You are on page 1of 38

ความหลากหลายและบทบาทของมดในระบบนิเวศป่าเต็งรัง จังหวัดนา่ น

ผูช้ ่ วยศาสตราจารย์ ดร. ดวงแข สิทธิเจริญชัย


อาจารย์ ดร. ชัชวาล ใจซื่อกุล
นายนราธิป จันทรสวัสดิ์
บทคัดยอ่
ความหลากหลายทางชนิดของปลวกไดถ้ ูกศึกษาทีจ่ ังหวัดนา่ น ในพื้นทีป่ ่ าเต็งรังและ
พื้นทีส่ วนมะมว่ ง บริเวณสถานีวิจัย Chulalongkorn University Forestry and Research
Station ตำ�บลไหลน่ า่ น อำ�เภอเวียงสา จังหวัดนา่ น การศึกษาชนิดของปลวกในช่วงปี พ.ศ.
2555-2558 พบปลวก 3 ชนิดในทัง้ สองพื้นที่ ไดแ้ ก่ ปลวกชนิด Macrotermes sp. และ
Odontotermes sp. ซึ่งอยูใ่ นวงศย์ อ่ ย Macrotemitinae, วงศ์ Termitidae และปลวกชนิด
Nasutitermes sp. ซึ่งจัดอยูใ่ นวงศย์ อ่ ย Nasutitermitinae, วงศ์ Termitidae
ความหลากทางชนิดของมดได้ทำ�การศึกษาทัง้ ในจังหวัดนา่ นและจังหวัดสระบุรี ใน
บริเวณสถานีวิจัย Chulalongkorn University Forestry and Research Station ตำ�บลไหล่
นา่ น อำ�เภอเวียงสา จังหวัดนา่ น ไดท้ ำ�การศึกษาในสองพื้นทีศ่ ึกษาคือ พื้นทีป่ ่ าเต็งรังและพื้นที่
สวนมะมว่ ง โดยทำ�การศึกษาในช่วงปี พ.ศ. 2555-2558 ผลการศึกษาในทัง้ สองพื้นที่ศึกษา
พบมดทัง้ สิน้ 62 ชนิด จัดอยูใ่ น 6 วงศย์ อ่ ย ไดแ้ ก่ วงศย์ อ่ ย Dolichoderinae (5 ชนิด), วงศ์
ยอ่ ย Dorylinae (2 ชนิด), วงศย์ อ่ ย Formicinae (16 ชนิด), วงศย์ อ่ ย Myrmicinae (24 ชนิด),
วงศย์ อ่ ย Ponerinae (10 ชนิด) และวงศย์ อ่ ย Pseudomyrmecinae (5 ชนิด) ชนิดของมดที่
พบในพื้นทีป่ ่ าเต็งรัง มีนอ้ ยกว่าในพื้นทีส่ วนมะมว่ ง มดเด่นทีพ่ บในพื้นทีป่ ่ าเต็งรัง คือ มดแดง
Oecophylla smaragdina ในขณะทีม่ ดเดน่ ในพื้นทีส่ วนมะมว่ ง คือ มดงา่ ม Pheidologeton
diversus โดยมดทัง้ สองชนิดถูกพบในฤดูแลง้ มากกวา่ ฤดูฝน นอกจากนีใ้ นปี 2557 พบมดทีห่ า
คอ่ นขา้ งยากเพิม่ อีกสองชนิดคือ Aenictus binghami (วงศย์ อ่ ย Aenictinae) และ Dorylus
vishnui (วงศย์ อ่ ย Dorylinae) ช่วงปี พ.ศ. 2559-2560 ไดท้ าการศึกษาพื้นทีแ่ นวเสน้ ทางเดิน
ธรรมชาติเชิงนิเวศในช่วงตน้ ทางเขา้ (ป่าเต็งรัง) พบมด 22 ชนิด จัดอยูใ่ น 6 วงศย์ อ่ ย และช่วง
ปลายของแนวเสน้ ทางเดินธรรมชาติเชิงนิเวศ (ป่าเบญจพรรณ) พบมด 25 ชนิด จัดอยูใ่ น 5 วงศ์
ยอ่ ย สำ�หรับพื้นทีโ่ ครงการพัฒนาทีด่ นิ สระบุรจี ฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย อำ�เภอแกง่ คอย จังหวัด
สระบุรีนนั้ ไดท้ ำ�การศึกษาในสองพื้นทีศ่ ึกษาคือ พื้นทีป่ ่ าเบญจพรรณและพื้นทีส่ วนป่าสัก โดย
ทำ�การศึกษาในช่วงปี พ.ศ. 2558-2560 ผลการศึกษาพบวา่ ในพื้นทีป่ ่ าเบญจพรรณพบมด 23
ชนิด 5 วงศย์ อ่ ย และในพื้นทีส่ วนป่าสักพบมด ทัง้ สิน้ 14 ชนิด 4 วงศย์ อ่ ย

คำ�สำ�คัญ: ความหลากหลายทางชนิด ปลวก มด จังหวัดนา่ น จังหวัดสระบุรี

������� �����1.indd 86 21/12/2561 BE 18:20


Diversity and Role of Ants in Dry Dipterocarp Ecosystem in Nan
Province
Duangkhae Sitthicharoenchai
Chatchawan Chaisuekul
Naratip Chantaraswat
Abstract
Species diversity of termites was studied in Nan province in a dry dip-
terocarp forest and a mango plantation at Chulalongkorn University Forestry and
Research Station in Lai-Nan sub-district, Wiang Sa district, Nan. The study of
termite species was investigated during 2012-2015; and 3 termite species were
found in both study sites: Macrotermes sp. and Odontotermes sp. belonging to
subfamily Macrotemitinae, family Termitidae, and also Nasutitermes sp. belonging
to subfamily Nasutitermitinae, family Termitidae.
Diversity of ant species was studied both in Nan and Saraburi provinces.
In Chulalongkorn University Forestry and Research Station in Lai-Nan sub-district,
Wiang Sa district, Nan. The research was investigated in two study sites, dry dip-
terocarp forest and mango plantation, during 2012-2015. The result showed 62 ant
species, 6 subfamilies found in both study sites: subfamily Dolichoderinae (5 spp.),
subfamily Dorylinae (2 spp.), subfamily Formicinae (16 spp.), subfamily Myrmicinae
(24 spp.), subfamily Ponerinae (10 spp.) and subfamily Pseudomyrmecinae (5 spp.)
The ant species found in the dry dipterocarp forest was less than those found in
the mango plantation. The dominant ant species in the dry dipterocarp forest was
a weaver ant, Oecophylla smaragdina, whereas a harvesting ant, Pheidologeton
diversus, was dominant in the mango plantation. And in both study sites, ant spe-
cies were found in the dry season more often than in the wet season. Moreover, in
2015, two rare ant species newly found in the study area were Aenictus binghami
(subfamily Aenictinae) and Dorylus vishnui (subfamily Dorylinae). During 2016-
2017, the study was done in ecological trail. Around the entrance of the trail (dry
dipterocarp forest), 22 ant species belonging to 6 subfamilies were found; and
at the site closed to the end of the trail (mixed deciduous forest), 25 ant species
belonging to 5 subfamilies were found. For the Saraburi Area Development Project
of Chulalongkorn University, Kaeng Khoi district, Saraburi province, two study sites,
mixed deciduous forest and teakplantation, were investigated during 2015-2017.

������� �����1.indd 87 21/12/2561 BE 18:20


The result showed that 23 species of ants belonging to 5 subfamilies were found
in the mixed deciduous forest; and in the teak plantation, 14 ant species belonging
to 4 subfamilies were found.

