เ มตร มี นํ้า ยางสีข าวขุ  น
ตามสวนตางๆ มีขนสั้น ใบเดี่ยว เรียง
ตรงกันขาม ใบรูปขอบขนานหรือรูปรี
และไมสมมาตร ยาว 1-4 เซนติเมตร
โคนใบเบี้ย ว ขอบเรีย บ-หยั ก เล็ ก น อ ย
แผนใบดานบนอาจมีสแี ดงอมนํา้ ตาลแตม
ทีก่ ลางแผน กานใบยาว 1-3 มิลลิเมตร
ชอดอกออกกระจุกคอนขางกลม ออกตาม
ซอกใบ สีเขียวหรือแตมสีมวงอมนํ้าตาล
ติดเมล็ดขนาดเล็กจํานวนมาก ชอบขึ้น
ทั่วไปตามที่โลง ไรนา ขางถนน แทรกอยู
กั บหญา ตามพื้ นดิ น ทนแลง ได ดี ขึ้นที่
ระดับความสูงไมเกิน 1,000 เมตร

10307 P.19-128.indd 54 10/8/2562 BE 17:02


3 วงศ EUPHORBIACEAE

นํานมราชสีหเล็ก
Euphorbia thymifolia L.

ถิ่ น กําเนิ ด : ทวีปอเมริ กาตอนกลาง


พื ช ล ม ลุ ก ทอดเลื้ อ ยแนบกั บ ผิ ว ดิ น
สู ง ไม เ กิ น 3 เซนติ เ มตร ต น มี นํ้ า ยาง
สีขาวขุน คลายตนนํา้ นมราชสีห แตมขี นาด
เล็ ก มาก กิ่ ง ก า นมี สี อ อกม ว งอมชมพู
ใบรู ป ไข ยาว 3-5 มิลลิ เ มตร ติดผล
ขนาดเล็ ก จํา นวนมาก พบไดบอยมาก
แตเพราะมีขนาดตนเล็กจึงไมมผี สู นใจนัก
ชอบขึ้นกลางแจงตามดินลูกรังมีกรวด
หรื อ ทรายปน ตามซอกบล็อกหรืออิฐ
ฟุ ต บาท ในเขตเมืองก็พบไดมาก

55

10307 P.19-128.indd 55 10/8/2562 BE 17:02


วงศ EUPHORBIACEAE 2

สบู‹แดง
Jatropha gossypifolia L.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
พื ชลม ลุ ก อายุ ห ลายป ตนอวบนํ้ า สู ง
0.4-1 เมตร มีนาํ้ ยางสีขาว ตามกิง่ กานใบ
และขอบใบมีขนแบบปลายมีตอมเหนียว
ยอดออนสีนาํ้ ตาลอมมวง ใบหยัก 3-5 แฉก
กวาง 3-6 นิ้ ว ดอกสี แ ดง ผลมี 3 พู
คลายผลยางพารา ยาว 1-2 เซนติเมตร
สีเขียว, เปนพืชทนแลงไดดี พบมากตาม
ทีร่ กราง ขางทาง ทีโ่ ลง พืน้ ทีด่ นิ ปนทราย
หรือปนหิน เชน ตามไรราง สันเขื่อน
พื้นที่ทายอางเก็บนํ้า ทุงหญาเลี้ยงสัตว
ขยายพันธุไดดีดวยเมล็ด

56

10307 P.19-128.indd 56 10/8/2562 BE 17:02


3 วงศ EUPHORBIACEAE

มันสําปะหลังป†า
Manihot esculenta Crantz

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
เปนมันสําปะหลังพันธุปาดั่งเดิมที่ถูกนํา
เขามาในประเทศไทยแตแรก แลวสามารถ
ปรับตัวใหขยายพันธุไ ดเองตามธรรมชาติ
ลั ก ษณะทั่ ว ไปคล า ยมั น สํ า ปะหลั ง พื ช
เกษตรมาก แตจะมีกานใบสีแดง หัวเล็ก
เนือ้ ไมขม มีการออกดอกและติดเมล็ดไดดี
กระจายพันธุดวยเมล็ด ปจจุบันมีการ
ระบาดตามชายปาดงดิบชืน้ ขอบสวนยาง
ไหลทางหรือตามริมหวยในภาคใตและ
ภาคตะวันตก เนื่องจากสายพันธุนี้ชอบ
ความชื้นสูง ทนตอรมเงาไดดี

57

10307 P.19-128.indd 57 10/8/2562 BE 17:02


วงศ EUPHORBIACEAE 2

ละหุ‹ง
Ricinus communis L.

ถิ่นกําเนิด : ทวีปแอฟริกา
พืชลมลุกกึง่ ไมพมุ สูง 2-5 เมตร มีนาํ้ ยาง
สีขาวขุน กิ่งออนและใบออนมีนวลขาว
และมักมีสีมวงแดงไมมากก็นอย ใบรูป
ฝามือ กวาง 30-50 เมตร หยัก 7-11 พู
ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบหยัก กานใบ
ยาว 20-40 เซนติเมตร ดอกออกเปนชอ
ตามปลายกิ่ ง ตั้ ง ขึ้ น สู ง ประมาณ 30
เซนติเมตร ดอกสีเขียวออน ผลมีสามพู
ผิวมีหนามหนาแนน เมล็ดคลายเมล็ด
ยางพารา มีลาย, ชอบขึ้นตามที่โลงและ
รกราง ในเขตทีม่ ชี นั้ ดินลึก ทีร่ ะดับความสูง
ไมเกิน 1,000 เมตร

58

10307 P.19-128.indd 58 10/8/2562 BE 17:02


1 วงศ FABACEAE

กระถินณรงค
Acacia auriculiformis A. Cunn. ex Benth.

ถิ่นกําเนิด : ตอนเหนือของทวีป
ออสเตรเลีย เกาะนิวกีนี
และประเทศอินโดนีเซียดานตะวันออก
ไมตน ไมผลัดใบ สูง 7-15 เมตร มีลกั ษณะ
คลายกระถินเทพามาก (หนา 62) แตมี
การแตกกิ่งตํ่า ลําตนคดงอ เปลือกแตก
เปนรองตามแนวยาว ใบแคบกวา ปกติ
กวาง 1.5-3.5 เซนติเมตร เปนพืชที่
นิยมปลูกและใชประโยชนคลายกระถิน
เทพา แตสามารถขึน้ ในพืน้ ทีแ่ หงแลงกวา
ไดดี ชอบขึ้นในพื้นที่ดินปนทราย หรือ
ดินเหนียวที่เปนกรด ทนตอนํ้าทวมขัง
มีการขยายพันธุไดเองตามธรรมชาติไดดี
ซากพืชทีร่ ว งหลนมีแทนนินสูงมากเชนกัน
พบระบาดมากตามคันนา ทีร่ กรางในเขต
กรุงเทพฯ และปริมณฑล และฉะเชิงเทรา
ปราจีนบุรี และพบบางในพื้นที่ใกลชาย
ทะเลของภาคใต และพื้นที่ดินปนทราย
ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

10307 P.19-128.indd 59 10/8/2562 BE 17:02


วงศ FABACEAE 3

กระถินเงิน
Acacia colei Maslin & L. A. J. Thomson

ถิ่นกําเนิด : ตอนเหนือของทวีป
ออสเตรเลีย
ไมตน ไมผลัดใบ สูง 5-10 เมตร มีลกั ษณะ
คลายกระถินณรงค (หน า 59) และ
กระถินเทพา (หนา 62) มาก แตใบและ
กิ ่ ง มี ไขเคลื อ บเป น สี ข าวเงิ น ฝ ก แคบ
กวามาก กวางนอยกวา 1 เซนติเมตร
นําเขามาปลูกในเขตคันดินชลประทาน
ทีด่ นิ ไมสมบูรณในบางจังหวัด แตสามารถ
ขึน้ และขยายพันธุไ ดดใี นพืน้ ทีด่ นิ ปนทราย
และทนอากาศแหง แลง ได ด ี ปจจุ บ ั น
พบมี ก ารขยายพั น ธุ ต ามธรรมชาติ บ น
เนิ น ดิ น ทรายใกล ช ายทะเลที่ จั ง หวั ด
นราธิวาส และเนินดินทรายบางแหงใน
จังหวัดนครราชสีมา

60

10307 P.19-128.indd 60 10/8/2562 BE 17:02


2 วงศ FABACEAE

ดอกคําใตŒ
Acacia farnesciana (L.) Willd.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
ไมพมุ สูง 1-3 เมตร ตามกิง่ มีหนามแหลม
ยาวไดถึง 1 นิ้ว ใบประกอบแบบขนนก
2 ชั้น คลายกระถิน แตมีขนาดเล็กกวา
ชอใบยาว 2-3 นิว้ ดอกคลายดอกกระถิน
สีเหลืองเขม มีกลิน่ หอม ฝกรูปทรงกระบอก
โคงเล็กนอย ยาว 2-3 นิ้ว เมื่อแกมีสีดํา
สามารถแพร ก ระจายพั น ธุ  ไ ด เ องใน
ธรรมชาติ ตามที่รกราง ดินทรายหรือ
เหมืองหินเกา ทุงหญาทายอางเก็บนํ้า
ทนแลงและทนนํา้ ทวมไดดี ปศุสตั วจะกิน
ใบและฝกเปนพาหะแพรกระจายเมล็ด

61

10307 P.19-128.indd 61 10/8/2562 BE 17:02


วงศ FABACEAE 1

กระถินเทพา
Acacia mangium Willd.

ถิ่นกําเนิด : ตอนเหนือของทวีป
ออสเตรเลีย เกาะนิวกินี
และประเทศอินโดนีเซียดานตะวันออก
ไมตน ไมผลัดใบ สูง 10-20 เมตร ลําตน
เปลาตรง เปลือกแตกเปนสะเก็ดมน กิ่ง
เกลีย้ งเปนเหลี่ยม ใบเดี่ยว เรียงเวียน รูป
หอกและโคง กวาง 3-7 เซนติเมตร ยาว
13-20 เซนติเมตร ปลายและโคนใบเรียว
แหลม มีเสนใบตามแนวยาว 3-4 เสน
ผิวเกลี้ยง ชอดอกคลายหางกระรอก สี
เหลือง-ขาว ยาว 10 เซนติเมตร ฝกแบน
รูปแถบยาวไดถึง 15 เซนติเมตร กวาง
1-1.5 เซนติเมตร ขดมวนกลม, เปนพืชที่
นิยมปลูกฟนฟูปาหรือใชไม ในพื้นที่ที่มี
ปริมาณนํา้ ฝนมากกวา 1,500 มิลลิเมตร/ป
มีระดับความสูงไมเกิน 500 เมตร และ
เปนดินลูกรังเปนกรด หรือดินปนทราย
จะมีการขยายพันธุไ ดเองตามธรรมชาติไดดี
ประกอบกับซากพืชที่รวงหลนมีแทนนิน
สูงมากจนยับยั้งการงอกและการเติบโต
พืชชนิดอื่น ยกเวนกลาไมของมันเอง จน
ทําใหกระถินเทพาแผกระจายปกคลุมพืน้ ที่
รกราง เหมืองเกา ปาชายหาดในภาคใต
และในเขตจั ง หวั ด จั น ทบุ รี แ ละตราด
หลายแหง, พาหะทีส่ าํ คัญคือ มนุษย และ
นกซึ่งชอบกินเยื้อหุมเมล็ดสีสมและขับ
ถายเมล็ดไปรวงที่อื่นๆ
62

10307 P.19-128.indd 62 10/8/2562 BE 17:02


1 วงศ FABACEAE

โสนเขา
Aeschynomene americana L.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
ไมพุมกึ่งพืชลมลุก อายุหลายป ตนสูง
0.3-2 เมตร ตามลําตน ชอดอก และ
กานใบมีขนแบบปลายมีตอมเหนียวมือ
มีหูใบรูปหอก ยาว 1 เซนติเมตร ติดทน
ใบประกอบแบบขนนกชัน้ เดียว มีใบยอย
15-20 คู ใบยอยรูปแถบ ยาว 8-10 มิลลิ
เมตร คลายใบผักกระเฉดแตจะไมหุบใบ
เมือ่ สัมผัส ยอดออนมีสแี ดง ดอกคลายดอก
โสน สีเหลืองคลํา่ หรืออมชมพู มีเสนกลีบ
สีแดง และมีจดุ แตมทีโ่ คนกลีบบนสีเหลือง
ติดฝกแบนโคงและคอดเปนปลองขนาด
เล็ก ยาว 2-3 เซนติเมตร ชอบขึ้นเปน
กลุม ใหญ ตามทีโ่ ลงในพืน้ ทีเ่ กษตร ชายปา
ผลัดใบและปาดงดิบ ทีร่ ะดับความสูงนอย
กวา 1,000 เมตร ลงมา

63

10307 P.19-128.indd 63 10/8/2562 BE 17:02


วงศ FABACEAE 2

จามจุรี
Albizia saman (Jacq.) Merr.