Keywords: species diversity, termite, ant, Nan province, Saraburi province

������� �����1.indd 88 21/12/2561 BE 18:20


บทนำ�และงานวิจัยทีเ่ กีย่ วขอ้ ง
พื้นทีศ่ ึกษาในบริเวณตำ�บลไหล่นา่ น อำ�เภอเวียงสา จังหวัดนา่ น เป็ นพื้นทีท่ ีม่ ีป่าเต็ง
รังกระจายอยู่โดยทั่วไปสลับกับทุ่งหญ้าและพื้นที่ทำ�การเกษตร ป่าเต็งรังในบริเวณนี้ทั้งหมด
เป็ นป่าทุติยภูมิ เป็ นป่าธรรมชาติทีเ่ คยถูกชาวบา้ นทีอ่ าศัยในบริเวณดังกล่าวบุกรุกถากถางเพื่อ
ทำ�การเกษตร ปั จจุบันพื้นที่ศึกษานี้ถูกทิ้งร้างมามากกว่า 20 ปี และได้รับการมอบหมายให้อยู่
ในความดูแลของจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ซึ่งต่อมาทางมหาวิทยาลัยได้จัดตั้งเป็ นสถานีวิจัย
Chulalongkorn University Forestry and Research Station เพื่อใช้เป็ นพื้นทีใ่ นการศึกษา
และทำ�วิจยั ภาคสนาม พื้นทีป่ ่ าเต็งรังในบริเวณรอบอาคารของสถานีวจิ ยั และบริเวณป่าถูกทิง้ ร้าง
ยังคงเป็ นแหลง่ อาศัยของแมลงหลายชนิด แมลงทีพ่ บเป็ นจำ�นวนมากและนา่ สนใจศึกษากลุม่ หนึง่
คือ มดและปลวก (Sitthicharoenchai and Chantarasawat, 2006) ซึ่งเป็ นแมลงสังคมแทจ้ ริง
(eusocial insects) ภายในรังของแมลงสังคมกลุม่ นีม้ กั มีจ�ำ นวนประชากรคอ่ นขา้ งสูง ถึงสูงมาก
และมีการแบง่ วรรณะชัดเจนทัง้ ลักษณะรูปรา่ งและหนา้ ทีก่ ารทำ�งานภายในรังทัง้ มด และปลวกตา่ ง
ก็เป็ นสิง่ มีชวี ติ ทีม่ บี ทบาทเชิงนิเวศในแหลง่ อาศัยทีม่ นั อาศัยอยู่ โดยเฉพาะบทบาทสำ�คัญในการ
รักษาความสมดุลตามธรรมชาติของระบบนิเวศเหลา่ นัน้
มดเป็ นแมลงที่พบกระจายในเกือบทุกระบบนิเวศบนโลก มดส่วนใหญเ่ ป็ นผูล้ ่าจึงทำ�
หนา้ ทีเ่ ป็ นผูค้ วบคุมจำ�นวนประชากรของแมลงหรือสัตวไ์ มม่ ีกระดูกสันหลังขนาดเล็กชนิดอื่น ซึ่ง
เป็ นเหยื่อของมันในระบบนิเวศทีม่ นั อาศัยอยูไ่ ดด้ ี ในขณะทีม่ ดบางชนิดก็เป็ นเหยื่ออาหารของสัตว์
อื่นทีอ่ าศัยอยูใ่ นแหลง่ อาศัยนัน้ ไดเ้ ช่นเดียวกัน มดบางชนิดมีหนา้ ทีเ่ ชิงนิเวศเป็ นผูก้ ินซาก มดใน
กลุม่ นีม้ บี ทบาทเชิงนิเวศในการช่วยเพิม่ อัตราการยอ่ ยสลายอินทรียสารในธรรมชาติ มดบางชนิด
เป็ นผูก้ ินพืชจึงมักมีส่วนช่วยในการกระจายเมล็ดพันธุ์พืช นอกจากนี้ยังมีมดอีกหลายชนิดซึ่งมี
ความสัมพันธก์ ับสัตว์ พืช หรือเห็ดรา ในลักษณะของการไดป้ ระโยชนร์ ่วมกัน การพึ่งพา การ
อิงอาศัย และการเป็ นปรสิต มดจึงเป็ นสัตวท์ ีส่ ามารถใช้เป็ นดัชนีประเมินความหลากหลายของ
พืชหรือสัตวบ์ างชนิดได้ อีกทัง้ ยังใช้เป็ นตัวบง่ ชีท้ างชีวภาพในการตรวจสอบการเปลีย่ นแปลงของ
สภาพแวดลอ้ มได้
สำ�หรับแมลงสังคมกลุม่ ปลวกเป็ นแมลงทีม่ ีบทบาทสำ�คัญมากในขบวนการยอ่ ยสลาย
ซาก เป็ นแมลงทีม่ ีบทบาทสำ�คัญยิง่ ตอ่ การยอ่ ยสลายซากพืชในธรรมชาติ โดยเฉพาะบริเวณเขต
รอ้ นชื้นดังเช่นในประเทศไทย ซึ่งมีป่าไมธ้ รรมชาติอยูห่ ลายแบบ อันไดแ้ ก่ ป่าเบญจพรรณ ป่าเต็ง
รัง ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา เป็ นตน้ ป่าธรรมชาติเหลา่ นีม้ กั มีปลวกหลายชนิดอาศัยอยู่ ทัง้ นีค้ วาม
หลากหลายทางชนิดและการแพร่กระจายของปลวกขึ้นอยูก่ บั ชนิดของระบบนิเวศป่าไม้ ปลวกใน
ธรรมชาติยงั มีบทบาทเป็ นเหยื่ออาหารของสิง่ มีชวี ติ อื่นในระบบนิเวศทีม่ นั อาศัยอยูด่ ว้ ย นอกจาก
นีบ้ ทบาทอีกอันหนึ่งทีน่ า่ สนใจของปลวกในระบบนิเวศ คือ บทบาทความสัมพันธข์ องปลวกทีม่ ี
ตอ่ เห็ดรา เป็ นทีท่ ราบกันดีวา่ ปลวกบางชนิดสามารถเพาะเลีย้ งเห็ดราได้ เช่น เห็ดโคนซึ่งเป็ นเห็ด
เศรษฐกิจ เป็ นตน้ นอกเหนือจากบทบาทของปลวกดังทีก่ ลา่ วมาขา้ งตน้ ปั จจุบันยังพบวา่ ปลวก

������� �����1.indd 89 21/12/2561 BE 18:20


บางสายพันธุ์อาจถูกใช้ประโยชนใ์ นการสร้างผลิตภัณฑ์พลังงานทางเลือก โดยนำ�การคัดเลือก
สายพันธุโ์ ปรโตซัวหรือแบคทีเรียทีอ่ าศัยอยูใ่ นทางเดินอาหารของปลวก นำ�มาสกัดยีนส์ทีส่ ร้าง
เอนไซมเ์ ซลลูเลสสำ�หรับยอ่ ยเซลลูโลส อันเป็ นหนึ่งในกระบวนการสร้างแอลกอฮอล์เพื่อเขา้ สู่
การกระบวกการสร้างสารประกอบทีส่ ามารถใช้ทดแทนน้ำ�มันได้
ดังนัน้ งานวิจัยพื้นฐานในเรื่องของความหลากชนิดของมดและปลวก จึงนับว่าเป็ นสิ่ง
จำ�เป็ นลำ�ดับแรกทีต่ อ้ งทำ�การศึกษาคน้ ควา้ งานวิจยั ในเชิงอนุกรมวิธานและเชิงความหลากหลาย
ของแมลงสังคมกลุม่ นีใ้ นระบบนิเวศตา่ ง ๆ ของประเทศไทย ยังมีรายงานอยูใ่ นปริมาณทีไ่ มม่ าก
นักเมื่อเปรียบเทียบกับผลการวิจยั ของตา่ งประเทศ แมลงสังคมกลุม่ นีโ้ ดยเฉพาะมดมีจ�ำ นวนชนิด
อาศัยอยูบ่ นโลกคอ่ นขา้ งมาก อีกทัง้ ยังเป็ นกลุม่ แมลงทีพ่ บกระจายไปทุกหนทุกแห่ง มีบทบาทใน
ระบบนิเวศมากมาย การศึกษาในเรื่องความหลากหลายสำ�หรับมดและปลวกในประเทศไทย ยังคง
ตอ้ งการกำ�ลังสมองและกำ�ลังคนจากนักวิจยั อีกมากในทุกเรื่องทีเ่ กีย่ วขอ้ ง งานวิจยั นีม้ จี ดุ มุง่ หมาย
ในการศึกษาความหลากหลายและบทบาทของมด รวมทัง้ ความหลากหลายของปลวกในระบบ
นิเวศป่าเต็งรัง จังหวัดนา่ น ตลอดจนบทบาททางนิเวศบางประการของชนิดของมดและปลวกที่
นา่ สนใจ ผลการศึกษาทีไ่ ดร้ ับนอกจากจะเป็ นองคค์ วามรู้ทีส่ ามารถเผยแพร่สูช่ ุมชนทีอ่ าศัยอยู่
ในพื้นทีแ่ ละบุคคลทัว่ ไปแลว้ ยังเป็ นขอ้ มูลพื้นฐานทีอ่ าจนำ�ไปตอ่ ยอดงานวิจัยอื่นทีเ่ กีย่ วขอ้ งได้

วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาความหลากชนิดของมดในป่าเต็งรังบริเวณสถานีวิจัย Chulalongkorn
University Forestry and Research Station และในบางระบบนิเวศของพื้นที่โครงการ
พัฒนาทีด่ ินสระบุรี จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย อำ�เภอแกง่ คอย จังหวัดสระบุรี
2. เพื่อศึกษาความหลากชนิดของปลวกและลักษณะรังปลวกในป่าเต็งรังบริเวณสถานี
วิจัย
3. เพื่อศึกษาบทบาทเชิงนิเวศของมดบางชนิดในป่าเต็งรัง

������� �����1.indd 90 21/12/2561 BE 18:20


วิธีดำ�เนินการวิจัย
สถานทีท่ ำ�การวิจัยและเก็บขอ้ มูล
พื้นที่ 1: สถานีวิจัย Chulalongkorn University Forestry and Research Station ตำ�บลไหล่
นา่ น อำ�เภอ เวียงสา จังหวัดนา่ น ประกอบดว้ ย
1. พื้นทีป่ ่ าเต็งรัง จานวน 2 พื้นที่
2. พื้นทีก่ ารเกษตร (สวนมะมว่ ง) จำ�นวน 2 พื้นที่
3. พื้นทีแ่ นวเสน้ ทางเดินธรรมชาติช่วงตน้ ใกลท้ างเขา้ สถานีตามแนวป่าเต็งรัง
4. พื้นที่แนวเส้นทางเดินธรรมชาติช่วงปลายใกล้ห้วยกับช้างตามแนวป่าไผ่และป่า
เบญจพรรณ
หมายเหตุ:
- ป่าเต็งรังเป็ นป่าทุติยภูมิถูกทิง้ ร้างนานกวา่ 20 ปี ประกอบดว้ ยพืชหลัก คือ ตน้ พลวง
- ในปี 2556: การเขา้ ทำ�วิจัยครัง้ ที่ 1: 17-20 เมษายน 2556 พื้นทีป่ ่ าเต็งรังพื้นที่ 1
ถูกไฟไหมก้ อ่ นเขา้ เก็บตัวอยา่ งเป็ นเวลาประมาณ 1 วัน
- พื้นที่การเกษตร (สวนมะมว่ ง) เป็ นพื้นที่ที่ผูท้ ำ�การวิจัยแทรกทำ�การวิจัยโดยไมไ่ ด้
ปรากฏอยูใ่ นโครงร่างของโครงการวิจัยนี้ แตผ่ ลขอ้ มูลทีไ่ ดอ้ าจนำ�มาช่วยในการวิเคราะห์เปรียบ
เทียบและประมวลผลของโครงการได้
- เส้นทางเดินธรรมชาติเป็ นแนวเส้นทางที่สารวจและเปิ ดให้ใช้ในการเรียนรู้เชิง
นิเวศวิทยา

พื้นที่ 2: พื้นทีโ่ ครงการพัฒนาทีด่ นิ สระบุรี จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย อำ�เภอแกง่ คอย จังหวัดสระบุรี


1. พื้นทีป่ ่ าเบญจพรรณ (ปี 2558)
2. พื้นทีส่ วนป่าสัก (เริม่ เก็บตัวอยา่ งในปี 2559)
หมายเหตุ
- ป่าเบญจพรรณเป็ นป่าทุตยิ ภูมทิ ยี่ งั มีชาวบา้ นเขา้ ออกเก็บของป่าและมีการเลีย้ งวัวอยู่
บา้ ง
- สวนป่าสักเป็ นป่าปลูกมีอายุประมาณ 3 ปี

������� �����1.indd 91 21/12/2561 BE 18:20


ระยะเวลาในการศึกษา
พื้นที่ 1 นา่ น
ปี 2555: ครัง้ ที่ 1: 22-26 เมษายน 2555, ครัง้ ที่ 2: 26-29 กรกฎาคม 2555 และครัง้
ที่ 3: 22-25 พฤศจิกายน 2555
ปี 2556: ครัง้ ที่ 1: 17-20 เมษายน 2556 (พื้นทีป่ ่ าเต็งรังพื้นที่ 1 ถูกไฟไหมก้ อ่ นเขา้ เก็บ
ตัวอยา่ งเป็ นเวลา ประมาณ 1 วัน), ครัง้ ทึ่ 2: 9-12 สิงหาคม 2556, ครัง้ ที่ 3: 25-28 พฤศจิกายน
2556
ปี 2557: ครัง้ ที่ 1: 28 เมษายน – 1 พฤษภาคม 2557, ครัง้ ที่ 2: 21-24 กรกฎาคม
2557, ครัง้ ที่ 3: 6-9 พฤศจิกายน 2557
ปี 2558: ครัง้ ที่ 1: 30 เมษายน - 3 พฤษภาคม 2558, ครัง้ ที่ 2: 20-23 กรกฎําคม
2558, ครัง้ ที่ 3: 3-6 พฤศจิกายน 2558
ปี 2559: (แนวเสน้ ทางเดินธรรมชาติ) ครัง้ ที่ 1: 1-4 มิถุนายน 2559, ครัง้ ที่ 2: 3-6
พฤศจิกายน 2559
ปี 2560: (แนวเสน้ ทางเดินธรรมชาติ) ครัง้ ที่ 1: 7-10 พฤศจิกายน 2560, ครัง้ ที่ 2:
6-9 ธันวาคม 2560

พื้นที่ 2 สระบุรี
ปี 2558: ครัง้ ที่ 1: 17 - 19 สิงหาคม 2558, ครัง้ ที่ 2: 16-18 ตุลาคม 2558
ปี 2559: ครัง้ ที่ 1: 14 - 16 ตุลาคม 2559, ครัง้ ที่ 2: 14-16 ธันวาคม 2559
ปี 2560: ครัง้ ที่ 1: 19-20 สิงหาคม 2560, ครัง้ ที่ 2: 6-8 ตุลาคม 2560
การศึกษาความหลากชนิดของมดและปลวก
1. การสารวจพื้นทีศ่ ึกษา
พื้นที่ 1: สถานีวิจัย Chulalongkorn University Forestry and Research Station ตำ�บลไหล่
นา่ น อำ�เภอเวียงสา จังหวัดนา่ น
พื้นทีป่ ่ าเต็งรังและพื้นทีเ่ กษตร (สวนมะมว่ ง)
การเลือกพื้นทีศ่ กึ ษา (สำ�รวจครัง้ แรกเมื่อ 19-22 มกราคม 2555) ทำ�โดยการเดินสำ�รวจ
หาแปลง พื้นทีศ่ ึกษาในป่าเต็งรัง (จานวน 2 พื้นที)่ บริเวณรอบอาคารสถานีวิจัย และสำ�รวจเลือก
พื้นทีศ่ กึ ษาในพื้นทีเ่ กษตร ซึ่งเป็ นสวนมะมว่ ง (จำ�นวน 2 พื้นที)่ เพื่อใช้ในการเปรียบเทียบผลการ
ศึกษาชนิดและรังปลวกในพื้นทีป่ ่ าธรรมชาติและพื้นทีท่ มี่ ีกิจกรรมของมนุษย์
ในแตล่ ะพื้นทีศ่ กึ ษาทำ�การวางแนวสำ�รวจ (line transect) 3 แนว ขนาดความยาวแนว
ละ 50 ม. และมีระยะห่างของแนวสำ�รวจแตล่ ะแนว 5 ม. ระบุตาํ แหนง่ สาํ หรับวางกับดักหลุมไวบ้ น
แนวสำ�รวจทุกแนว โดยให้กับดักหลุมแตล่ ะอันวางห่างจากกัน 5 ม. กำ�หนดให้แนวสำ�รวจแตล่ ะ
แนวมีกับดักหลุมจำ�นวน 10 กับดัก

������� �����1.indd 92 21/12/2561 BE 18:20


แนวสำ�รวจนีใ้ ช้สำ�หรับการศึกษาความหลากหลายของทัง้ ปลวกและมดในพื้นทีศ่ ึกษา
พื้นทีเ่ สน้ ทางเดินศึกษาธรรมชาติ
การสำ�รวจแนวเสน้ ทางเดินธรรมชาติเริม่ สำ�รวจครัง้ แรกเมื่อ 3 - 6 พฤศจิกายน 2558
โดยเลือกแนวเส้นทางเดินที่ทางสถานีวิจัยทำ�ไว้สำ�หรับเป็ นเส้นทางทางเดินธรรมชาติเพื่อการ
เรียนรู้เชิงนิเวศแนวพื้นทีช่ ่ วงตน้ เริม่ จากบริเวณป่าเต็งรังใกลก้ ับทางเขา้ ของสถานี และไปสิน้ สุด
ในแนวพื้นทีช่ ่ วงปลายใกลห้ ้วยกับช้าง
เส้นทางเดินธรรมชาติที่เลือกทำ�งาน แบง่ เป็ นพื้นที่แนวเส้นทางเดินธรรมชาติช่วงต้น
ตามแนวป่าเต็งรัง และพื้นทีแ่ นวเส้นทางเดินธรรมชาติช่วงปลายใกล้ห้วยกับช้างตามแนวป่าไผ่
และป่าเบญจพรรณ ทัง้ สองพื้นทีเ่ ป็ นแนวเสน้ ขนาดความยาวแนวละ 100 เมตร

พื้นที่ 2: พื้นทีโ่ ครงการพัฒนาทีด่ นิ สระบุรี จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย อำ�เภอแกง่ คอย จังหวัดสระบุรี


พื้นทปี่ าเบญจพรรณ
พื้นทีป่ ่ าเบญจพรรณ (สำ�รวจครัง้ แรกเมื่อ 17-19 สิงหาคม 2558 และเก็บตัวอยา่ งเมื่อ
17-19 สิงหาคม 2558 และ 3 - 6 พฤศจิกายน 2558) เป็ นแนวเสน้ สำ�รวจบริเวณหลังตึกสระบุรี
1 ความยาวของแนวเสน้ ประมาณ 1 กิโลเมตร
พื้นทีส่ วนป่าสัก
พื้นทีส่ วนป่าสัก (สำ�รวจครัง้ แรกเมื่อวันที่ 17-19 สิงหาคม 2558 และเก็บตัวอยา่ งเมื่อ
14 - 16 ตุลาคม 2559) เป็ นพื้นทีป่ ่ าสักปลูกตัง้ อยูบ่ ริเวณหลังบอ่ น้ำ�ขา้ งตึกสระบุรี 1 มีอายุของ
ตน้ สักประมาณ 3 ปี
พื้นทีศ่ ึกษาทัง้ 2 บริเวณใช้ศึกษาความหลากหลายทางชนิดของมด
2. การศึกษาชนิดและลักษณะรังของปลวก
2.1 ระยะเวลาทีศ่ ึกษา
พื้นที่ 1: เวียงสา นา่ น
พื้นทีป่ ่ าเต็งรังและพื้นทีเ่ กษตร (สวนมะมว่ ง)
ปี 2555: ครัง้ ที่ 1: 22-26 เมษายน 2555, ครัง้ ที่ 2: 26-29 กรกฎาคม 2555 และ
ครัง้ ที่ 3: 22-25 พฤศจิกายน 2555
ปี 2556: ครัง้ ที่ 1: 17-20 เมษายน 2556 (พื้นทีป่ ่ าเต็งรังพื้นที่ 1 ถูกไฟไหมก้ อ่ น
เขา้ เก็บตัวอยา่ งเป็ นเวลาประมาณ 1 วัน), ครัง้ ทึ่ 2: 9-12 สิงหาคม 2556, ครัง้ ที่ 3: 25-28
พฤศจิกายน 2556
ปี 2557: ครัง้ ที่ 1: 28 เมษายน – 1 พฤษภาคม 2557, ครัง้ ที่ 2: 21-24 กรกฎาคม
2557, ครัง้ ที่ 3: 6-9 พฤศจิกายน 2557
ปี 2558: ครัง้ ที่ 1: 30 เมษายน - 3 พฤษภาคม 2558, ครัง้ ที่ 2: 20-23 กรกฎําคม
2558, ครัง้ ที่ 3: 3-6 พฤศจิกายน 2558