ถิ่นกําเนิด : ตอนเหนือของทวีป
อเมริกาใต
หรือก า มปู หรื อ ฉํ า ฉา ไม ต  น สู ง ได ถึ ง
30 เมตร เรือนยอดแผกวางคลายรม
แตกกิ่งตํ่า เปนไมโตเร็วชอบขึ้นตามที่
รกราง ที่มีดินอุดมสมบูรณ หรือชายนํ้า
ทัง้ ในเขตเมือง ชนบท และชายปา เมือ่ โต
ขึ้นมาแลวจะมีเรือนยอดแผปกคลุมแสง
ตนไมอื่นไดดีมากจนใตเรือนยอดของมัน
มีพรรณไมอื่นๆ ขึ้นไดเบาบาง เปนพืชที่
คนไทยมีการใชประโยชนไดหลายดาน
แต สํ า หรั บ ในพื้ น ที่ ร ะบบนิ เ วศป า ไม
ถือวาทําใหปาขาดความหลากหลายทาง
ชีวภาพตามธรรมชาติ

64

10307 P.19-128.indd 64 10/8/2562 BE 17:02


2 วงศ FABACEAE

ถั่วลาย
Centrosema pubescens Benth.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
หรือถัว่ เซนโตรซีมา เปนไมเถาลมลุก อายุ
ปเดียว ยาวไดถึง 3 เมตร ใบประกอบ
มี 3 ใบยอย เถามีขนสาก ดอกสีมว งออน
หรือชมพูออน ลักษณะคลายดอกอัญชัน
กว า งประมาณ 4 เซนติเ มตร ฝก เปน
แทงแบนเรียวยาว 15-20 เซนติเมตร
สามารถปลูกเปนพืชคลุมดินหรืออาหาร
สัตวได เมล็ดกินได มักพบตามที่รกราง
กลางแจงทั่วไป

65

10307 P.19-128.indd 65 10/8/2562 BE 17:02


วงศ FABACEAE 2

หิ่งเม‹น
Crotalaria pallida Aiton

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปแอฟริกา
พื ชลม ลุ ก อายุ ป เ ดี ย วหรื อ หลายป สู ง
0.4-1 เมตร ตามกิง่ ชอดอก กานใบ และ
ทองใบมีขนไหมสีขาวแนนติดกับผิว ใบ
ประกอบมี 3 ใบยอย รูปรี-ไขกลับ ยาว
3-6 เซนติเ มตร ปลายใบมน ช อ ดอก
แบบกระจะ เปนแทงตั้งขึ้นยาว 30-40
เซนติเมตร ดอกสีเหลือง (คลายดอกปอ
เทือง แตใบปอเทืองจะเปนใบเดี่ยว) มี
กลีบดอกยาวประมาณ 1 เซนติเมตร มี
ลายของเสนกลีบดอกสีแดง ฝกรูปทรง
กระบอกหอยลง ยาว 1.5-2 นิ้ว กวาง
1 เซนติเมตร พบขึ้นตามที่รกราง ในที่
โลงแจงทั่วไป ทุงหญาที่มีการเลี้ยงสัตว
พืน้ ทีท่ า ยอางเก็บนํา้ ใชเปนอาหารสัตวได
ขยายพันธุไดดีดวยเมล็ดโดยมีปศุสัตว
เปนพาหะ

66

10307 P.19-128.indd 66 10/8/2562 BE 17:02


3 วงศ FABACEAE

ถั่วไมยรา
Desmanthus virgatus Willd.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
ไมพมุ รอเลือ้ ย ยาว 0.5-1.5 เมตร ลักษณะ
ทัว่ ไปคลายกระถิน แตจะมีขนาดเล็กกวา
ดอกเปนชอขนาดเล็กสีขาว มีดอกยอย
จํานวนนอย ฝกเปนแทงดานขางแบน
ยาวประมาณ 15 เซนติเมตร สีแดงอม
นํา้ ตาล แกสนี าํ้ ตาล ถูกนําเขามาเปนอาหาร
สัตว พบมากตามภาคตะวันตก และพบ
บางในภาคใต แตชอบภูมอิ ากาศทีแ่ หงแลง
ของประเทศไทยตอนบนมากกวา

67

10307 P.19-128.indd 67 10/8/2562 BE 17:02


วงศ FABACEAE 1

กระถินยักษ
Leucaena leucocephala (Lam.) de Wit

ถิ่นกําเนิด : ทวีปเอมริกาตอนกลาง
และทวีปอเมริกาใต
ไมตน ไมผลัดใบ สูง 7-20 เมตร (เปนชนิด
เดียวกันกับกระถินบาน แตตางกันเพียง
สายพันธุ (cultivat) ปกติจะสูงนอยกวา
4 เมตร) ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น
ใบย อ ยรู ป ขอบขนาน ยาวประมาณ
1 เซนติเมตร ผิวเกลีย้ ง มีดอกเปนชอทรง
กลมสีขาว กวาง 2 เซนติเมตร ติดฝก
แบนรู ป แถบยาว 10-20 เซนติ เ มตร
กวาง 2 เซนติเมตร มี 15-30 เมล็ด/ฝก
ชอบขึ้นตามที่รกราง ที่เปดโลงทั่วไป ทั้ง
ในเขตเมืองและชนบท ปาเบญจพรรณ
และปาดงดิบแลงที่เสื่อมโทรมหรือตาม
ชายขอบปา และระบาดมากในบางพื้นที่
อนุรกั ษทเี่ คยนําเขาไปปลูกปา ขึน้ ในพืน้ ที่
ระดับตํ่าจนถึง 500 เมตร จากระดับนํ้า
ทะเล ออกดอกและติ ด ผลตลอดทั้ ง ป
ชอบสภาพภูมิอากาศที่มีปริมาณนํ้าฝน
600-2,000 มิลลิเมตร/ป และมีชวง
ฤดูแลงที่ยาวนานมากกวา 4 เดือน เชน
เขตประเทศไทยตอนบน สวนภาคใตพบ
ระบาดนอย ไมทนทานตอพื้นที่นํ้าทวม
และดินชื้นแฉะในชวงฤดูฝน ตอที่ถูกตัด
หรือลมสามารถแตกหนอไดดี การกําจัด
จะตองขุดรากถอนโคน หรือใชสารฆาตอ
68

10307 P.19-128.indd 68 10/8/2562 BE 17:02


1 วงศ FABACEAE

ไมยราบเลื้อย
Mimosa diplotricha C. Wright ex Sauvalle

ถิ่นกําเนิด : ทวีปอเมริกาใต
ไมเถา ยาวไดถึง 5 เมตรมีลักษณะคลาย
ตนไมยราบ (หนา 71) แตมีลําตนเปน
เหลี่ยม สีเขียวออน มีขนหนาแนน และมี
หนามแหลมคมจํ า นวนมากแต เ ปราะ
หักงาย ใบประกอบแบบขนนกสองชั้น
ชอใบยอย 3-6 คู ชอดอกเปนชอกลม
สี ช มพู ออกที่ ป ลายกิ่ ง มี ช  อ ดอกย อ ย
จํา นวนมาก ฝ ก ยาว 2-3 เซนติเ มตร
ชอบขึ้นตามที่โลงและชายปา ขึ้นไดดี
ทั้งในพื้นที่ปาผลัดใบและชายปาดงดิบ
เปนกลุมหนาแนนทําใหเกิดไฟปารุนแรง
แตมีเหงาสามารถทนไฟไดดี พบไดทั่ว
ประเทศ ที่ความสูงไมเกิน 1,300 เมตร

69

10307 P.19-128.indd 69 10/8/2562 BE 17:02


วงศ FABACEAE 1

ไมยราบยักษ
Mimosa pigra L.

ถิ่นกําเนิด : ทวีปอเมริกาใต
ไมพุม อายุยืน สูง 2-4 เมตร ลําตนและ
กิ่งกลม มีหนามแหลมคม กิ่งออนและใบ
มีขนสั้น คลายไมยราบเลื้อย (หนา 69)
แตชอใบยอยมี 7-14 คู ชอดอกสีชมพู
ทรงกลม กวาง 1.5-2 เซนติเมตร ออกตาม
ซอกใบและปลายกิง่ ติดผักรูปขอบขนาน
แบนดานขาง กวาง 1.5-2 เซนติเมตร
ยาว 6-10 เซนติเมตร มีขนยาวสากคาย
หนาแนน ติดเมล็ดจํานวนมาก 15-20
เมล็ด/ฝก เปนพืชรุกรานทีร่ จู กั กันดี ชอบ
ขึน้ ตามพื้นที่ชุมนํ้า นาขาวทิ้งราง ริมอาง
เก็บนํ้า หรือริมตลิ่ง และตามขางทางบน
ภูเขาสูงกวา 1,000 เมตร ที่มีฝนตกชุก
เมล็ดมีอายุยนื แพรกระจายไปตามนํา้ ดิน
และทรายที่มีเมล็ดตกคางแลวถูกนําไป
กอสรางหรือถมที่อื่น ตนที่มีขนาดใหญ
มีเนื้อไม นํามาเผาถานไดดีมีคุณภาพ

70

10307 P.19-128.indd 70 10/8/2562 BE 17:02


2 วงศ FABACEAE

ไมยราบ
Mimosa pudica L.

ถิ่นกําเนิด : ทวีปอเมริกาใต
พืชลมลุกทอดเลือ้ ยตามพืน้ ดิน อายุหลายป
ยาว 0.3-1 เมตร ลํ า ต น กลม มั ก มี สี
นํา้ ตาลแดง มีขนประปราย และมีหนามสัน้
แข็งแรงและแหลมคม ใบประกอบแบบ
ขนนกสองชั้น มีชอใบยอย 2 คู ใบยอย
รูปแถบ ยาว 6-15 มิลลิเมตร ชอใบจะหุบ
เมื่อถูกสัมผัส ชอดอกสีชมพู เปนกระจุก
ทรงกลม กวาง 1-1.5 เซนติเมตร ออก
1-3 ชอ/ซอกใบ ฝกรูปขอบขนานยาว
1-2 เซนติเมตร หยักคอดตามแนวเมล็ด
มีขนแข็งหนาแนน ชอบขึน้ ตามทีโ่ ลงแจง
ขางทาง หรือที่รกราง ขึ้นแทรกกับหญา
อื่นๆ ไดดี มีหนามแหลมคมและแข็งแรง
สรางความรําคาญใหแกผทู เี่ ดินเหยียบยํา่
ทนแลง ทนทานตอดินที่ไมสมบูรณ หรือ
มีเศษหินปน หรืออยูใตรมเงาหญาอื่นๆ
ไดดี มีรากแข็งแรงถอนยาก มักพบระบาด
มากตามพื้นที่มีปศุสัตวเดินเขาไปหากิน
เพราะเมล็ดจะติดไปกับขนและมูลสัตว
ขึน้ ทีร่ ะดับความสูงนอยกวา 1,300 เมตร
ลงมา

71

10307 P.19-128.indd 71 10/8/2562 BE 17:02


วงศ FABACEAE 1

กระฉูด
Neptunia plena (L.) Benth.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
หรือกระเฉดเทศ เปนพืชนํ้าลมลุก อายุ
หลายป ลักษณะทัว่ ไปคลายผักกระเฉดมาก
แตจะมีความแข็งแรงกวา สามารถขึน้ บน
บกได ตนทีข่ นึ้ บนบกจะมีลาํ ตนตัง้ ตรง สูง
0.5-1.5 เมตร ไมมนี วมสีขาว แตถา เลือ้ ย
ลงผิวนํา้ จะเลือ้ ยไดยาวถึง 7 เมตร มีนวม
สีขาวหุ ม ลํ า ต น จุ ดต า งที่ สํ า คั ญ อี ก คื อ
ที่ ตามซอกใบที่ ปลายกิ่ง และชอ ดอกมี
หู ใบและใบประดั บ รู ปไข -รู ปใบหอก
ยาว 1 เซนติเมตร ติดคงทน และมีตอม
รูปภูเขาไฟทีบ่ นกานใบระหวางใบประกอบ
คูล า งสุด และมีตอ มกลมสีขาวทีป่ ลายอับ
เรณูอีกดวย (ผักกระเฉด ใบประดับและ
หูใบจะมีขนาดสั้นกวา 5 มิลลิเมตร และ
หลุดรวงงาย และไมมีตอมที่ 2 ตําแหนง
ดังกลาว) ชอบขึน้ กลางแจงตามพืน้ ทีช่ มุ นํา้
คูนํ้าขางทางที่มีระดับนํ้าลึกไมเกิน 50
เซนติเมตร หรือพื้นที่ชื้นแฉะขางถนนที่มี
นํา้ ขังเปนบางชวง ทีร่ ะดับความสูงไมเกิน
1,000 เมตร ปจจุบันกําลังลุกลามไป
ทัว่ ประเทศ โดยมีเมล็ดเปนพาหะทีส่ าํ คัญ
ติ ด ไปตามดิ น หรื อ ทรายที่ ขุ ด ลอกจาก
แหล ง นํ้ า การดูดทรายไปขาย และนกที่
ชอบหากินเมล็ดพืชตามหนาดิน
72

10307 P.19-128.indd 72 10/8/2562 BE 17:02


3 วงศ FABACEAE

ถั่วผี
Phaseolus lathyroides L.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
พืชลมลุก สูง 0.5-1 เมตร ตามลําตนมี
ขนไหมสีขาว ใบประกอบ มี 3 ใบยอย
ใบยอยยาว 6-10 เซนติเมตร โคนใบมัก
หยักเปนพูเล็กนอย ดอกเปนชอตั้งขึ้น
ยาว 0.3-0.7 เมตร ดอกสีแดงเลือดหมู
ฝกเปนแทงเรียวยาวคลายฝกถั่วเขียว
ขึ้นตามที่รกราง และไรทั่วไป

73

10307 P.19-128.indd 73 10/8/2562 BE 17:02


วงศ FABACEAE 1

กระถินหางกระรอก
Prosopis juliflora (Sw.) DC.

ถิ่นกําเนิด : ทวีปอเมริกาใต
หรือตนหนามปศาจ ไมพมุ สูง 2-10 เมตร
แตกกิ่งตํ่าจํานวนมาก เรือนยอดแผกวาง
ตามลําตนและกิ่งมีหนามแหลมคมและ
แข็งแรง ยาว 3-5 เซนติเมตร ใบประกอบ
แบบขนนก 2 ชั้ น คล า ยใบกระถิ น
ใบยอยเกลี้ยง รูปขอบขนาน ยาว 1-1.8
เซนติเมตร ชอดอกคลายหางกระรอก
สีขาวอมเหลือง ยาว 8-12 เซนติเมตร
ติดฝ ก แบนยาวและโค ง ยาว 10-15
เซนติเมตร หนา 4 มิลลิเมตร ผิวเกลี้ยง
เปนคลืน่ ตามตําแหนงเมล็ด ฝกแกสนี าํ้ ตาล
ออน เนื้อมีรสหวาน สัตวกินได ชอบขึ้น
ตามพื้นที่ดินปนทราย หรือดินเค็มใกล
ชายทะเล ในพื้นที่ที่มีปริมาณนํ้าฝนไม
เกิน 1,500 มิลลิเมตร/ป ที่ระดับความ
สูงไมเกิน 500 เมตร กระจายพันธุไดดี
โดยเมล็ดที่มีปศุสัตวและนกเปนพาหะ
ป จ จุบั นพบในจัง หวัด ประจวบคี รี ขันธ
และเพชรบุรี เปนวัชพืชที่กําจัดไดยาก
เพราะตนที่สูงใหญและมีหนามแหลมคม
เปนอุปสรรค

74

10307 P.19-128.indd 74 10/8/2562 BE 17:02


3 วงศ EUPHORBIACEAE

ชุมเห็ดเทศ
Senna alata (L.) Roxb.

ถิ่นกําเนิด : ทวีปอเมริกา
ไมพุม สูง 1-2 เมตร มีชอดอกสีเหลือง
ตั้ ง ขึ้ น สู ง 30-50 เซนติ เ มตร ดอกตูม
สีนํ้าตาล ชอบขึ้นตามที่โลงใกลแหลงนํ้า
หรือทีด่ นิ ชืน้ แฉะ ฝกเปนแทงยาว 15-25
เซนติเมตร มี 4 ปกตามแนวยาว เมื่อแก
จะแหงแตก เมล็ดแพรกระจายไปตามนํ้า
และนก

75

10307 P.19-128.indd 75 10/8/2562 BE 17:02


วงศ FABACEAE 2

ขี้เหล็กอเมริกา
Senna floribunda (Cav.) H. S. Irwin & Barneby

ถิ่นกําเนิด : ประเทศแม็กซิโก
ไมตน ไมผลัดใบ สูง 5-10 เมตร แตกกิง่ ตํา่
เรือนยอดแผกวางรูปรม มีความคลายกับ
ตนขีเ้ หล็กบาน (Senna siamea) แตกตาง
กั น ที่ ป ลายใบของขี้ เ หล็ ก อเมริ ก าจะ
แหลม-เรียวแหลม แผนใบดานลางมีขนสัน้
นุมหนาแนน ชอดอกรูปทรงกรวยแหลม
ออกที่ปลายกิ่ง ยาว 30-50 เซนติเมตร
ฝกกลมทรงกระบอก สวนขี้เหล็กบาน
ปลายใบจะมน-กลม แผนใบดานลางมีขน
ประปรายหรือเกลีย้ ง ชอดอกทรงคอนขาง
กลม-ทรงกระบอก ฝกแบน, ขีเ้ หล็กอเมริกา
เปนไมโตเร็ว ผลิตเมล็ดจํานวนมากและ
มีอตั ราการงอกสูง เมล็ดมีอายุยนื ชอบขึน้
ในพื้นที่มีภูมิอากาศชื้น และมีปริมาณนํ้า
ฝนมากกวา 1,500 มิลลิเมตร/ป หรือ
ในพื้นที่ที่มีปริมาณนํ้าฝนนอยกวานี้แต
จะขึ้นไดดีตามริมหวย หรือหุบเขาที่ชื้น
ที่ระดับตํ่าจนถึง 2,000 เมตร ในที่แหง
แลงกวานี้มันจะออนแอจนไมสามารถ
ขยายพันธุไดดี

76

10307 P.19-128.indd 76 10/8/2562 BE 17:02


3 วงศ FABACEAE

โผงเผง
Senna hirsuta (L.) H. S. Irwin & Barneby var. hirsuta

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
ไมพมุ กึง่ พืชลมลุก สูง 0.5-1 เมตร ลักษณะ
ทั่วไปคลายตนชุมเห็ดเล็ก (Senna occi
dentalis) (หนา 78) แตมีใบประกอบ
3-5 คู ตามกิ่ง กานใบ ใบ และฝกมีขน
หนาแนน, ชอบขึ้นเปนกลุมตามที่รกราง
กลางแจง ตามไร ขยายพันธุดวยเมล็ดไป
กับมูลปศุสัตว

77

10307 P.19-128.indd 77 10/8/2562 BE 17:02


วงศ FABACEAE 3

ชุมเห็ดเล็ก
Senna occidentalis (L.) Link

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
ไมพมุ กึง่ พืชลมลุก สูง 0.5-1 เมตร ใบและ
กิ่งเกลี้ยง ลักษณะทั่วไปคลายตนขี้เหล็ก
แตใบยอยรูปไข ปลายเรียวแหลม มีใบ
ประกอบ 5-10 คู ฝกรูปแถบยาว แบน
ดานขาง ยาว 3-5 นิ้ว ชี้ขึ้น ชอบขึ้น
เปนกลุม ตามทีร่ กรางกลางแจง ขยายพันธุ
ดวยเมล็ดไปกับมูลปศุสัตว

78

10307 P.19-128.indd 78 10/8/2562 BE 17:02


3 วงศ FABACEAE

ถั่วสไตโล
Stylosanthes guianensis (Aubl.) Sw.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
พืชลมลุก อายุปเ ดียว สูง 15-30 เซนติเมตร
ตนเปนพุมกลม ใบประกอบมี 3 ใบยอย
รูปหอก ยาว 1-3 เซนติเมตร ดอกมีขนาด
เล็ก กวางเพียง 5 มิลลิเมตร สีเหลือง
กลางกลีบ ดอกมีแต มสี แดง ถั่ วสไตโล
ถูกนําเขามาประมาณป 2537 เพื่อเปน
พืชอาหารสัตว มีการทดลองและสงเสริม
ให ป ลู ก ในเขตภาคกลาง ภาคเหนื อ
ภาคอีสาน แตมกี ารขยายพันธุไ ดเองตาม
ธรรมชาติเขาสูป า และพืน้ ทีร่ กรางขางทาง
ทั่วไป เนื่องจากมีการเจริญเติบโตที่ดี
ทนทานตอความแหงแลง และขยายพันธุ
ผานมูลสัตวโดยการเคลื่อนยายหรือการ
เดินหากินของปศุสัตว

79

10307 P.19-128.indd 79 10/8/2562 BE 17:02


วงศ LAMIACEAE 1

แมงลักคา
Hyptis suaveolens (L.) Poit.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
หรือกะเพราผี เปนไมพมุ กึง่ พืชลมลุก อายุ
ปเดียว สูง 0.5-2 เมตร ลําตนเปนสีเ่ หลีย่ ม
ตามสวนตางๆ มีขนสีขาวสากคายและ
ขนแบบมีตอ มเหนียวและมีกลิน่ ฉุน ใบเรียง
ตรงขาม รูปไข ยาว 2-7 เซนติเมตร
ขอบใบจักฟนเลื่อย ใบมีกลิ่นฉุนมากกวา
กะเพรา ชอดอกออกตามซอกใบใกลปลาย
กิง่ ดอก มี 2-5 ชอดอก/ซอก สีมว งอมฟา
กลีบดอกยาว 6-8 มิลลิเมตร ผลทรง
ระฆังคลายผลกะเพราแตมี ข นาดใหญ
กวา ยาว 6-10 มิลลิเมตร มีสนั 10 สัน
ตามแนวยาว ปลายผลเปนติง่ หนามแหลม
5 แทง, ขึน้ ตามทีร่ กราง ไรนา ชายปาดงดิบ
หรือปาเบญจพรรณ ทีร่ ะดับความสูงไมเกิน
1,000 เมตร พบมากในประเทศไทย
ตอนบนหรือที่มีฤดูแลงมากกวา 4 เดือน

10307 P.19-128.indd 80 10/8/2562 BE 17:02


2 วงศ MALVACEAE

ปอคัน
Malachra capitata (L.) L.

ถิ่ น กําเนิ ด : ทวีปอเมริ กาตอนกลาง


ไมพุม สูง 0.5-1.5 เมตร ตามลําตน
กิ่ง กานใบ ชอดอก และทองใบมีขนยาว
สากคาย และทําใหคัน ใบรูปคอนขาง
กลมแกมรูปไข รูปหาเหลี่ยม หรือหยัก
3-5 พู กวาง 5-10 เซนติเมตร ขอบใบหยัก
กานใบยาว 4-10 เซนติเมตร ชอดอกออก
เปนกระจุกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง แต
ละชอมีดอกยอยติดเปนกระจุก 3-5 ดอก
มีกลีบเลี้ยงคลายใบสีเขียวหุมรอบ กลีบ
ดอกสีเหลือง คลายดอกชบา ดอกบาน
กวาง 1.5-2 เซนติเมตร ชอบขึ้นตามที่
รกราง และพื้นที่เกษตรทั่วไป, เปลือกมี
เสนใยเหนียวคลายกลุมปอกระเจา

81

10307 P.19-128.indd 81 10/8/2562 BE 17:02


วงศ MALVACEAE 3

หญŒาขัดใบใหญ‹
Malvastrum coromandelianum (L.) Garcke

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
ไมพมุ กึง่ พืชลมลุก สูง 30-50 เซนติเมตร
ลั ก ษณะทั่ ว ไปคล า ยหญ า ขั ด ใบยาว
(หนา 84) แตใบจะเรียงเวียนรอบกิ่ง ใบ
กวาง 3-4 เซนติเมตร (กวางกวาและ
ใหญกวาเล็กนอย) ผิวใบดานบนเปนมัน
งาวมีขนสากคายมือที่ผิวใบดานบน เปน
วัชพืชที่ขึ้นแทรกไปกั บหญาขั ดใบยาว
ชอบภูมิอากาศที่มีความแหงแลงแบบ
ประเทศไทยตอนบน

82

10307 P.19-128.indd 82 10/8/2562 BE 17:02


2 วงศ MALVACEAE

ตะขบฝรั่ง
Muntingia calabura L.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
ไมตน ขนาดเล็ก สูงไดถงึ 10 เมตร เรือนยอด
รูปรมแผกวางไดถงึ 10 เมตร มักมีลาํ ตน
เดีย่ ว เปลือกเรียบมีเสนใยเหนียว ใบเบีย้ ว
ยาว 7-15 เซนติเมตร ขอบใบหยัก ทองใบ
มีขนสีขาวหนานุม ดอกสีขาว ผลกลม กวาง
1 เซนติเมตร สุกสีแดงคลํ้า มีเมล็ดขนาด
เล็กสีครีมจํานวนมาก เปนพืชโตเร็วมาก
ทนแลงไดดี มักพบเขาไปยึดพื้นที่ตามที่
รกรางทั่วไปแขงกับกระถินยักษ เพราะมี
นก กระรอก คางคาว เปนพาหะนําเมล็ด
เรือนยอดทีห่ นาแนนมากทําใหเกิดรมเงา
มากจนแทบจะไมมหี ญาหรือพืชชอบแสง
ขึ้นอยูได ตะขบฝรั่งมีอายุสั้น ปกติไมเกิน
15 ป จะลมลงแลวเปดโอกาสใหพืชอื่น
กลับมาขึ้นได

83

10307 P.19-128.indd 83 10/8/2562 BE 17:02


วงศ MALVACEAE 3

หญŒาขัดใบยาว
Sida acuta Burm. f.