������� �����1.indd 93 21/12/2561 BE 18:20


2.2 การเก็บตัวอยา่ งปลวก
การจับโดยวิธีใช้ปากคีบ handling capture
การจับปลวกโดยใช้ปากคีบ ทำ�การเลือกจับเฉพาะปลวกทหารทีพ่ บตามแนวสำ�รวจที่
กาหนดไวใ้ นพื้นทีศ่ ึกษาดังขอ้ 1 ใช้เวลาประมาณ 30 นาทีตอ่ หนึ่งพื้นที่ ปลวกทีจ่ ับไดถ้ ูกดองใน
70% อัลกอฮอลแ์ ละนำ�กลับมาทีภ่ าควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย
เพื่อทำ�การศึกษาตอ่ ไป
การจับโดยวิธีกับดักแบบ termite baiting system
การดักจับปลวกโดยสุ่มเลือกแนวสำ�รวจตามทีก่ าหนดไวใ้ นพื้นทีศ่ ึกษาดังขอ้ 1 (โดย
การจับสลาก) มา 1 แนว จากนัน้ วาง termite baiting station ลงไปในหลุมดักทีท่ ำ�ไวต้ ามเสน้
แนวสำ�รวจจำ�นวน 10 กับดักตอ่ หนึ่งพื้นทีศ่ ึกษา วางกับดักทิง้ ไวเ้ ป็ นเวลา 48 ชัว่ โมงจึงเก็บขึ้น
ปลวกทีเ่ ก็บไดถ้ ูกดองใน 70% อัลกอฮอล์ และแยกเก็บแผน่ bait ไวใ้ นซองพลาสติก
2.3 การระบุชนิดของปลวก
ปลวกทหารทีจ่ ับไดจ้ ากการเก็บตัวอยา่ งทัง้ สองวิธี ถูกนามาศึกษาลักษณะภายนอกใต้
กล้องจุลทรรศนแ์ บบใช้แสง ที่ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย
เพื่อระบุช่ือ สกุลปลวก (key to genus) เป็ นอยา่ งนอ้ ย ทัง้ นีโ้ ดยอ้างอิงจาก Roonwal and
Chhotani, 1989 ตัวอยา่ งของปลวกทุกชนิดบางสว่ นนาไปเก็บไวใ้ นพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติ
วิทยาแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย เพื่อใช้ในการศึกษาตอ่ ไป
2.4 การศึกษาลักษณะรังปลวก
ในทุกพื้นทีศ่ ึกษาเดินสำ�รวจหารังปลวก พร้อมทัง้ เก็บตัวอยา่ งปลวกทีอ่ ยูใ่ นรังเพื่อนำ�
มาระบุสกุล ทำ�การถ่ายรูปรังปลวกทีพ่ บดว้ ยกลอ้ งดิจิตอล Nikon Coolpix P7000 เพื่อเก็บเป็ น
ขอ้ มูลประกอบสาหรับปลวกแตล่ ะสกุลและชนิดทีพ่ บในพื้นทีศ่ ึกษา

3. การศึกษาชนิดของมด
3.1 ระยะเวลาทีศ่ ึกษา
พื้นที่ 1: เวียงสา นา่ น
พื้นทีป่ ่ าเต็งรังและพื้นทีเ่ กษตร (สวนมะมว่ ง)
ปี 2555: ครัง้ ที่ 1: 22-26 เมษายน 2555, ครัง้ ที่ 2: 26-29 กรกฎาคม 2555 และครัง้
ที่ 3: 22-25 พฤศจิกายน 2555
ปี 2556: ครัง้ ที่ 1: 17-20 เมษายน 2556 (พื้นทีป่ ่ าเต็งรังพื้นที่ 1 ถูกไฟไหมก้ อ่ นเขา้ เก็บ
ตัวอยา่ งเป็ นเวลาประมาณ 1 วัน) ครัง้ ทึ่ 2: 9-12 สิงหาคม 2556, ครัง้ ที่ 3: 25-28 พฤศจิกายน
2556
ปี 2557: ครัง้ ที่ 1: 28 เมษายน – 1 พฤษภาคม 2557, ครัง้ ที่ 2: 21-24 กรกฎาคม
2557, ครัง้ ที่ 3: 6-9 พฤศจิกายน 2557

������� �����1.indd 94 21/12/2561 BE 18:20


ปี 2558: ครัง้ ที่ 1: 30 เมษายน - พฤษภาคม 2558, ครัง้ ที่ 2: 20 - 23 กรกฎาคม
2558, ครัง้ ที่ 3: 3 - 6 พฤศจิกายน 2558
พื้นทีเ่ สน้ ทางเดินศึกษาธรรมชาติ แนวช่วงตน้ และแนวช่วงปลายเสน้ ทางเดินธรรมชาติ
ปี 2559: ครัง้ ที่ 1: 1 - 4 มิถุนายน 2559, ครัง้ ที่ 2: 3 - 6 พฤศจิกายน 2559
ปี 2560: ครัง้ ที่ 1: 7 - 10 พฤศจิกายน 2560, ครัง้ ที่ 2: 6 - 9 ธันวาคม 2560
พื้นที่ 2: แกง่ คอย สระบุรี
พื้นทีป่ ่ าเบญจพรรณ
ปี 2558: ครัง้ ที่ 1: 17 - 19 สิงหําคม 2558, ครัง้ ที่ 2: 16 - 18 ตุลาคม 2558
ปี 2559: ครัง้ ที่ 1: 14 - 16 ตุลาคม 2559, ครัง้ ที่ 2: 14 - 16 ธันวาคม 2559
ปี 2560: ครัง้ ที่ 1: 19 - 20 สิงหาคม 2560, ครัง้ ที่ 2: 6 - 8 ตุลาคม 2560
้พืนทีส่ วนป่าสัก
ปี 2559: ครัง้ ที่ 1: 3 - 6 พฤศจิกายน 2559, ครัง้ ที่ 2: 14 - 16 ธันวาคม 2559
ปี 2560: ครัง้ ที่ 1: 19 - 20 สิงหาคม 2560, ครัง้ ที่ 2: 6 - 8 ตุลาคม 2560
3.2 การเก็บตัวอยา่ งมด
พื้นที่ 1: เวียงสา นา่ น
พื้นทีป่ ่ าเต็งรังและพื้นทีเ่ กษตร (สวนมะมว่ ง) จับมดโดยใช้วธิ ปี ากคีบและวิธกี บั ดักหลุม
การจับโดยวิธีใช้ปากคีบ handling capture
การจับมดโดยใช้ปากคีบเลือกจับมดงานทีพ่ บตามแนวสำ�รวจทีก่ าหนดไวใ้ นพื้นทีศ่ กึ ษา
ดังขอ้ 1 ใช้เวลําประมาณ 30 นาทีตอ่ หนึ่งพื้นที่ มดทีจ่ บั ไดถ้ กู ดองใน 70% อัลกอฮอล์ และนำ�กลับ
มาที่ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย เพื่อทำ�การศึกษาตอ่ ไป
การจับโดยวิธีกับดักหลุม pitfall trapping
การดักจับมดโดยสุม่ เลือกแนวสำ�รวจตามทีก่ ำ�หนดไวใ้ นพื้นทีศ่ ึกษาในขอ้ 1 (โดยการ
จับสลาก) มา 1 แนว จากนัน้ วางกับดักหลุมลงไปในหลุมดักทีท่ ำ�ไวต้ ามเสน้ แนวสำ�รวจ จำ�นวน
10 กับดักตอ่ หนึ่งพื้นทีศ่ ึกษาวางกับดักทิง้ ไวเ้ ป็ นเวลา 24 ชัว่ โมงจึงเก็บขึ้น มดทีเ่ ก็บไดถ้ ูกดอง
ใน 70% อัลกอฮอล์
พื้นทีเ่ สน้ ทางเดินศึกษาธรรมชาติ จับมดโดยใช้วิธีปากคีบ และวางกับดักเหยื่อลอ่
การจับโดยวิธีใช้ปากคีบ handling capture
การจับมดโดยใช้ปากคีบทาโดยเลือกจับมดงานที่พบตามแนวเส้นทางเดินธรรมชาติ
ตามทีก่ ำ�หนดไวใ้ นพื้นทีศ่ ึกษาในขอ้ 1 ทัง้ ในแนวช่วงตน้ และแนวช่วงปลายของเสน้ ทางเดิน ใช้
เวลาประมาณ 30 นาทีตอ่ หนึ่งพื้นที่ มดทีจ่ ับไดถ้ ูกดองใน 70% อัลกอฮอล์ และนำ�กลับมาทีภ่ าค
วิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย เพื่อทำ�การศึกษาตอ่ ไป

������� �����1.indd 95 21/12/2561 BE 18:20


การจับโดยวิธีวางกับดักเหยื่อลอ่ (bait trapping)
การจับมดโดยการวางกับดักเหยื่อลอ่ ตามแนวเสน้ ทางเดินธรรมชาติ ตามทีก่ �ำ หนดไวใ้ น
พื้นทีศ่ ึกษาในขอ้ 1 ทัง้ ในแนวสำ�รวจช่วงตน้ และแนวสำ�รวจช่วงปลายของเสน้ ทางเดินธรรมชาติ
โดยใช้เนื้อปลาทูนา่ ในน้ำ�เกลือแบบกระป๋องผสมกับน้ำ�ผึ้งเป็ นเหยื่อลอ่ ในแตล่ ะแนวเสน้ สำ�รวจ
วางกับดัก จำ�นวน 5 กับดัก วางห่างกันกับดักละ 10 เมตร
พื้นที่ 2: แกง่ คอย สระบุรี
พื้นทีป่ ่ าเบญจพรรณและพื้นทีส่ วนป่าสัก จับมดโดยใช้วิธีปากคีบ
การจับโดยวิธีใช้ปากคีบ handling capture
การจับมดโดยใช้ปากคีบเลือกจับมดงานทีพ่ บตามแนวสำ�รวจทีก่ �ำ หนดไวใ้ นพื้นทีศ่ กึ ษา
ดังขอ้ 1 ใช้เวลาประมาณ 30 นาทีตอ่ หนึ่งพื้นที่ มดทีจ่ ับไดถ้ ูกดองใน 70% อัลกอฮอล์ และนำ�
กลับมาที่ ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย เพื่อทำ�การศึกษาตอ่ ไป

3.3 การระบุชนิดของมด
มดงานทจี่ บั ไดจ้ ากการเก็บตัวอยา่ งทัง้ สองพื้นที่ ถูกนำ�มาศึกษาลักษณะภายนอกโดยใช้
กลอ้ งจุลทรรศนแ์ บบใช้แสงทีภ่ าควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย เพื่อ
ระบุช่อื ชนิดมด (key to species) ทัง้ นีโ้ ดยอ้างอิงจาก Bolton, 1994 ตัวอยา่ งของมดทุกชนิด
บางส่วน ถูกนำ�ไปเก็บไวใ้ นพิพิธภัณฑสถานธรรมชาติวิทยาแห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย ภาค
วิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย เพื่อใช้ในการศึกษาตอ่ ไป