ถิ่นกําเนิด : ทวีปอเมริกาตอนกลาง
หรือหญาไมกวาด เปนไมพุมขนาดเล็ก
อายุปเดียวหรือหลายป สูง 1-2 เมตร
กิ่ ง และใบมี ข นยาวประปราย-เกลี้ ย ง
ลําตนมีสีนํ้าตาลเทา ใบเรียงสลับ ระนาบ
เดียว รูปหอก ยาว 3-5 เซนติเมตร กวาง
0.4-1 เซนติเมตร ปลายใบเรียวแหลม
ขอบใบหยัก โคนใบมน มีรอยกดตาม
แนวเสนใบ ดอกออกเดี่ยว ตามซอกใบ
สีเหลือง-อมสีสม คลายดอกชบา ดอก
บานกวาง 1 เซนติเมตร คลายหญาขัด
(Sida rhombifolia) ที่เปนพืชพื้นเมือง
(แตกตางทีห่ ญาขัด ตนเตีย้ กวา สูง 0.2-1
เมตร ลําตนมักมีสีมวงแดง ใบเรียงเวียน
รอบกิ่ง ใบรูปขาวหลามตัด-รูปไข กวาง
0.6-2 เซ็นติเมตร โคนใบรูปลิม่ ) หญาขัด
ใบยาวพบขึ้นทั่วประเทศ ตามที่รกราง
ชายปา ขยายพันธุด ว ยเมล็ดทีม่ ขี นาดเล็ก
ติดไปกับมูลสัตว ดินและนํา้ โตเร็ว ในอดีต
ชาวบ า นมั ก ตั ด นํ า มามั ด ทํ า ไม ก วาด
กวาดลานดิน

84

10307 P.19-128.indd 84 10/8/2562 BE 17:02


1 วงศ MELASTOMACEAE

โคลงเคลงขนต‹อม Clidemia hirta (L.) D. Don

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
ไมพุมรอเลื้อย ยาว 1-3 เมตร ตามสวน
ตางๆ มีขนยาวสากแข็ง ใบเรียงตรงกัน
ขาม รูปไขกวาง มีเสนใบออกจากโคนใบ
4 เสน ลักษณะคลายใบตนโคลงเคลง/
เอนอา แตมีเนื้อใบบาง มีผิวใบดานบน
มันเงาและมีขนสาก ดอกสีขาว มี 5 กลีบ
ดอกบานกวาง 1-1.5 เซนติเมตร ผลรูปรี
ยาว 1 เซนติเมตร มีขนยาว สุกสีมวงดํา
มีรสหวานและเมล็ดขนาดเล็กจํานวนมาก
กินได มีนกเปนพาหะที่สําคัญ ชอบขึ้น
ตามที่รําไร-กลางแจง ที่มีปริมาณนํ้าฝน
มากกว า 1,600 มิลลิ เ มตร/ป ขึ้ นไป
ปจจุบันพบระบาดในภาคใต และภาค
ตะวันออก ตามชายปาดิบชืน้ ชายสวนยาง
และสวนผลไม

10307 P.19-128.indd 85 10/8/2562 BE 17:02


วงศ MYRTACEAE 3

ฝรั่งป†า
Psidium guajava L.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
หรือ ฝรั่งขี้นก เปนไมพุม สูง 2-5 เมตร
ลักษณะทั่วไปเหมือนตนฝรั่งพันธุปลูก
ทั่วไป แตมีผลเล็กทรงไข ยาวประมาณ
2 นิ้ว มีเนื้อนอย ผลสุกเนื้อดานในรอบ
เมล็ดมักมีสีชมพู เปนฝรั่งพันธุดั่งเดิมที่
นําเขามาแตแรก แลวสามารถปรับตัวให
เจริญเติบโตไดดีในประเทศไทย พบเห็น
ทั่วไปตามขางทาง ไรราง ปาเสื่อมโทรม
โดยเฉพาะบนดอยสูงสามารถขึ้นไดถึง
ระดับความสูง 1,600 เมตร โดยมี นก
คางคาว สัตวเลี้ยงลูกดวยนม และมนุษย
ชวยแพรกระจายเมล็ด

86

10307 P.19-128.indd 86 10/8/2562 BE 17:02


2 วงศ NYMPHAEACEAE

สุธาสิโนบล
Nymphaea capensis Thunb. var. zanzibariensis Casp.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปแอฟริกา
พืชนํ้าลมลุก กลุมบัวสายที่มีดอกบาน
ตอนกลางวั น คล า ยบั ว ผั น -บั ว เผื่ อ น
(Nymphaea cyanea) ทีเ่ ปนพืชพืน้ เมือง
แตใบจะมีสีเขียวออนเปนมันเงา กวาง
7-12 นิ้ว ดอกสีมวงอมฟา-มวงอมชมพู
กลางดอกสีเหลือง เมือ่ บานกวาง 4-6 นิว้
(บัวผัน-บัวผื่อน ใบจะเล็กกวา 7 นิ้ว
และดอกกวาง 2-4 นิว้ ) เปนบัวปลูกประดับ
ทีส่ ามารถแพรกระจายไดเองในธรรมชาติ
ทั้งจากเมล็ดที่ติดเปนจํานวนมากเปนผง
ขนาดเล็กและโดยไหล (Stolon) ตาม
แหลงนํ้าที่ลึกไมเกิน 4 เมตร มักมีการ
ระบาดตามหนองบึง คูคลองทีม่ นี าํ้ ตลอดป

87

10307 P.19-128.indd 87 10/8/2562 BE 17:02


วงศ ONAGRACEAE 1

เทียนนา
Ludwigia hyssopifolia (G. Don.) Exell

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
พืชลมลุกอายุปเดียว ตนสูง 0.2-1 เมตร
กิ่งเปนสี่เหลี่ยม ผิวเกลี้ยง ใบออนนุม
ยาว 2-6 เซนติเมตร ตามใบมักมีสมี ว งอม
นํา้ ตาล สีเหลือง หรือชมพูแตม กานดอก
ยาว 2-3 เซนติ เ มตร สี นํ้ า ตาลแดง
ดอกสีเ หลือ งสด เมื่ อ บานกว า งไมเ กิ น
1 เซนติ เ มตร พบเป นวัช พืช ที่ สํา คั ญ
ในนาขาว พื้นที่ชุมนํ้า และตามขอบอาง
เก็บนํ้า ที่ระดับความสูงไมเกิน 1,000
เมตร

88

10307 P.19-128.indd 88 10/8/2562 BE 17:02


3 วงศ ONAGRACEAE

พญารากดํา
Ludwigia octovalvis (Jacq.) P. H. Raven

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกาใต
คลายตน เทียนนา (หนา 88) แตมขี นาด
ของใบและดอกทีใ่ หญมากกวา โดยใบยาว
5-10 เซนติ เ มตร ดอกบานกว า ง
2.5-3.5 เซนติ เ มตร ตามใบและลําตน
มีขนนุม หนาแนน พบไดนอ ยกวาเทียนนา
ชอบขึ้ น ตามพื้ น ที่ ชุ  ม นํ้ า และมี อ ากาศ
ค อ นข า งเย็ น ในภาคเหนื อ และภาคใต
เชน ตามหุบเขา รองนํ้า บนภูเขาสูง

89

10307 P.19-128.indd 89 10/8/2562 BE 17:02


วงศ OXALIDACEAE 3

สังสŒม
Oxalis corniculata L.

ถิ่นกําเนิด : ประเทศในภูมิภาค
เมดิเตอรเรเนียน
พืชลมลุกทอดเลือ้ ยตามพืน้ ดิน อายุหลายป
สูง 5-10 เซนติเมตร ใบประกอบแบบ
ผามือ มีใบยอย 3 ใบ รูปหัวใจกลับ ใบยอย
ยาวไมเกิน 2 เซนติเมตร ลักษณะทัว่ ไป
คลายผักแวนที่ เ ป น เฟ น ชนิ ด หนึ่ ง ที่ ขึ้ น
ตามริมนํา้ (บางคนก็เรียกสังสมวา ผักแวน)
แต ต  น และใบของสั ง ส ม จะมี ร สเปรี้ ย ว
กินเปนผักได ใบและตนมีขนสั้น ดอกสี
เหลืองสด ฝกเปนแทงยาว 1-2 เซนติเมตร
ชี้ขึ้น มี 4 เหลี่ยม ชอบขึ้นตามขางทาง
หรือตามที่รกรางกลางแจง แทรกอยูกับ
หญาชนิดอื่นๆ ที่ระดับความสูงไมเกิน
1,300 เมตร

90

10307 P.19-128.indd 90 10/8/2562 BE 17:02


3 วงศ OXALIDACEAE

ผักแว‹นดอย
Oxalis debilis var. corymbosa (DC.) Lourteig

ถิ่นกําเนิด : ทวีปอเมริกาใต
พืชลมลุก อายุหลายป มีลําตนทอดเลื้อย
ตามพืน้ ดิน สูง 15-30 เซนติเมตร มีดอก
สีชมพู ลักษณะทั่วไปคลายผักแวนดอก
ชมพู (หน า 92) แตกตางกั นที่ใบของ
ผักแวนดอย มีรูปหัวใจกลับแกมรูปกลม
โคนใบจะเผยกวางจนขอบใบยอยซอน
กันเล็กนอย แผนใบดานบนมีรอยกดเปน
ร อ งตามแนวเสนแขนงใบ ชอบขึ้นใน
สภาพแวดลอมเหมือนกับผักแวนดอก
ชมพู

91

10307 P.19-128.indd 91 10/8/2562 BE 17:03


วงศ OXALIDACEAE 3

ผักแว‹นดอกชมพู
Oxalis latifolia Kunth

ถิ่นกําเนิด : ทวีปอเมริกาตอนกลาง
และทวีปอเมริกาใต
พืชลมลุก อายุหลายป มีลําตนทอดเลื้อย
ตามพื้นดิน สูง 15-30 เซนติเมตร ใบ
ประกอบแบบผามือ มีใบยอย 3 ใบ รูป
หัวใจกลับแกมรูปสามเหลีย่ ม โคนใบรูปลิม่
ผิวเกลี้ยง-มีขนประปราย ลักษณะทั่วไป
คล า ยต น สั ง ส ม (หน า 90) แต มี ใ บที่
ใหญกวา ใบยาว 2-5 เซนติเมตร มีดอก
สีชมพู , ชอบขึ้ นตามที่ รํ า ไร-กลางแจ ง
และมี อ ากาศชุ  ม ชื้ น ที่ ร ะดั บ ความสู ง
ไมเกิน 1,500 เมตร พบมากตามพื้นที่
เกษตรที่สูงในภาคเหนือ

92

10307 P.19-128.indd 92 10/8/2562 BE 17:03


2 วงศ PASSIFLORACEAE

กะทกรก
Passiflora foetida L.

ถิ่นกําเนิด : ทวีปอเมริกาใต
ไมเถาลมลุก อายุปเ ดียว ยาวไดถงึ 3 เมตร
ตามสวนตางๆ มีขนแบบปลายมีตอม
เหนียวมือและมีกลิ่นฉุน ซอกใบมีมือพัน
ใบรูปไขปลายใบหยักเปนสามพูตื้น-ลึก
มีขนทัง้ สองดาน โคนใบเวา ดอกออกเดีย่ ว
มีกลีบดอก 10 กลีบ สีขาว โคนกลีบสี
มวง ดอกบานกวาง 3-5 เซนติเมตร มี
กระบังเปนเส น จํ า นวนมากรอบเกสร
ผลทรงกลม กวาง 2-3 เซนติเมตร มี
กลีบเลี้ยงจักเปนฝอยปกคลุม เมื่อสุกสี
เหลืองมีเมล็ดจํานวนมาก ขึน้ ทัว่ ไปตามที่
รกราง ขางทาง ไรนา แมแตตามกองขยะ
กระจายพันธุดวยเมล็ด มีนกเปนพาหะ
ที่สําคัญชวยกระจายเมล็ดไปไดทั่ว ขึ้นที่
ระดับความสูงไมเกิน 1,000 เมตร

10307 P.19-128.indd 93 10/8/2562 BE 17:03


วงศ PHYTOLACCACEAE 3

พริกฝรั่ง
Rivina humilis L.

ถิ่นกําเนิด : ทวีปอเมริกาตอนกลาง
และทวีปอเมริกาใต
พืชลมลุกกึ่งไมพุม อายุหลายป สูง 0.4-
1 เมตร ลักษณะทั่วไปคลายตนพริก แต
ตามปลายกิ่ง ชอดอก และทองใบมีขน
สัน้ -เกือบเกลีย้ ง ชอดอกแบบกระจะ ยาว
4-10 เซนติเมตร ดอกสีขาวมี 5 กลีบ
ผลออนกลม กวาง 3-4 มิลลิเมตร ผิวสี
แดงมันเงา ผลสุกสีดาํ มีเมล็ดจํานวนมาก
ขยายพันธุดวยเมล็ดโดยมีพาหะที่สําคัญ
เปนนก

94

10307 P.19-128.indd 94 10/8/2562 BE 17:03


2 วงศ PLANTAGINACEAE

กรดนํา
Scoparia dulcis L.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
พื ช ลมลุ ก สู ง 20-40 เซนติ เ มตร กิ่ง
มีหลายเหลี่ยม ใบเกลี้ยง เรียงตรงขาม
เปนคู หรือเรียงรอบขอ 3 ใบ ขอบใบหยัก
มีดอกสีขาวขนาดเล็ก ออกตามซอกใบ
พบทั่วประเทศไทย ชอบขึ้นตามพื้นที่
ชุมชื้นในไรนาหรือใกลรองนํ้า

95

10307 P.19-128.indd 95 10/8/2562 BE 17:03


วงศ POACEAE 1

หญŒาขน
Brachiaria mutica (Forssk.) Stapf

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
พืชลมลุกกลุมหญา อายุหลายป ลําตน
ทอดเลือ้ ยชูยอดสูง 0.5-1 เมตร ตามลําตน
และใบออนนุม มีขนสีขาวยาวและหนานุม
ลําตนกวาง 0.7-1 เซนติเมตร ใบเรียว
ยาว 15-30 เซนติเมตร ถูกนําเขามาเปน
พืชอาหารสัตว แลวแพรกระจายดวยเมล็ด
และไหล ไปทั่วประเทศไทยมานานแลว
ขึ้นไดดีตามพื้นที่ชุมนํ้า นาขาว คูนํ้าขาง
ทาง หรือริมคลอง ทีร่ ะดับความสูงไมเกิน
500 เมตร

96

10307 P.19-128.indd 96 10/8/2562 BE 17:03


2 วงศ POACEAE

หญŒารังนก
Chloris barbata Sw.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
พืชลมลุกกลุมหญา อายุปเดียว ตนสูง
30-40 เซนติเมตร ชอดอกสีแดงอมมวง
มีชอแขนงรูปแถบยาว 3-6 เซนติเมตร
มี 5-10 ชอ ชอแขนงจะติดเปนกระจุก
เดียวกันคลายซี่รม โอนออนตามแรงลม
และมีขนนุม เปนหญาทีด่ อกสวย กระจาย
พันธุอยูทั่วไป โดยเฉพาะประเทศไทย
ตอนบน

97

10307 P.19-128.indd 97 10/8/2562 BE 17:03


วงศ POACEAE 2

หญŒาดอกชมพู
Melinis repens (Willd.) Ziska

ถิ่นกําเนิด : ทวีปแอฟริกา
พืชลมลุกกลุมหญา อายุหลายป ตนสูง
0.3-1 เมตร ลําตนกวางไมเกิน 5 มิลลิเมตร
มีขนยาวนุมที่ขอและปลายกาบใบ ใบ
รูปแถบ ยาวไดถึง 20 เซนติเมตร กวาง
0.5-1.4 เซนติเมตร มีชอดอกแบบแยก
แขนง ยาว 8-20 เซนติเมตร กานชอดอก
ยาว 1-2 ฟุต ดอกยอยสีแดงอมมวง มีขน
ฟูนุม ดูสวยงาม เมื่อติดผลสีจะซีดลงจน
ออกสีขาว, ชอบขึน้ ตามไรรา ง ชายปาดงดิบ
หรือปาเบญจพรรณ ในสภาพภูมิอากาศ
ที่มีฤดูแลงยาวนานกวา 4 เดือน หรือ
ประเทศไทยตอนบน ยกเวนภาคใต

10307 P.19-128.indd 98 10/8/2562 BE 17:03


1 วงศ POACEAE

หญŒากินี
Panicum meximum Jacq.

ถิ่นกําเนิด : ทวีปแอฟริกา
พืชลมลุกกลุมหญา อายุหลายป ตนสูง
1.5-3 เมตร แตกกอหนาแนน ลําตนและ
ใบเกลี้ยง-มีขนสั้นประปราย ลําตนกวาง
10 มิลลิเมตร ใบเรียวยาว 0.4-1 เมตร
กวาง 2-5 เซนติเมตร เนื้อใบคอนขาง
ออนนุม มีขนยาวที่ปลายกาบใบ ชอดอก
ตั้งตรง สูง 1-3 ฟุต รูปพีระมิด มีชอดอก
ยอยติดหางๆ คลายชอดอกหญาแฝก
ดอกสีเขียวมีเกสรสีแดง, เปนหญาทีน่ าํ เขา
มาปลูกเลีย้ งสัตว แตปจ จุบนั แพรกระจาย
เขาสูธ รรมชาติ ทัง้ ทีร่ กราง คันนา ขอบถนน
ชายปาทีต่ ดิ ตอทีเ่ ลีย้ งปศุสตั ว และการเลีย้ ง
แบบปลอยใหเขามาหากินในปาก็สามารถ
พบหญากินีไดในปา ระบาดมากในภาค
กลาง ภาคตะวันตก ภาคตะวันออก ดวย
กอที่ มี พุ  ม ใบหนาแน น จึ ง ทํ า ให เ กิ ด ไฟ
ไหมรุนแรง ขึ้นไดที่ระดับความสูงไมเกิน
1,000 เมตร

99

10307 P.19-128.indd 99 10/8/2562 BE 17:03


วงศ POACEAE 1

หญŒาขจรจบดอกใหญ‹
Pennisetum pedicellatum Trin.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปแอฟริกา
หญาขจรจบดอกใหญ หรือหญาคอมมิวนิสต
ก็เรียก มีจุดเดนที่ชอดอกสีแดงอมมวง
คลายหญาขจรจบดอกเล็ก (หนา 101)
ตางกันที่มีชอดอกที่สั้นกวา ยาว 5-6 นิ้ว
ชอดอกยอ ยมีข นฟู จํา นวนมาก ดู เ ป น
ชอดอกที่หนาแนนกวา ชอบขึ้นในสภาพ
แวดลอ มคลายกัน

100

10307 P.19-128.indd 100 10/8/2562 BE 17:03


1 วงศ POACEAE

หญŒาขจรจบดอกเล็ก Pennisetum polystachyon (L.) Schult.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปแอฟริกา
หรือหญาคอมมิวนิสต เปนพืชลมลุกกลุม
หญา อายุหลายป สูง 1-2.5 เมตร ลําตน
กาบใบ และใบเกลี้ ยง-มีขนประปราย
ลําตนกวาง 0.5-1 เซนติเมตร ที่ปลาย
กาบใบและโคนใบมีขนยาว ใบเรียวยาว
1-2 ฟุต กวาง 1-2 เซนติเมตร มีจดุ เดนที่
ชอดอกสีแดงอมมวง เปนทรงกระบอกตัง้ ขึน้
ยาว 7-14 นิ้ว กวาง 1.5 เซนติเมตร
ชอดอกยอยติดไมหนาแนนมากนัก เห็น
เปนชอบางๆ เมือ่ เปนผลแกชอ ดอกจะแหง
เปนสีทอง ชอบขึน้ ตามทีโ่ ลงแจง หรือชาย
ปา พืน้ ทีเ่ กษตรในเขตทีด่ อน ทีม่ ชี นั้ ดินลึก
ที่ระดับความสูงไมเกิน 1,000 เมตร ใน
ฤดูแลงจะแหงตายไป แลวแตกหนอขึ้น
มาใหมในฤดูฝน

101

10307 P.19-128.indd 101 10/8/2562 BE 17:03


วงศ POACEAE 2

หญŒาเนเป‚ย
Pennisetum purpureum Schumach

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปแอฟริกา
หญ า เนเป ย จะคล า ยหญ า ขจรจบ
(หนา 100-101) แต จะมี ต  นสูง มาก
กวา สูง 2-4 เมตร ลําตนตั้งตรงแข็งแรง
กวาง 1-3 เซนติเมตร มีนวลขาว ใบเรียว
ยาว 1-3 ฟุ ต กว า ง 1-5 เซนติ เ มตร
ชอดอกสีเหลืองทอง ยาว 6-14 นิ้ว ชอ
ดอกยอยมีขนแข็ง ชอบขึ้นตามที่โลงแจง
หรือชายปา ที่มีความชุมชื้นมากกวา เชน
ตามรองนํา้ ขางทาง ริมหวย ทีร่ ะดับความ
สูงไมเกิน 1,000 เมตร พบบอยในภาค
ตะวันออกและภาคใต

102

10307 P.19-128.indd 102 10/8/2562 BE 17:03


1 วงศ PONTEDERIACEAE

ผักตบชวา
Eichhornia crassipes (C.Mart.) Solms

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปแอฟริกา
หรือผักปอด พืชนํ้าลมลุก ทั้งตนลอยที่
ผิวนํ้า สูง 15-50 เซนติเมตร ขยายพันธุ
ไดดีดวยการแตกหนอเกิดเปนตนใหม
แตกส็ ามารถติดเมล็ดไดซงึ่ มีขนาดเล็กมาก
กระจายไปตามแหล ง นํ้ า ทั่ ว ประเทศ
ที่ระดับความสูงไมเกิน 700 เมตร โดย
เฉพาะตามแหลงนํ้านิ่งหรือไหลชาจะพบ
มีการระบาดไดอยางรวดเร็ว

103

10307 P.19-128.indd 103 10/8/2562 BE 17:03


วงศ PORTULACACEAE 2

โสมคน
Talinum paniculatum (Jacq.) Gaertn.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
หรือบางคนเรียกวาโสมเกาหลี พืชลมลุก
อายุปเ ดียว สูง 30-50 เซนติเมตร กิง่ และ
ชอดอกเปนสามเหลี่ยม ใบรูปหอกกลับ
ยาว 5-10 เซนติเมตร เนื้อออนนุม ดอก
สีชมพูเขม มีกลีบดอก 5 กลีบ ดอกบาน
กวาง 1-1.5 เซนติเมตร ผลเปนกระเปาะ
เมื่ อ แก จ ะแตกอ า มี เ มล็ ด ขนาดเล็ ก
จํานวนมาก ทําใหขยายพันธุและแพร
ปกคลุมพื้นที่ไดดี ทนแลง ยอดออนกิน
เปนผักได

104

10307 P.19-128.indd 104 10/8/2562 BE 17:03


3 วงศ RUBIACEAE

หญŒาจุกขาว
Mitracarpus hirtus DC.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
พื ช ล ม ลุ ก สู ง 15-30 เซนติ เ มตร
คลายหญาเขมร (Spermacoce laevis)
(หนา 108) และกระดุมใบ (Richardia
brasiliensis) (หนา 107) แตกิ่งและ
ผิวใบมีขนสาก ผิวใบดานบนสีเขียวออน
ไมมันวาว และไมมีสีมวงอมนํ้าตาลแตม
แตมรี อยกดตามแนวเสนใบชัดเจน ชอดอก
ออกเปนกระจุกตามซอกใบและที่ปลาย
กิ่ ง ดอกย อ ยเล็ ก มาก เมื่ อ บานกว า ง
2 มิลลิเมตร กลีบดอกมี 4 แฉกขึ้นแทรก
กับหญาอื่นๆ ทั่วไป ตามไรนา ที่รกราง
ตามที่โลงแจง