������� �����1.indd 96 21/12/2561 BE 18:20


ผลการดำ�เนินงาน
การเลือกพื้นทีศ่ ึกษาและการวางแนวสำ�รวจ
พื้นที่ 1: พื้นทีศ่ ึกษาตัง้ อยูใ่ นสถานีวิจัย Chulalongkorn University Forestry and
Research Station ตำ�บล ไหลน่ า่ น อำ�เภอเวียงสา จังหวัดนา่ น (รูปที่ 1)
พื้นทีป่ ่ าเต็งรังและพื้นทีเ่ กษตร (สวนมะมว่ ง)
การสำ�รวจเพื่อเลือกพื้นทีส่ าหรับทางานวิจัยเริม่ เมื่อวันที่ 19 - 22 มกราคม 2555 และ
ไดเ้ ลือกกาหนดให้พ้นื ที่ ศึกษาประกอบดว้ ยพื้นที่ 2 สว่ น คือ พื้นทีป่ ่ าเต็งรัง (จำ�นวน 2 พื้นที)่ และ
พื้นทำ�สวนมะมว่ ง (จำ�นวน 2 พื้นที)่ (รูปที่ 2)
ในแต่ละพื้นทีศ่ ึกษาทำ�การวางแนวสำ�รวจ (line transect) 3 แนว ขนาดความยาว
แนวละ 50 ม. และมีระยะห่างของแนวสำ�รวจแตล่ ะแนว 5 ม. ระบุตําแหนง่ สําหรับวางกับดักหลุม
ไวบ้ นแนวสำ�รวจทุกแนว โดยให้กับดักหลุมแตล่ ะอันวางห่างจากกัน 5 ม. กำ�หนดให้แนวสำ�รวจ
แตล่ ะแนวมีกับดักหลุมจำ�นวน 10 กับดัก อนึ่งเชือกทีใ่ ช้เป็ นแนวสำ�รวจตอ้ งขึงซ่อมแซมใหมใ่ น
ทุกพื้นทีศ่ ึกษา เนื่องจากเชือกทีใ่ ช้เปื่ อยผุพัง รวมทัง้ แถบผา้ ทีใ่ ช้ผูกเพื่อบง่ บอกตำ�แหนง่ ของกับ
ดักตอ้ งเปลีย่ นและผูกใหมเ่ พราะของเดิมเปื่ อยสีซีดจาง (รูปที่ 2)
การเก็บขอ้ มูลในพื้นทีศ่ ึกษาเมื่อ 17 - 20 เมษายน 2556 พบวา่ พื้นทีป่ ่ าเต็งรังพื้นทีท่ ี่
1 ถูกไฟไหมจ้ ากการเผา่ ของชาวบา้ นทีอ่ าศัยอยูใ่ นบริเวณใกลเ้ คียง เพื่อไลม่ ดแดงและเปิ ดพื้นที่
สำ�หรับการเติบโตของเห็ดถอบในช่วงหนา้ ฝนทีก่ าลังจะมาถึง (รูปที่ 3) พื้นทีน่ เี้ กิดไฟไหมก้ อ่ นที่
ผูว้ ิจัยจะเขา้ มาเก็บขอ้ มูลประมาณหนึ่งวัน คือ เกิดไฟไหม้ วันที่ 15 - 16 เมษายน 2556 อนึ่ง
ตลอดการทางานวิจัยในพื้นทีศ่ ึกษาในช่วง 3 ปี หลัง (2556, 2557 และ 2558) ทีผ่ า่ นมาพบวา่
เกิดไฟไหมท้ ุกปี โดยเฉพาะช่วงหน้าแล้ง ซึ่งส่วนใหญไ่ ฟไหมเ้ กิดจากการเผาของชาวบ้านเพื่อ
เขา้ หาของป่าในพื้นที่
พื้นทีเ่ สน้ ทางเดินศึกษาธรรมชาติ
การสำ�รวจแนวเสน้ ทางเดินธรรมชาติเริม่ สำ�รวจครัง้ แรกเมื่อ 3 - 6 พฤศจิกายน 2558
โดยเลือกแนวเสน้ ทางเดินทีท่ างสถานีวิจัยทาไวส้ ำ�หรับเป็ นเสน้ ทางเดินธรรมชาติเพื่อการเรียนรู้
เชิงนิเวศแนวเสน้ ทางเดินช่วงตน้ เริม่ จากบริเวณป่าเต็งรังใกลก้ บั ทางเขา้ ของสถานีและไปสิน้ สุดใน
แนวเสน้ ทางเดินช่วงปลาย ซึ่งเป็ นทีต่ งั้ ของทีท่ ำ�การสถานีใกลห้ ้วยกับช้าง
แนวเสน้ สำ�รวจเป็ นเสน้ ทางเดินธรรมชาติสองช่วง คือ พื้นทีแ่ นวเสน้ ทางเดินธรรมชาติ
ช่วงต้นตามแนวป่าเต็งรัง และพื้นที่แนวเส้นทางเดินธรรมชาติช่วงปลายใกล้ห้วยกับช้างตาม
แนวป่าไผแ่ ละป่าเบญจพรรณ ทัง้ สองพื้นทีเ่ ป็ นแนวเสน้ ขนาดความยาวแนวละ 100 เมตร (รูปที่
4 และรูปที่ 5)

������� �����1.indd 97 21/12/2561 BE 18:20


รูปที่ 1 ภาพแสดงแผนทีข่ องจังหวัดนา่ น (ก. จังหวัดนา่ น, ข. พื้นทีส่ ถานีวิจัย Chulalongkorn
University Forestry and Research Station ตำ�บลไหลน่ า่ น อำ�เภอเวียงสา, พื้นทีป่ ่ า
เต็งรัง, พื้นทีส่ วนมะมว่ ง

������� �����1.indd 98 21/12/2561 BE 18:20



ก. เสน้ แนวสำ�รวจในพื้นทีป่ ่ าเต็งรัง


ข. การวางกับดักหลุมในพื้นทีส่ วนมะมว่ ง

รูปที่ 2 ภาพแสดงแนวสำ�รวจและการวางกับดักหลุม ก. เส้นแนวสำ�รวจในพื้นทีป่ ่ าเต็งรัง


ข. การวางกับดักหลุมในพื้นที่สวนมะมว่ ง บริเวณสถานีวิจัย Chulalongkorn University
Forestry and Research Station ตำ�บลไหลน่ า่ น อำ�เภอเวียงสา จังหวัดนา่ น

������� �����1.indd 99 21/12/2561 BE 18:20



รูปที่ 3 พื้นทีศ่ ึกษาป่าเต็งรัง พื้นทีท่ ี่ 1 ถูกไฟไหมจ้ ากการเผาของชาวบา้ นทีอ่ าศัยอยูใ่ นบริเวณใกลเ้ คียง
เมื่อวันที1่ 5-16 เมษายน 2556 (ภาพถ่ายวันที่ 19 เมษายน 2558)


รูปที่ 4 ภาพแสดงแนวเสน้ ทางเดินธรรมชาติช่วงตน้ ใกลป้ ากทางเขา้ สถานีวิจัยตามแนวป่าเต็งรัง

������� �����1.indd 100 21/12/2561 BE 18:20



รูปที่ 5 ภาพแสดงแนวเสน้ ทางเดินธรรมชาติช่วงปลายใกลห้ ้วยกับช้างตามแนวป่าไผ่ (ภาพบน) และป่า
เบญจพรรณ (ภาพลา่ ง)

������� �����1.indd 101 21/12/2561 BE 18:20


พื้นที่ 2: พื้นทีศ่ ึกษาตัง้ อยูใ่ นพื้นทีโ่ ครงการพัฒนาทีด่ ินสระบุรี จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย อำ�เภอแกง่ คอย
จังหวัดสระบุรี
กำ�หนดพื้นทีศ่ ึกษาป่าเบญจพรรณในบริเวณหลังอาคารสระบุรี 1 จากนัน้ กำ�หนดแนวเสน้
สำ�รวจตามแนวทางเดียวกับแนวเดินของวิชานิเวศวิทยาเป็ นระยะทางประมาณ 500 เมตร (รูปที่ 6) และ
กำ�หนดแนวเสน้ สำ�รวจบริเวณสวนป่าสักเป็ นระยะทางประมาณ 500 เมตร (รูปที่ 7)


รูปที่ 6 ภาพแสดงแนวเสน้ สำ�รวจตามแนวทางเดียวกับแนวเดินของวิชานิเวศวิทยา ในป่าเบญจพรรณ
บริเวณดา้ น หลังอาคารสระบุรี 1

������� �����1.indd 102 21/12/2561 BE 18:20


รูปที่ 7 ภาพแสดงแนวเสน้ สำ�รวจตามแนวทางเดียวกับแนวเดินของวิชานิเวศวิทยาในสวนป่าสักบริเวณ


ดา้ นขา้ งอาคารสระบุรี 1

รูปที่ 8 ภาพแสดงการวางกับดักหลุมทีม่ ีเหยื่อลอ่ (กระดาษฟาง) ของปลวกในพื้นทีป่ ่ าเต็งรัง

������� �����1.indd 103 21/12/2561 BE 18:20


รูปที่ 9 ภาพแสดงการเขา้ ทำ�ลายเหยื่อลอ่ ของปลวกในกับดักหลุมในพื้นทีส่ วนมะมว่ ง วางกับดักเป็ น


เวลาประมาณ 3 เดือน (เขา้ เก็บขอ้ มูลเมื่อ 17-20 เมษายน 2556)

������� �����1.indd 104 21/12/2561 BE 18:20


ก.

ข.

ค.

รูปที่ 10 ภาพแสดงรังปลวกทีส่ ร้างรังแบบเป็ นกองเนินดิน (mound) และรังปลวกทีส่ ร้างบนตน้ ไม้ (ar-


boreal nest) เขา้ เก็บขอ้ มูลเมื่อ 21 กรกฎาคม 2558 (ก. จอมปลวกในพื้นทีป่ ่ าเต็งรัง ข. รังปลวกบน
ตน้ ไม้ ค. จอมปลวกในพื้นทีส่ วนมะมว่ ง)

������� �����1.indd 105 21/12/2561 BE 18:21


รูปที่ 11 ภาพแสดงปลวกเดินอยูท่ ีก่ น้ หลุมทีว่ างกับดักหลุม



รูปที่ 12 ภาพแสดงปลวกทำ�ลายเปลือกไมพ้ ลวงในพื้นทีป่ ่ าเต็งรัง เขา้ เก็บขอ้ มูลเมื่อ 17-20 เมษายน
2556

������� �����1.indd 106 21/12/2561 BE 18:21



รูปที่ 13 ภาพแสดงปลวก Nasutitermes sp. กำ�ลังออกเดินไปตามแนวทางเดินบนพื้นดินในป่าเต็งรัง

������� �����1.indd 107 21/12/2561 BE 18:21


รูปที่ 14 ภาพแสดงทางเดินปลวกสร้างขึ้นไปรอบลำ�ตน้ มะมว่ งในพื้นทีเ่ กษตรสวนมะมว่ ง

������� �����1.indd 108 21/12/2561 BE 18:21


ผลการสารวจมดในแนวเสน้ ทางเดินธรรมชาติช่วงตน้ ใกลป้ ากทางเขา้ สถานีวิจัยตามแนวป่าเต็ง
รัง โดยวิธีใช้ปากคีบ ในสถานีวิจัย Chulalongkorn University Forestry and Research
Station ตาบลไหลน่ ่ําน อาเภอเวียงสํา จังหวัดน่ําน (รวมทัง้ สิน้ 14 ชนิด) (ปี 2559 ครัง้ ที่ 1:
1-4 มิถุนายน 2559)
1. Tapinoma melanocephalum (Fabricius, 1793)
2. Anoplolepis gracilipes (Smith, 1857)
3. Camponotus sericeus (Fabricius, 1793)
4. Nylanderia sp.5 of CUMZ
5. Oecophylla smaragdina (Fabricius, 1775)
6. Paratrechina longicornis (Latreille, 1802)
7. Polyrhachis proxima Roger, 1863
8. Carebara castanea Smith, 1858
9. Crematogaster aurita Karavaiev, 1935
10. Monomorium floricola (Jerdon, 1851)
11. Trichomyrmex destructor (Jerdon, 1851)
12. Diacamma vagans (Smith, 1860)
13. Odontoponera denticulata (Smith, 1858)
14. Tetraponera rufonigra (Jerdon, 1851)

ผลการสารวจมดในแนวเสน้ ทางเดินธรรมชาติช่วงตน้ ใกลป้ ากทางเขา้ สถานีวิจัยตามแนวป่า


เต็งรังโดยวิธีใช้กับดัก เหยื่อลอ่ ในสถานีวิจัย Chulalongkorn University Forestry and
Research Station ตาบลไหลน่ ่ําน อาเภอ เวียงสํา จังหวัดน่ําน (รวมทัง้ สิน้ 3 ชนิด) (ปี 2559
ครัง้ ที่ 1: 1-4 มิถุนายน 2559)
1. Tapinoma melanocephalum (Fabricius, 1793)
2. Pheidole taipoana Wheeler, 1928
3. Monomorium sp.1 of AMK

������� �����1.indd 109 21/12/2561 BE 18:21


ผลการสำ�รวจมดในแนวเสน้ ทางเดินธรรมชาติช่วงตน้ ใกลป้ ากทางเขา้ สถานีวิจัยตามแนวป่าเต็งรัง โดย
วิธีใช้ปากคีบ ในสถานีวิจัย Chulalongkorn University Forestry and Research Station ตำ�บล
ไหลน่ า่ น อำ�เภอเวียงสา จังหวัดนา่ น (รวมทัง้ สิน้ 9 ชนิด) (ปี 2559 ครัง้ ที่ 2: 3-6 พฤศจิกายน 2559)
1. Camponotus rufoglaucus (Jerdon, 1851)
2. Oecophylla smaragdina (Fabricius, 1775)
3. Paratrechina longicornis (Latreille, 1802)
4. Polyrhachis proxima Roger, 1863
5. Crematogaster aurita Karavaiev, 1935
6. Crematogaster rogenhoferi Mayr, 1879
7. Diacamma vagans (Smith, 1860)
8. Odontoponera denticulata (Smith, 1858)
9. Tetraponera rufonigra (Jerdon, 1851)

ผลการสำ�รวจมดในแนวเสน้ ทางเดินธรรมชาติช่วงตน้ ใกลป้ ากทางเขา้ สถานีวิจัยตามแนวป่าเต็งรัง โดย


วิธีใช้เหยื่อลอ่ ในสถานีวิจัย Chulalongkorn University Forestry and Research Station ตำ�บล
ไหลน่ า่ น อำ�เภอเวียงสา จังหวัดนา่ น (รวมทัง้ สิน้ 2 ชนิด) (ปี 2559 ครัง้ ที่ 2: 3-6 พฤศจิกายน 2559)
1. Oecophylla smaragdina (Fabricius, 1775)
2. Pheidole sp.

ผลการสำ�รวจมดในแนวเสน้ ทางเดินธรรมชาติช่วงตน้ ใกลป้ ากทางเขา้ สถานีวิจัยตามแนวป่าเต็งรัง โดย


วิธีใช้ปากคีบ ในสถานีวิจัย Chulalongkorn University Forestry and Research Station ตำ�บล
ไหลน่ า่ น อำ�เภอเวียงสา จังหวัดนา่ น (รวมทัง้ สิน้ 7 ชนิด) (ปี 2560 ครัง้ ที่ 1: 7-10 พฤศจิกายน 2560)
1. Dorylus sp.
2. Oecophylla smaragdina (Fabricius, 1775)
3. Polyrhachis proxima Roger, 1863
4. Carebara diversa (Jerdon, 1851)
5. Crematogaster aurita Karavaiev, 1935
6. Diacamma vagans (Smith, 1860)
7. Odontoponera denticulata (Smith, 1858)

ผลการสำ�รวจมดในแนวเสน้ ทางเดินธรรมชาติช่วงตน้ ใกลป้ ากทางเขา้ สถานีวิจัยตามแนวป่าเต็งรัง โดย


วิธีใช้เหยื่อลอ่ ในสถานีวิจัย Chulalongkorn University Forestry and Research Station ตำ�บล
ไหลน่ า่ น อำ�เภอเวียงสา จังหวัดนา่ น (รวมทัง้ สิน้ 3 ชนิด) (ปี 2560 ครัง้ ที่ 1: 7-10 พฤศจิกายน 2560)
1. Oecophylla smaragdina (Fabricius, 1775)
2. Pheidole plagiaria Smith, 1860
3. Odontoponera denticulata (Smith, 1858)

������� �����1.indd 110 21/12/2561 BE 18:21


ผลการสำ�รวจมดในแนวเสน้ ทางเดินธรรมชาติช่วงปลายใกลห้ ว้ ยกับช้างตามแนวป่าไผแ่ ละป่าเบญจพรรณ
โดยวิธีใช้ปากคีบ ในสถานีวิจัย Chulalongkorn University Forestry and Research Station ตำ�บล
ไหลน่ า่ น อำ�เภอเวียงสา จังหวัดนา่ น (รวมทัง้ สิน้ 14 ชนิด) (ปี 2559 ครัง้ ที่ 1: 1-4 มิถุนายน 2559)
1. Tapinoma melanocephalum (Fabricius, 1793)
2. Anoplolepis gracilipes (Smith, 1857)
3. Camponotus nicobarensis (Jerdon, 1851)
4. Camponotus rufoglaucus (Jerdon, 1851)
5. Oecophylla smaragdina (Fabricius, 1775)
6. Paratrechina longicornis (Latreille, 1802)
7. Carebara castanea Smith, 1858
8. Crematogaster aurita Karavaiev, 1935
9. Crematogaster rogenhoferi Mayr, 1879
10. Meranoplus bicolor (Guérin-Ménerille, 1844)
11. Pheidole planifrons Santschi, 1920
12. Trichomyrmex destructor (Jerdon, 1851)
13. Diacamma vagans (Smith, 1860)
14. Tetraponera allaborans (Walker, 1859)

ผลการสำ�รวจมดในแนวเสน้ ทางเดินธรรมชาติช่วงปลายใกลห้ ว้ ยกับช้างตามแนวป่าไผแ่ ละป่าเบญจพรรณ


โดยวิธใี ช้เหยื่อลอ่ ในสถานีวจิ ยั Chulalongkorn University Forestry and Research Station ตำ�บล
ไหลน่ า่ น อำ�เภอเวียงสา จังหวัดนา่ น (รวมทัง้ สิน้ 3 ชนิด) (ปี 2559 ครัง้ ที่ 1: 1-4 มิถุนายน 2559)
1. Tapinoma melanocephalum (Fabricius, 1793)
2. Camponotus rufoglaucus (Jerdon, 1851)
3. Meranoplus bicolor (Guérin-Ménerille, 1844)

ผลการสำ�รวจมดในแนวเสน้ ทางเดินธรรมชาติช่วงปลายใกลห้ ว้ ยกับช้างตามแนวป่าไผแ่ ละป่าเบญจพรรณ