10307 P.19-128.indd 105 10/8/2562 BE 17:03


วงศ RUBIACEAE 3

หญŒาลิ้นงู
Oldenlandia corymbosa L.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปแอฟริกา
และอินเดีย
พื ช ล ม ลุ ก อายุ ป  เ ดี ย ว สู ง ไม เ กิ น 20
เซนติ เ มตร ต น เล็ ก บอบบาง กิ่ ง เป น
สี่เหลี่ยม เกลี้ยง ใบมีสีเขียวออน รูปใบ
หอก-แถบ ยาวเพียง 1-2 เซนติเมตร
ผิวเกลี้ยง ดอกสีขาวขนาดเล็ก ออกเปน
ชอยาว 1-3 เซนติเมตร ขึน้ ทัว่ ประเทศไทย
ตามที่รกราง ขางทาง และชายปา มักขึ้น
แทรกกับหญาและพืชลมลุกตางถิ่นชนิด
อื่นๆ

106

10307 P.19-128.indd 106 10/8/2562 BE 17:03


3 วงศ RUBIACEAE

กระดุมใบ
Richardia brasiliensis Gomez

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
พืชลมลุก สูง 15-30 เซนติเมตร คลาย
หญ า จุ ก ขาว (Mitracarpus hirtus)
(หนา 105) แตกงิ่ และผิวใบดานบนมีขน
สากคายหนาแนนกวา ดอกยอยเมื่อบาน
กวาง 5-6 มิลลิเมตร กลีบดอกมี 6 แฉก
ขึ้นแทรกกับหญาอื่นๆ ทั่วไป ตามไรนา
ที่รกราง ในที่โลงแจง

107

10307 P.19-128.indd 107 10/8/2562 BE 17:03


วงศ CRUBIACEAE 2

หญŒาเขมร
Spermacoce laevis Lam.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
พืชลมลุก อายุปเ ดียว สูงไมเกิน 30 เซนติ
เมตร กิ่งและใบเกลี้ยง กิ่งเปนสี่เหลี่ยม
ผิ ว ใบด า นบนมั น วาว มั ก มี สี ม  ว งแกม
นํา้ ตาลแตม ชอดอกออกเปนกระจุกแนน
ตามซอกใบและปลายกิง่ มีดอกยอยนอย
กวา 10 ดอก/กลุม ดอกยอยสีขาวหรือ
มีสีชมพูเรื่อๆ ขนาดเล็ก เมื่อดอกบาน
กวาง 3-5 มิลลิเมตร กลีบดอกมี 3-4
แฉก ขึ้นทั่วประเทศไทย ตามที่ร กร า ง
ขางทาง และชายปา มักขึน้ แทรกกับหญา
และพืชลมลุกตางถิ่นชนิดอื่นๆ

108

10307 P.19-128.indd 108 10/8/2562 BE 17:03


2 วงศ SOLANACEAE

มะแวŒงนก
Solanum nigrum L.

ถิ่นกําเนิด : ประเทศในภูมิภาค
เมดิเตอรเรเนียน จนถึงเอเชียตอนกลาง
และอินเดียตอนเหนือ
พืชลมลุก สูง 0.4-1 เมตร ลักษณะทัว่ ไป
คลายตนพริก แตตามกิ่งเปนสี่เหลี่ยม
มีขนออนนุม ติดผลคลายมะแวง/มะเขือ
พวง ทรงกลม กวาง 5-8 มิลลิเมตร ผล
ออนสีเขียว มีพษิ แตผลสุกสีดาํ มีรายงานวา
รับประทานไดหรือทําเปนแยม ยอดออน
รับประทานเปนผักได ขยายพันธุไดดี
ดวยเมล็ด มีนกเปนพาหะที่สําคัญ ชอบ
ขึ้นตามที่รกราง หรือชายปา ทางตอน
บนของประเทศไทย (ทั่วประเทศยกเวน
ภาคใต) ที่ระดับความสูงไมเกิน 1,200
เมตร

109

10307 P.19-128.indd 109 10/8/2562 BE 17:03


วงศ SOLANACEAE 3

มะเขือพวง
Solanum torvum Sw.

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
มะเขื อ พวง เป นพื ช ผั ก สวนครัวที่ มี ถิ่ น
กําเนิดมาจากตางประเทศ ซึ่งคนไทยคุน
เคยมานานแลว แตสามารถแพรกระจาย
พันธุไดเองตามธรรมชาติไปตามที่รกราง
ทีโ่ ลงแจง แมแตในปาลึกก็ตาม เพราะนก
และมนุษยเปนพาหะ อยางไรก็ตามไมเปน
พืชตางถิ่นทีร่ ุกรานรุนแรงมาก เพราะยัง
นิยมใชประโยชนและมีการขยายพันธุที่
ไมรวดเร็ว ขึ้นไดที่ระดับความสูงไมเกิน
1,500 เมตร

110

10307 P.19-128.indd 110 10/8/2562 BE 17:03


1 วงศ TYPHACEAE

ธูปฤๅษี
Typha angustifolia L.

ถิ่นกําเนิด : ชายฝงมหาสมุทร
แอตแลนติก ของทวีปยุโรปและ
ทวีปอเมริกา
หรือ กกชาง พืชนํ้าที่มีใบแบน เรียวยาว
ได ถึ ง 3 เมตร มี เ หง า อยู  ใ นโคนใต นํ้ า
ใบเนื้อหนาออนนุม กวาง 2-3 เซนติเมตร
ชอดอกเปนแทงคลายธูป ยาว 20-40
เซนติเมตร หนา 1 นิ้ว สีนํ้าตาล ติดผล
ขนาดเล็กจํานวนมาก มีขนเปนปุยนุน
ปลิ ว ได ไ กล ชอบขึ้ น ตามพื้ น ที่ ชุ  ม นํ้ า
หรือแหลงนํา้ ทีม่ คี วามลึกไมเกิน 1 เมตร

111

10307 P.19-128.indd 111 10/8/2562 BE 17:03


วงศ VERBENACEAE 1

ผกากรอง
Lantana camara L.

ถิ่นกําเนิด : ทวีปอเมริกาตอนกลาง
ไมพุมรอเลื้อย ยาวไดถึง 3 เมตร ลําตน
เปนสี่เหลี่ยม มีขนและมีหนามแหลมคม
แตเปราะ ใบเรียงตรงกันขาม รูปไข ยาว
3-8 เซนติเมตร แผนใบดานบนมันเงา
มีรอยยน มีกลิ่นฉุนเมื่อขยี่ ชอดอกแบบ
ชอซี่รม มีดอกยอยจํานวนมาก ชอดอก
กวาง 2-3 เซนติเมตร สีช มพู สีเ หลื อ ง
สีสม สีแดง หรือสีขาว หรือมีสีผสมกัน
เมล็ดทรงกลม กวาง 5 มิลลิเมตร สุกสี
มวงดําเปนวัชพืชที่พบตามชายปาดงดิบ
และปาเบญจพรรณที่เสื่อมโทรม มีอายุ
ยืน ทนทานตอไฟปา กําจัดไดยากเพราะ
อุปสรรคจากหนาม แพรกระจายพันธุไ ดดี
โดยผลที่ติดจํานวนมากและเปนอาหาร
ของนก ขึ้ น ที่ ร ะดั บ ความสู ง น อ ยกว า
1,000 เมตร ลงมา

112

10307 P.19-128.indd 112 10/8/2562 BE 17:03


2 วงศ VERBENACEAE

หญŒาเกล็ดปลา
Phyla nodiflora (L.) Greene

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนและอบอุนใน
ทวีปอเมริกา
พืชลมลุกทอดเลือ้ ยคลุมตามพืน้ ดิน ยาวได
ถึง 2 เมตร ชูยอดสูง 10-30 เซนติเมตร
กิง่ เปนสีเ่ หลีย่ ม ตนและใบออนนุม เกลีย้ ง
ใบยาว 2-3 เซนติเมตร ขอบใบหยัก ชอดอก
ทรงกระบอกชูขึ้น ยาว 1-2 เซนติเมตร
สีมวงคลํ้า มีดอกยอยสีขาว-ชมพู คลาย
ดอกผกากรอง เปนวัชพืชที่พบมากและ
ปกคลุมพื้นที่อยางรวดเร็วตามพื้นที่ชุม
นํ้าเปดโลง หรือขอบอางเก็บนํ้า

113

10307 P.19-128.indd 113 10/8/2562 BE 17:03


วงศ VERBENACEAE 2

พันงูเขียว
Stachytarpheta jamaicensis (L.) Vahl

ถิ่นกําเนิด : เขตรอนในทวีปอเมริกา
พืชลมลุก สูง 0.5-0.7 เมตร ผิวใบหยิก
เปนรองตามแนวเสนใบ ขอบใบหยัก เกลีย้ ง
ชอดอกตั้งขึ้น ยาว 20-30 เซนติเมตร
มีดอกยอยสีมวงคราม ขนาดเล็ก มักขึ้น
ตามที่โลง ในพื้นที่เกษตรและที่รกราง
พบทั่วประเทศ

114

10307 P.19-128.indd 114 10/8/2562 BE 17:03


เอกสารอŒางอิง
ชัยณรงค วิทยาวงศรุจ,ิ มานพ ผูพ ฒ ั น, พยัคฆ มณีอเนกคุณ, นิรนั ดรรตั น ปอมอิม่ ,
นิรัตน จินตนา, ปราโมท จงกลวานิชสุข, ธวัชชัย วงศประเสริฐ และ
วรดลย แจมจํารูญ. 2554. รายงานผลการวิจัยขั้นสุดทาย เรื่อง ชนิดและ
การกระจายพันธุข องพืชตางถิน่ รุกรานในกลุม ปาแกงกระจาน. กรมอุทยาน
แหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช.
สํานักงานหอพรรณไม. 2557. ชื่อพรรณไมแหงประเทศไทย. เต็ม สมิตินันทน
ฉบับแกไขเพิม่ เติม พ.ศ. 2557. สํานักงานหอพรรณไม สํานักวิจยั การอนุรกั ษ
ปาไมและพันธุพืช กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช. กรุงเทพฯ
สํ า นั ก งานนโยบายและแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล อ ม. 2561.
มาตรการปองกัน ควบคุม และกําจัดชนิดพันธุต า งถิน่ . กระทรวงทรัพยากร
ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม. กรุงเทพฯ.
Harada, J., Y. Paisooksantivatana and S. Zungsontiporn. 1987.
Weeds in The Highlands of Northern Thailand. Botany and Weed
Science Division, Department of Agriculture, Thailand.
Harada, J., H. Shibayama and H. Morita. 1996. Weeds in The Tropics.
Association for International Cooperation of Agriculture &
Forestry, Japan.

115

10307 P.19-128.indd 115 10/8/2562 BE 17:03


ดรรชนีชื่อราชการ
หนา หนา
กกรังกา 51 ถั่วผี 73
กรดนํ้า 95 ถั่วไมยรา 67
กระฉูด 72 ถั่วลาย 65
กระดุมทองเลื้อย 45 ถั่วสไตโล 79
กระดุมใบ 107 ทหารกลา 41
กระดุมไพลิน 36 ทหารกลาใบขน 42
กระถินเงิน 60 เทียนนา 88
กระถินณรงค 59 ธูปฤาษี 111
กระถินเทพา 62 นํ้านมราชสีห 54
กระถินยักษ 68 นํ้านมราชสีหเล็ก 55
กระถินหางกระรอก 74 บอนจีน 24
กะทกรก 93 บัวตอง 47
กามปูหลุด 50 บานไมรูโรยบราซิล 25
ขี้ไกยาน 43 บานไมรูโรยปา 31
ขี้เหล็กอเมริกา 76 บาหยา 20
โคกกระสุนเล็ก 26 ใบตางดอก 52
โคลงเคลงขนตอม 85 ปอคัน 81
จามจุรี 64 ผกากรอง 112
ชุมเห็ดเทศ 75 ผักขมหนาม 28
ชุมเห็ดเล็ก 78 ผักขมหัด 29
ดอกคําใต 61 ผักคราดปา 32
ดาวกระจายไตหวัน 35 ผักแครด 46
ตอยติ่ง 21 ผักตบชวา 103
ตะขบฝรั่ง 83 ผักเปดไทย 27
ตีนตุกแก 48 ผักแวนดอกชมพู 92
116

10307 P.19-128.indd 116 10/8/2562 BE 17:03


หนา หนา
ผักแวนดอย 91 โสมคน 104
โผงเผง 77 หงอนไกปา 30
ฝรั่งปา 86 หญากินี 99
พญารากดํา 89 หญาเกล็ดปลา 113
พริกฝรั่ง 94 หญาขจรจบดอกเล็ก 101
พันงูเขียว 114 หญาขจรจบดอกใหญ 100
มะเขือพวง 110 หญาขน 96
มะแวงนก 109 หญาขัดใบยาว 84
มันสําปะหลังปา 57 หญาขัดใบใหญ 82
แมงลักคา 80 หญาเขมร 108
ไมยราบ 71 หญาคอออน 39
ไมยราบยักษ 70 หญาคอออนมวง 40
ไมยราบเลื้อย 69 หญาจุกขาว 105
ละหุง 58 หญาดอกชมพู 98
แววตา 22 หญาเนเปย 102
สบูแดง 56 หญายาง 53
สังสม 90 หญารังนก 97
สาบแมว 44 หญาลิ้นงู 106
สาบแรงสาบกา 34 หนาดนอย 38
สาบเสือ 37 หิ่งเมน 66
สาบหมา 33 อเมซอนใบกลม 23
สุธาสิโนบล 87
เสมา 49
โสนเขา 63

117

10307 P.19-128.indd 117 10/8/2562 BE 17:03


ดรรชนีชื่อพฤกษศาสตร
หนา
Acacia auriculiformis A. Cunn. ex Benth. 59
Acacia colei Maslin & L. A. J. Thomson 60
Acacia farnesciana (L.) Willd. 61
Acacia mangium Willd. 62
Acmella ciliata (Kunth) Cass. 32
Aeschynomene americana L. 63
Ageratina adenophora (Spreng.) R. M. King & H. Rob. 33
Ageratum conyzoides L. 34
Albizia saman (Jacq.) Merr. 64
Alternanthera brasiliana (L.) Kuntze ‘Rubiginosa’ 25
Alternanthera pungens Kunth 26
Alternanthera sessilis (L.) DC. 27
Amaranthus spinosus L. 28
Amaranthus viridis L. 29
Asystasia gangetica (L.) T. Anderson ssp. micrantha (Nees) Ensumu 20
Bidens pilosa L. 35
Brachiaria mutica (Forssk.) Stapf 96
Celosia aegentea L. 30
Centratherum punctatum Cass. 36
Centrosema pubescens Benth. 65
Chloris barbata Sw. 97
Chromolaena odorata (L.) R.M. King & H. Rob. 37
Clidemia hirta (L.) D. Don 85
Conyza bonariensis var. leiotheca (S. F. Blake) Cuatrec. 38
Crassocephalum crepidioides (Benth.) S. Moore 39
Crassocephalum rubens (Juss. ex Jacq.) S. Moore 40
Crotalaria pallida Aiton 66
Cyperus involucratus Rottb. 51
Desmanthus virgatus Willd. 67
Echinodorus cordifolius (L.) Griseb. 23
Eichhornia crassipes (C. Mart.) Solms 103
Euphorbia cyathophora Murr. 52
118

10307 P.19-128.indd 118 10/8/2562 BE 17:03


หนา
Euphorbia heterophylla L. 53
Euphorbia hirta L. 54
Euphorbia thymifolia L. 55
Galinsoga parviflora Cav. 41
Galinsoga quadriradiata Cav. 42
Gomphrena celosioides Mart. 31
Hyptis suaveolens (L.) Poit. 80
Jatropha gossypifolia L. 56
Lantana camara L. 112
Leucaena leucocephala (Lam.) de Wit 68
Limnocharis flava (L.) Buchenau 24
Ludwigia hyssopifolia (G. Don.) Exell 88
Ludwigia octovalvis (Jacq.) P. H. Raven 89
Malachra capitata (L.) L. 81
Malvastrum coromandelianum (L.) Garcke 82
Manihot esculenta Crantz 57
Melinis repens (Willd.) Ziska 98
Mikania micrantha Kunth 43
Mimosa diplotricha C. Wright ex Sauvalle 69
Mimosa pigra L. 70
Mimosa pudica L. 71
Mitracarpus hirtus DC. 105
Muntingia calabura L. 83
Neptunia plena (L.) Benth. 72
Nymphaea capensis Thunb. var. zanzibariensis Casp. 87
Oldenlandia corymbosa L. 106
Opuntia elatior Mill. 49
Oxalis corniculata L. 90
Oxalis debilis var. corymbosa (DC.) Lourteig 91
Oxalis latifolia Kunth 92
Panicum meximum Jacq. 99

119

10307 P.19-128.indd 119 10/8/2562 BE 17:03


ดรรชนีชื่อพฤกษศาสตร
หนา
Passiflora foetida L. 93
Pennisetum pedicellatum Trin. 100
Pennisetum polystachyon (L.) Schult. 101
Pennisetum purpureum Schumach. 102
Phaseolus lathyroides L. 73
Phyla nodiflora (L.) Greene 113
Praxelis clematidea (Griseb.) R. M. King & H. Rob. 44
Prosopis juliflora (Sw.) DC. 74
Psidium guajava L. 86
Richardia brasiliensis Gomez 107
Ricinus communis L. 58
Rivina humilis L. 94
Ruellia tuberosa L. 21
Scoparia dulcis L. 95
Senna alata (L.) Roxb. 75
Senna floribunda (Cav.) H. S. Irwin & Barneby 76
Senna hirsuta (L.) H. S. Irwin & Barneby var. hirsuta 77
Senna occidentalis (L.) Link 78
Sida acuta Burm. f. 84
Solanum nigrum L. 109
Solanum torvum Sw. 110
Spermacoce laevis Lam. 108
Sphagneticola trilobata (L.) Pruski 45
Stachytarpheta jamaicensis (L.) Vahl 114
Stylosanthes guianensis (Aubl.) Sw. 79
Synedrella nodiflora (L.) Gaertn. 46
Talinum paniculatum (Jacq.) Gaertn. 104
Thunbergia alata Bojer ex Sims 22
Tithonia diversifolia (Hemsl.) A. Gray 47
Tradescantia zebrina Heynh. 50
Tridax procumbens L. 48
Typha angustifolia L. 111
120

10307 P.19-128.indd 120 10/8/2562 BE 17:03


10307
ภาคผนวก
บัญชีรายชื่อพืชตางถิ่นรุกรานที่สําคัญในพื้นที่ปาอนุรักษของประเทศไทย พ.ศ. 2562 (เรียงตามอักษรชื่อราชการ)
ลําดับ สถานภาพ* ชื่อราชการ ชื่อพฤกษศาสตร วงศ วิสัย ถิ่นกําเนิด หนา
1 3 กกรังกา Cyperus involucratus Rottb. CYPERACEAE AqH เขตรอนในทวีปแอฟริกา และตะวันออกกลาง 51
2 2 กรดนํ้า Scoparia dulcis L. PLANTAGINACEAE H เขตรอนในทวีปอเมริกา 95
3 1 กระฉูด Neptunia plena (L.) Benth. FABACEAE AqH เขตรอนในทวีปอเมริกา 72

P.19-128.indd 121
4 3 กระดุมทองเลื้อย Sphagneticola trilobata (L.) Pruski ASTERACEAE CrH เขตรอนในทวีปอเมริกา 45
5 3 กระดุมใบ Richardia brasiliensis Gomez RUBIACEAE H เขตรอนในทวีปอเมริกา 107
6 3 กระดุมไพลิน Centratherum punctatum Cass. ASTERACEAE H เขตรอนในทวีปอเมริกา 36

121
7 3 กระถินเงิน Acacia colei Maslin & L. A. J. Thomson FABACEAE T ตอนเหนือของทวีปออสเตรเลีย 60
8 1 กระถินณรงค Acacia auriculiformis A. Cunn. ex Benth. FABACEAE T ตอนเหนือของทวีปออสเตรเลีย เกาะนิวกีนี 59
และประเทศอินโดนีเซียดานตะวันออก
9 1 กระถินเทพา Acacia mangium Willd. FABACEAE T ตอนเหนือของทวีปออสเตรเลีย เกาะนิวกินี 62
และประเทศอินโดนีเซียดานตะวันออก
10 1 กระถินยักษ Leucaena leucocephala (Lam.) de Wit FABACEAE T ทวีปเอมริกาตอนกลาง และทวีปอเมริกาใต 68
11 1 กระถินหางกระรอก Prosopis juliflora (Sw.) DC. FABACEAE S ทวีปอเมริกาใต 74
12 2 กะทกรก Passiflora foetida L. PASSIFLORACEAE HC ทวีปอเมริกาใต 93
13 3 กามปูหลุด Tradescantia zebrina Heynh. COMMELINACEAE CrH ประเทศแม็กซิโก 50

10/8/2562 BE 17:03
10307
ภาคผนวก
บัญชีรายชื่อพืชตางถิ่นรุกรานที่สําคัญในพื้นที่ปาอนุรักษของประเทศไทย พ.ศ. 2562 (เรียงตามอักษรชื่อราชการ)
ลําดับ สถานภาพ* ชื่อราชการ ชื่อพฤกษศาสตร วงศ วิสัย ถิ่นกําเนิด หนา
14 1 ขี้ไกยาน Mikania micrantha Kunth ASTERACEAE HC เขตรอนในทวีปอเมริกา 43
15 2 ขี้เหล็กอเมริกา Senna floribunda (Cav.) H. S. Irwin & Barneby FABACEAE T ประเทศแม็กซิโก 76

P.19-128.indd 122
16 2 โคกกระสุนเล็ก Alternanthera pungens Kunth AMARANTHACEAE H เขตรอนในทวีปอเมริกาใต 26
17 1 โคลงเคลงขนตอม Clidemia hirta (L.) D. Don MELASTOMACEAE ScanS เขตรอนในทวีปอเมริกา 85
18 2 จามจุรี Albezia saman (Jacq.) Merr. FABACEAE T ตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต 64

122
19 3 ชุมเห็ดเทศ Senna alata (L.) Roxb. FABACEAE S เขตรอนในทวีปอเมริกา 75
20 3 ชุมเห็ดเล็ก Senna occidentalis (L.) Link FABACEAE US เขตรอนในทวีปอเมริกา 78
21 2 ดอกคําใต Acacia farnesciana (L.) Willd. FABACEAE S เขตรอนในทวีปอเมริกา 61
22 1 ดาวกระจายไตหวัน Bidens pilosa L. ASTERACEAE H ทวีปอเมริกาตอนกลาง 35
23 2 ตอยติ่ง Ruellia tuberosa L. ACANTHACEAE H ดานตะวันตกของหมูเกาะอินดีส 21
ในทวีปอเมริกาตอนกลาง
24 2 ตะขบฝรั่ง Muntingia calabura L. MALVACEAE ST เขตรอนในทวีปอเมริกา 83
25 1 ตีนตุกแก Tridax procumbens L. ASTERACEAE CrH เขตรอนในทวีปอเมริกา 48
26 3 ถั่วผี Phaseolus lathyroides L. FABACEAE H เขตรอนในทวีปอเมริกา 73

10/8/2562 BE 17:03
10307
บัญชีรายชื่อพืชตางถิ่นรุกรานที่สําคัญในพื้นที่ปาอนุรักษของประเทศไทย พ.ศ. 2562 (เรียงตามอักษรชื่อราชการ)
ลําดับ สถานภาพ* ชื่อราชการ ชื่อพฤกษศาสตร วงศ วิสัย ถิ่นกําเนิด หนา
27 3 ถั่วไมยรา Desmanthus virgatus Willd. FABACEAE ScanS เขตรอนในทวีปอเมริกา 67
28 2 ถั่วลาย Centrosema pubescens Benth. FABACEAE HC เขตรอนในทวีปอเมริกา 65
29 3 ถั่วสไตโล Stylosanthes guianensis (Aubl.) Sw. FABACEAE H เขตรอนในทวีปอเมริกา 79

P.19-128.indd 123
30 1 ทหารกลา Galinsoga parviflora Cav. ASTERACEAE H เขตรอนในทวีปอเมริกา 41
31 1 ทหารกลาใบขน Galinsoga quadriradiata Cav. ASTERACEAE H ทวีปอเมริกาตอนกลาง 42
32 1 เทียนนา Ludwigia hyssopifolia (G. Don.) Exell ONAGRACEAE AqH เขตรอนในทวีปอเมริกา 88

123
33 1 ธูปฤาษี Typha angustifolia L. TYPHACEAE AqH ชายฝงมหาสมุทรแอตแลนติกของทวีปยุโรป 111
และทวีปอเมริกา
34 2 นํ้านมราชสีห Euphorbia hirta L. EUPHORBIACEAE H ทวีปอเมริกาตอนกลาง 54
35 3 นํ้านมราชสีหเล็ก Euphorbia thymifolia L. EUPHORBIACEAE H ทวีปอเมริกาตอนกลาง 55
36 2 บอนจีน Limnocharis flava (L.) Buchenau ALISMATACEAE AqH เขตรอนในทวีปอเมริกา 24
37 1 บัวตอง Tithonia diversifolia (Hemsl.) A. Gray ASTERACEAE US ทวีปอเมริกาตอนกลาง 47
38 1 บานไมรูโรยบราซิล Alternanthera brasiliana (L.) Kuntze AMARANTHACEAE H ทวีปอเมริกาตอนกลาง 25
และตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต
39 2 บานไมรูโรยปา Gomphrena celosioides Mart. AMARANTHACEAE H ทวีปอเมริกาใต 31

10/8/2562 BE 17:03
10307
ภาคผนวก
บัญชีรายชื่อพืชตางถิ่นรุกรานที่สําคัญในพื้นที่ปาอนุรักษของประเทศไทย พ.ศ. 2562 (เรียงตามอักษรชื่อราชการ)
ลําดับ สถานภาพ* ชื่อราชการ ชื่อพฤกษศาสตร วงศ วิสัย ถิ่นกําเนิด หนา
40 1 บาหยา Asystasia gangetica (L.) T. Anderson ssp. ACANTHACEAE CrH เขตรอนในทวีปแอฟริกา 20
micrantha (Nees) Ensumu
41 3 ใบตางดอก Euphorbia cyathophora Murr. EUPHORBIACEAE H ทวีปอเมริกาตอนกลาง 52

P.19-128.indd 124
และประเทศสหรัฐอเมริกาตอนใต
42 2 ปอคัน Malachra capitata (L.) L. MALVACEAE US ทวีปอเมริกาตอนกลาง 81
43 1 ผกากรอง Lantana camara L. VERBENACEAE ScanS ทวีปอเมริกาตอนกลาง 112
44 3 ผักขมหนาม Amaranthus spinosus L. AMARANTHACEAE H เขตรอนในทวีปอเมริกา 28

124
45 1 ผักขมหัด Amaranthus viridis L. AMARANTHACEAE H เขตรอนในทวีปอเมริกา 29
46 3 ผักคราดปา Acmella ciliata (Kunth) Cass. ASTERACEAE CrH ตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต 32
47 2 ผักแครด Synedrella nodiflora (L.) Gaertn. ASTERACEAE H เขตรอนในทวีปอเมริกา 46
48 1 ผักตบชวา Eichhornia crassipes (C. Mart.) Solms PONTEDERIACEAE AqH เขตรอนในทวีปอเมริกา 103
49 2 ผักเปดไทย Alternanthera sessilis (L.) DC. AMARANTHACEAE H เขตรอนในทวีปอเมริกา 27
50 3 ผักแวนดอกชมพู Oxalis latifolia Kunth OXALIDACEAE CrH ทวีปอเมริกาตอนกลาง และทวีปอเมริกาใต 92
51 3 ผักแวนดอย Oxalis debilis var. corymbosa (DC.) Lourteig OXALIDACEAE CrH ทวีปอเมริกาใต 91
52 3 โผงเผง Senna hirsuta (L.) H. S. Irwin & Barneby var. FABACEAE US เขตรอนในทวีปอเมริกา 77
hirsuta

10/8/2562 BE 17:03
10307
บัญชีรายชื่อพืชตางถิ่นรุกรานที่สําคัญในพื้นที่ปาอนุรักษของประเทศไทย พ.ศ. 2562 (เรียงตามอักษรชื่อราชการ)
ลําดับ สถานภาพ* ชื่อราชการ ชื่อพฤกษศาสตร วงศ วิสัย ถิ่นกําเนิด หนา

53 3 ฝรั่งปา Psidium guajava L. MYRTACEAE T เขตรอนในทวีปอเมริกา 86

54 3 พญารากดํา Ludwigia octovalvis (Jacq.) P. H. Raven ONAGRACEAE US เขตรอนในทวีปอเมริกาใต 89

55 3 พริกฝรั่ง Rivina humilis L. PHYTOLACCACEAE US ทวีปอเมริกาตอนกลาง และทวีปอเมริกาใต 94

P.19-128.indd 125
56 2 พันงูเขียว Stachytarpheta jamaicensis (L.) Vahl VERBENACEAE US เขตรอนในทวีปอเมริกา 114

57 3 มะเขือพวง Solanum torvum Sw. SOLANACEAE S เขตรอนในทวีปอเมริกา 110

58 2 มะแวงนก Solanum nigrum L. SOLANACEAE H ประเทศในภูมิภาคเมดิเตอรเรเนียน 109


จนถึงเอเชียตอนกลาง และอินเดียตอนเหนือ

125
59 3 มันสําปะหลังปา Manihot esculenta Crantz EUPHORBIACEAE S เขตรอนในทวีปอเมริกา 57

60 1 แมงลักคา Hyptis suaveolens (L.) Poit. LAMIACEAE US เขตรอนในทวีปอเมริกา 80

61 2 ไมยราบ Mimosa pudica L. FABACEAE CrH ทวีปอเมริกาใต 71

62 1 ไมยราบยักษ Mimosa pigra L. FABACEAE S ทวีปอเมริกาใต 70

63 1 ไมยราบเลื้อย Mimosa diplotricha C. Wright ex Sauvalle FABACEAE HC ทวีปอเมริกาใต 69

64 2 ละหุง Ricinus communis L. EUPHORBIACEAE S ทวีปแอฟริกา 58

65 3 แววตา Thunbergia alata Bojer ex Sims ACANTHACEAE HC ทวีปแอฟริกาตอนใต 22

10/8/2562 BE 17:03
10307
ภาคผนวก
บัญชีรายชื่อพืชตางถิ่นรุกรานที่สําคัญในพื้นที่ปาอนุรักษของประเทศไทย พ.ศ. 2562 (เรียงตามอักษรชื่อราชการ)
ลําดับ สถานภาพ* ชื่อราชการ ชื่อพฤกษศาสตร วงศ วิสัย ถิ่นกําเนิด หนา
66 2 สบูแดง Jatropha gossypifolia L. EUPHORBIACEAE S เขตรอนในทวีปอเมริกา 56
67 3 สังสม Oxalis corniculata L. OXALIDACEAE CrH ประเทศในภูมิภาคเมดิเตอรเรเนียน 90

P.19-128.indd 126
68 1 สาบแมว Praxelis clematidea (Griseb.) R. M. King & H. Rob. ASTERACEAE H ทวีปอเมริกาใต 44
69 1 สาบแรงสาบกา Ageratum conyzoides L. ASTERACEAE H เขตรอนในทวีปอเมริกาใต 34
70 1 สาบเสือ Chromolaena odorata (L.) R.M.King & H.Rob. ASTERACEAE H ทวีปอเมริกาใต 37

126
71 1 สาบหมา Ageratina adenophora (Spreng.) R. M. King & H. Rob. ASTERACEAE H ทวีปอเมริกาตอนกลาง 33
72 2 สุธาสิโนบล Nymphaea capensis Thunb. var. zanzibariensis Casp. NYMPHAEACEAE AqH เขตรอนในทวีปแอฟริกา 87
73 1 เสมา Opuntia elatior Mill. CACTACEAE S ทวีปอเมริกาตอนกลาง 49
และตอนเหนือของทวีปอเมริกาใต
74 1 โสนเขา Aeschynomene americana L. FABACEAE US เขตรอนในทวีปอเมริกา 63
75 2 โสมคน Talinum paniculatum (Jacq.) Gaertn. PORTULACACEAE H เขตรอนในทวีปอเมริกา 104
76 2 หงอนไกปา Celosia aegentea L. AMARANTHACEAE H เขตรอนในทวีปแอฟริกา 30
77 1 หญากินี Panicum meximum Jacq. POACEAE G ทวีปแอฟริกา 99
78 2 หญาเกล็ดปลา Phyla nodiflora (L.) Greene VERBENACEAE CrH เขตรอนและอบอุนในทวีปอเมริกา 113

10/8/2562 BE 17:03
10307
บัญชีรายชื่อพืชตางถิ่นรุกรานที่สําคัญในพื้นที่ปาอนุรักษของประเทศไทย พ.ศ. 2562 (เรียงตามอักษรชื่อราชการ)
ลําดับ สถานภาพ* ชื่อราชการ ชื่อพฤกษศาสตร วงศ วิสัย ถิ่นกําเนิด หนา

79 1 หญาขจรจบดอกเล็ก Pennisetum polystachyon (L.) Schult. POACEAE G เขตรอนในทวีปแอฟริกา 101

80 1 หญาขจรจบดอกใหญ Pennisetum pedicellatum Trin. POACEAE G เขตรอนในทวีปแอฟริกา 100

81 1 หญาขน Brachiaria mutica (Forssk.) Stapf POACEAE G เขตรอนในทวีปอเมริกา 96

P.19-128.indd 127
82 3 หญาขัดใบยาว Sida acuta Burm. f. MALVACEAE US ทวีปอเมริกาตอนกลาง 84

83 3 หญาขัดใบใหญ Malvastrum coromandelianum (L.) Garcke MALVACEAE US เขตรอนในทวีปอเมริกา 82

84 2 หญาเขมร Spermacoce laevis Lam. RUBIACEAE H เขตรอนในทวีปอเมริกา 108

127
85 1 หญาคอออน Crassocephalum crepidioides (Benth.) S. Moore ASTERACEAE H เขตรอนในทวีปแอฟริกา 39

86 1 หญาคอออนมวง Crassocephalum rubens (Juss. ex Jacq.) S. Moore ASTERACEAE H เขตรอนและกึ่งรอนในทวีปแอฟริกา 40

87 3 หญาจุกขาว Mitracarpus hirtus DC. RUBIACEAE H เขตรอนในทวีปอเมริกา 105

88 2 หญาดอกชมพู Melinis repens (Willd.) Ziska POACEAE G ทวีปแอฟริกา 98

89 2 หญาเนเปย Pennisetum purpureum Schumach. POACEAE G เขตรอนในทวีปแอฟริกา 102

90 1 หญายาง Euphorbia heterophylla L. EUPHORBIACEAE H เขตรอนในทวีปอเมริกา 53

91 2 หญารังนก Chloris barbata Sw. POACEAE G เขตรอนในทวีปอเมริกา 97

10/8/2562 BE 17:03
10307
ภาคผนวก
บัญชีรายชื่อพืชตางถิ่นรุกรานที่สําคัญในพื้นที่ปาอนุรักษของประเทศไทย พ.ศ. 2562 (เรียงตามอักษรชื่อราชการ)
ลําดับ สถานภาพ* ชื่อราชการ ชื่อพฤกษศาสตร วงศ วิสัย ถิ่นกําเนิด หนา
92 3 หญาลิ้นงู Oldenlandia corymbosa L. RUBIACEAE H เขตรอนในทวีปแอฟริกา 106
และอินเดีย
93 1 หนาดนอย Conyza bonariensis var. leiotheca (S. F. Blake) Cuatrec. ASTERACEAE H ทวีปอเมริกาใต 38

P.19-128.indd 128
94 2 หิ่งเมน Crotalaria pallida Aiton FABACEAE H เขตรอนในทวีปแอฟริกา 66
95 3 อเมซอนใบกลม Echinodorus cordifolius (L.) Griseb. ALISMATACEAE AqH ทวีปอเมริกาใต 23

128
วิสัยของพืช * สถานภาพ
AqH - พืชนํ้าลมลุก HC - ไมเถาลมลุก 1 ระบาดมาก
C - ไมเถา T - ไมตน 2 ระบาดปานกลาง
CrH - พืชลมลุกทอดคลาน S - ไมพุม 3 ระบาดนอย
EH - พืชลมลุกอิงอาศัย ST - ไมตนขนาดเล็ก
G - หญาและกก ScanS - ไมพุมรอเลื้อย
H - พืชลมลุก US - ไมพุมขนาดเล็ก

10/8/2562 BE 17:03

You might also like