โดยวิธีใช้ปากคีบ ในสถานีวิจัย Chulalongkorn University Forestry and Research Station ตำ�บล
ไหลน่ า่ น อำ�เภอเวียงสา จังหวัดนา่ น (รวมทัง้ สิน้ 8 ชนิด) (ปี 2559 ครัง้ ที่ 2: 3-6 พฤศจิกายน 2559)
1. Tapinoma melanocephalum (Fabricius, 1793)
2. Nylanderia sp.4 of CUMZ
3. Oecophylla smaragdina (Fabricius, 1775)
4. Paratrechina longicornis (Latreille, 1802)
5. Crematogaster aurita Karavaiev, 1935
6. Crematogaster rogenhoferi Mayr, 1879
7. Tetraponera allaborans (Walker, 1859)
8. Tetraponera rufonigra (Jerdon, 1851)

������� �����1.indd 111 21/12/2561 BE 18:21


ผลการสำ�รวจมดในแนวเส้นทางเดินธรรมชาติช่วงปลายใกล้ห้วยกับช้างตามแนวป่าไผแ่ ละป่า
เบญจพรรณ โดยวิธีใช้เหยื่อล่อ ในสถานีวิจัย Chulalongkorn University Forestry and
Research Station ตำ�บลไหลน่ า่ น อำ�เภอเวียงสา จังหวัดนา่ น (รวมทัง้ สิน้ 3 ชนิด) (ปี 2559
ครัง้ ที่ 2: 3-6 พฤศจิกายน 2559)
1. Odontoponera denticulata (Smith, 1858)
2. Plagiolepis demangei Santschi, 1920
3. Diacamma vagans (Smith, 1860)
4. Oecophylla smaragdina (Fabricius, 1775)
5. Monomorium pharaonis (Linnaeus, 1758)
6. Pheidole sp.
7. Paratrechina longicornis (Latreille, 1802)

ผลการสำ�รวจมดในแนวเส้นทางเดินธรรมชาติช่วงปลายใกล้ห้วยกับช้างตามแนวป่าไผ่และ
ป่าเบญจพรรณ โดยวิธีใช้ปากคีบ ในสถานีวิจัย Chulalongkorn University Forestry and
Research Station ตำ�บลไหลน่ า่ น อำ�เภอเวียงสา จังหวัดนา่ น (รวมทัง้ สิน้ 11 ชนิด) (ปี 2560
ครัง้ ที่ 1: 7-10 พฤศจิกายน 2560)
1. Tapinoma melanocephalum (Fabricius, 1793)
2. Technomyrmex kraepelini Forel, 1905
3. Nylanderia sp.2 of CUMZ
4. Oecophylla smaragdina (Fabricius, 1775)
5. Paratrechina longicornis (Latreille, 1802)
6. Carebara diversa (Jerdon, 1851)
7. Crematogaster aurita Karavaiev, 1935
8. Crematogaster rogenhoferi Mayr, 1879
9. Meranoplus bicolor (Guérin-Ménerille, 1844)
10. Diacamma vagans (Smith, 1860)
11. Pseudoneoponera rufipes (Jerdon, 1851)

������� �����1.indd 112 21/12/2561 BE 18:21


ผลการสำ�รวจมดในแนวเส้นทางเดินธรรมชาติช่วงปลายใกล้ห้วยกับช้างตามแนวป่าไผแ่ ละป่า
เบญจพรรณ โดยวิธีใช้เหยื่อล่อ ในสถานีวิจัย Chulalongkorn University Forestry and
Research Station ตำ�บลไหลน่ า่ น อำ�เภอเวียงสา จังหวัดนา่ น (รวมทัง้ สิน้ 4 ชนิด) (ปี 2560
ครัง้ ที่ 1: 7-19 พฤศจิกายน 2560)
1. Oecophylla smaragdina (Fabricius, 1775)
2. Pheidole taipoana Wheeler, 1928
3. Pheidole sp.
4. Crematogaster aurita Karavaiev, 1935
หมายเหตุ การออกภาคสนาม ครัง้ ที่ 18 สำ�รวจมดดว้ ยวิธจี บั ดว้ ยมือเทา่ นัน้ สว่ นวิธกี บั ดักโปรตีน-
น้ำ�หวาน ไมไ่ ดท้ ำ�การทดลอง เพราะออกภาคสนาม 2 เดือน ติดกัน

ผลการสำ�รวจมดในป่าเบญจพรรณตามแนวเส้นทางศึกษาธรรมชาติสันเขื่อน-คอกวัว (ป่า
เบญจพรรณ) ในพื้นที่โครงการพัฒนาที่ดินสระบุรี จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย อำ�เภอแกง่ คอย
จังหวัดสระบุรี ดว้ ยวิธจี บั ดว้ ยมือ (รวมทัง้ สิน้ 13 ชนิด) (ปี 2559: ครัง้ ที่ 2: 14-16 ธันวาคม 2559)
1. Anoplolepis gracilipes (Smith, 1857)
2. Nylanderia sp.4 of CUMZ
3. Oecophylla smaragdina (Fabricius, 1775)
4. Polyrhachis proxima Roger, 1863
5. Cardiocondyla emeryi Forel, 1881
6. Carebara diversa (Jerdon, 1851)
7. Cataulacus granulatus (Latreille, 1802)
8. Crematogaster rogenhoferi Mayr, 1879
9. Monomorium pharaonis (Linnaeus, 1758)
10. Pheidole planifrons Santschi, 1920
11. Tetramorium lanuginosum Mayr, 1870
12. Diacamma vagans (Smith, 1860)
13. Odontoponera denticulata (Smith, 1858)

������� �����1.indd 113 21/12/2561 BE 18:21


ผลการสำ�รวจมดในป่าเบญจพรรณตามแนวเส้นทางศึกษาธรรมชาติสันเขื่อน-คอกวัว (ป่า
เบญจพรรณ) ในพื้นที่โครงการพัฒนาที่ดินสระบุรี จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย อำ�เภอแกง่ คอย
จังหวัดสระบุรี ดว้ ยวิธีจับดว้ ยมือ (รวมทัง้ สิน้ 8 ชนิด) (ปี 2560: ครัง้ ที่ 1: 19-20 สิงหาคม 2560)
1. Oecophylla smaragdina (Fabricius, 1775)
2. Cataulacus granulatus (Latreille, 1802)
3. Crematogaster rogenhoferi Mayr, 1879
4. Monomorium pharaonis (Linnaeus, 1758)
5. Pheidole planifrons Santschi, 1920
6. Tetramorium lanuginosum Mayr, 1870
7. Tetramorium sp.
8. Odontoponera denticulata (Smith, 1858)

ผลการสำ�รวจมดในป่าเบญจพรรณตามแนวเส้นทางศึกษาธรรมชาติสันเขื่อน-คอกวัว (ป่า
เบญจพรรณ) ในพื้นที่โครงการพัฒนาที่ดินสระบุรี จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย อำ�เภอแกง่ คอย
จังหวัดสระบุรี ดว้ ยวิธีจับดว้ ยมือ (รวมทัง้ สิน้ 7 ชนิด) (ปี 2560: ครัง้ ที่ 2: 6-8 ตุลาคม 2560)
1. Anoplolepis gracilipes (Smith, 1857)
2. Camponotus sp.7 of AMK
3. Nylanderia sp.2 of CUMZ
4. Oecophylla smaragdina (Fabricius, 1775)
5. Polyrhachis proxima Roger, 1863
6. Crematogaster rogenhoferi Mayr, 1879
7. Odontoponera denticulata (Smith, 1858)

ผลการสำ�รวจมดในสวนป่าสัก ในพื้นที่โครงการพัฒนาที่ดินสระบุรี จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย


อำ�เภอแกง่ คอย จังหวัดสระบุรี ดว้ ยวิธีจับดว้ ยมือ (รวมทัง้ สิน้ 6 ชนิด) (ปี 2559 ครัง้ ที่ 1 วันที่
14-16 ตุลาคม 2559)
1. Iridomyrmex anceps (Roger, 1863)
2. Ochetellus glaber (Mayr, 1862)
3. Tapinoma melanocephalum (Fabricius, 1793)
4. Paratrechina longicornis (Latreille, 1802)
5. Crematogaster rogenhoferi Mayr, 1879
6. Diacamma sp.

������� �����1.indd 114 21/12/2561 BE 18:21


ผลการสำ�รวจมดในสวนป่าสัก ในพื้นที่โครงการพัฒนาที่ดินสระบุรี จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย
อำ�เภอแกง่ คอย จังหวัดสระบุรี ดว้ ยวิธีจับดว้ ยมือ (รวมทัง้ สิน้ 4 ชนิด) (ปี 2559 ครัง้ ที่ 2 วันที่
14-16 ธันวาคม 2559)
1. Camponotus rufoglaucus (Jerdon, 1851)
2. Paratrechina longicornis (Latreille, 1802)
3. Crematogaster rogenhoferi Mayr, 1879
4. Trichomymex destructor (Jerdon, 1851)

ผลการสำ�รวจมดในสวนป่าสัก ในพื้นที่โครงการพัฒนาที่ดินสระบุรี จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย


อำ�เภอแกง่ คอย จังหวัดสระบุรี ดว้ ยวิธีจับดว้ ยมือ (รวมทัง้ สิน้ 11 ชนิด) (ปี 2560: ครัง้ ที่ 1 วันที่
19-20 สิงหาคม 2560)
1. Iridomyrmex anceps (Roger, 1863)
2. Tapinoma melanocephalum (Fabricius, 1793)
3. Technomyrmex kraepelini Forel, 1905
4. Camponotus rufoglaucus (Jerdon, 1851)
5. Paratrechina longicornis (Latreille, 1802)
6. Carebara diversa (Jerdon, 1851)
7. Crematogaster rogenhoferi Mayr, 1879
8. Meranoplus bicolor (Guérin-Ménerille, 1844)
9. Tetramorium sp.2 of AMK
10. Trichomymex destructor (Jerdon, 1851)
11. Diacamma vagans (Smith, 1860)

ผลการสำ�รวจมดในสวนป่าสัก ในพื้นที่โครงการพัฒนาที่ดินสระบุรี จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย


อำ�เภอแกง่ คอย จังหวัดสระบุรี ดว้ ยวิธีจับดว้ ยมือ (รวมทัง้ สิน้ 5 ชนิด) (ปี 2560: ครัง้ ที่ 2: วันที่
6-8 ตุลาคม 2560)
1. Tapinoma melanocephalum (Fabricius, 1793)
2. Paratrechina longicornis (Latreille, 1802)
3. Polyrhachis sp.
4. Crematogaster rogenhoferi Mayr, 1879
5. Trichomymex destructor (Jerdon, 1851)

������� �����1.indd 115 21/12/2561 BE 18:21


ภาพถา่ ยตัวอยา่ งมดงานทีม่ กั พบในพื้นทีป่ ่ าเต็งรัง บริเวณสถานีวจิ ยั Chulalongkorn University
Forestry and Research Station ตำ�บลไหลน่ า่ น อำ�เภอเวียงสา จังหวัดนา่ น

รูปที่ 15 ภาพแสดงมดงานชนิด Odontoponera denticulata (Smith, F., 1858) (lateral view) (มัก
พบในพื้นทีป่ ่ าเต็งรัง)

รูปที่ 16 ภาพแสดงมดแดง (มดงาน) Oecophylla smaragdina (Fabricius, 1775) (lateral view)


(มักพบในพื้นทีป่ ่ าเต็งรัง)

������� �����1.indd 116 21/12/2561 BE 18:21


ภาพถ่ายตัวอยา่ งมดงานชนิดที่มักพบในพื้นที่สวนมะมว่ ง บริเวณสถานีวิจัย Chulalongkorn
University Forestry and Research Station ตำ�บลไหลน่ า่ น อำ�เภอเวียงสา จังหวัดนา่ น

รูปที่ 17 ภาพแสดงมดงานชนิด Pheidologeton diversus (Jerdon, 1851) (major) (lateral view)


(มักพบในพื้นทีส่ วนมะมว่ ง)

รูปที่ 18 ภาพแสดงมดงานชนิด Tetraponera rufonigra (Jerdon, 1851) (lateral view) (มักพบ


ในพื้นทีส่ วนมะมว่ ง)

������� �����1.indd 117 21/12/2561 BE 18:21


ภาพถ่ายตัวอยา่ งมดงานสองชนิดในสองวงศย์ อ่ ยทีพ่ บใหมใ่ นปี 2557

ก. มดงานชนิด Aenictus binghami Forel, 1900, วงศย์ อ่ ย Aenictinae

ข. มดงานชนิด Dorylus vishnui Wheeler,1913, วงศย์ อ่ ย Dorylinae

รูปที่ 19 ภาพถ่ายมดงานสองชนิดทีพ่ บเพิม่ ใหมใ่ นปี 2557

������� �����1.indd 118 21/12/2561 BE 18:21



รูปที่ 20 ภาพแสดงพฤติกรรมการป้องกัน defensive behavior ของมดพวก Crematogaster โดย
การยกสว่ นทอ้ งทีม่ ีรูปร่างคลา้ ยรูปหัวใจกระดกขึ้นมาเสมือนเป็ นการขูไ่ ลศ่ ัตรู

������� �����1.indd 119 21/12/2561 BE 18:21



รูปที่ 21 ภาพแสดงมดแดง (มดงาน) Oecophylla smaragdina (Fabricius, 1775) (ภาพบน) และ
มดแดงขณะกำ�ลังสร้างรัง (ภาพลา่ ง)

������� �����1.indd 120 21/12/2561 BE 18:21


สรุปและวิจารณผ์ ล
ในบริเวณสถานีวจิ ยั Chulalongkorn University Forestry and Research Station
ตำ�บลไหลน่ า่ น อำ�เภอเวียงสา จังหวัดนา่ น ความหลากหลายทางชนิดของปลวกไดถ้ ูกศึกษาใน
พื้นทีศ่ ึกษาป่าเต็งรังและสวนมะมว่ ง ในปี 2555, ปี 2556, ปี 2557 และปี 2558 ดักจับปลวกได้
3 ชนิดในทัง้ สองพื้นที่ คือ ปลวกชนิด Macrotermes sp. และ Odontotermes sp. จัดอยูใ่ นวงศ์
ยอ่ ย Macrotemitinae, วงศ์ Termitidae ปลวกทัง้ สองชนิดนีส้ ร้างรังเป็ นกองเนินดิน (mound)
สว่ นปลวกอีกชนิดหนึ่งคือ Nasutitermes sp. ซึ่งจัดอยูใ่ นวงศย์ อ่ ย Nasutitermitinae, วงศ์
Termitidae ปลวกชนิดนีส้ รา้ งรังอยูต่ ามขอนไมล้ ม้ และบนตน้ ไม้ (arboreal nest) (บนตน้ มะมว่ ง
ในสวนมะมว่ ง)
รายงานฉบับสมบูรณฉ์ บับนีท้ ำ�การปรับแกช้ ่ือวิทยาศาสตร์ของมดทีพ่ บให้ถูกต้องทัน
สมัย โดยอ้างอิงตามเอกสารตีพิมพท์ างวิชาการของ Ward et al., 2015 และขอ้ มูลในระบบเครือ
ขา่ ยมด: Ant Web ความหลากทางชนิดของมดในปี 2555, ปี 2556, ปี 2557 และปี 2558 ทัง้
ในพื้นทีศ่ ึกษาป่าเต็งรังและสวนมะมว่ งดักซึ่งดักจับมดด้วยวิธีจับด้วยมือ (handling capture)
และการใช้กับดักหลุม (pitfall trapping) พบมดทัง้ สิน้ 62 ชนิด จัดอยูใ่ น 6 วงศย์ อ่ ย ไดแ้ ก่
วงศย์ อ่ ย Dolichoderinae (5 ชนิด), วงศย์ อ่ ย Dorylinae (2 ชนิด), วงศย์ อ่ ย Formicinae (16
ชนิด), วงศย์ อ่ ย Myrmicinae (24 ชนิด), วงศย์ อ่ ย Ponerinae (10 ชนิด) และวงศย์ อ่ ย Pseu-
domyrmecinae (5 ชนิด) โดยชนิดของมดทีพ่ บในพื้นทีป่ ่ าเต็งรังมีนอ้ ยกวา่ ในพื้นทีส่ วนมะมว่ ง
มดเดน่ ทีพ่ บในพื้นทีป่ ่ าเต็งรัง คือ มดแดง Oecophylla smaragdina ซึ่งพบเป็ นชนิดเดน่ ในทุก
ช่วงทีท่ ำ�การศึกษา ในขณะทีม่ ดเดน่ ในพื้นทีส่ วนมะมว่ ง คือ มดงา่ ม Carebara diversa (เดิมชื่อ
Pheidologeton diversus) โดยพบวา่ เป็ นมดชนิดเดน่ ทัง้ ในช่วงแลง้ ร้อนและช่วงฝน และพบวา่
มดแดง O. smaragdina เป็ นมดชนิดเดน่ ในช่วงแลง้ หนาว
ในช่วงแลง้ ร้อนปี 2556 (17-20 เมษายน 2556) การเขา้ เก็บตัวอยา่ งในพื้นทีป่ ่ าเต็งรัง
พื้นทีท่ ี่ 1 ซึ่งเป็ นพื้นทีท่ ถี่ ูกไฟไหมก้ อ่ นเขา้ พื้นทีเ่ ป็ นเวลาหนึ่งวัน (ชาวบา้ นทีอ่ าศัยในบริเวณขา้ ง
เคียงลักลอบเขา้ มาจุดไฟเพื่อเผาไล่มดแดงและเปิ ดพื้นที่สำ�หรับการงอกของเห็ดถอบในฤคูฝน
ทีก่ ำ�ลังจะมาถึง) พบวา่ มีมดชนิด Recurvidris sp.1 of AMK เป็ นชนิดทีส่ ำ�รวจพบในบริเวณนี้
เป็ นครัง้ แรก (ผูส้ ำ�รวจพบมดชนิด Recurvidris sp.1 of AMK เป็ นครัง้ แรกในพื้นทีศ่ ึกษา โดย
คณะสำ�รวจไดท้ ำ�การศึกษามดในบริเวณนีม้ าตัง้ แตป่ ี พศ. 2545 จนถึงปั จจุบัน)
ในช่วงแลง้ ร้อนปี 2556 (17-20 เมษายน 2556) การเขา้ เก็บตัวอยา่ งในพื้นทีป่ ่ าเต็งรัง
พื้นทีท่ ี่ 1 ซึ่งเป็ น พื้นทีท่ ถี่ ูกไฟไหมก้ อ่ นเขา้ พื้นทีเ่ ป็ นเวลาหนึ่งวัน (ชาวบา้ นทีอ่ าศัยในบริเวณขา้ ง
เคียงลักลอบเขา้ มาจุดไฟเพื่อเผาไลม่ ดแดงและเปิ ดพื้นทีส่ �ำ หรับการงอกของเห็ดถอบในฤคูฝนที่
กำ�ลังจะมาถึง) พบวา่ มีมดชนิด Recurvidris recurvispinosa (เดิมชื่อ Recurvidris sp.1 of
AMK) เป็ นชนิดทีส่ ำ�รวจพบในบริเวณนีเ้ ป็ นครัง้ แรก (ผูส้ ำ�รวจพบมดชนิด
(Recurvidris sp.1 of AMK) เป็ นครัง้ แรกในพื้นทีศ่ ึกษา โดยคณะสำ�รวจไดท้ ำ�การศึกษามดใน
บริเวณนีม้ าตัง้ แตป่ ี พศ. 2545 จนถึงปั จจุบัน)

������� �����1.indd 121 21/12/2561 BE 18:21


ในปี 2556 พบวา่ ชนิดของมดทีพ่ บเพิม่ ขึ้นในพื้นทีป่ ่ าเต็งรังในช่วงแลง้ ร้อนคือ มด
ชนิด Nylanderia sp.5 of CUMZ (เดิมชื่อ Paratrechina sp.9 of AMK), Cardiocondyla
wroughtonii และ Odontomachus simillimus และพบวา่ ชนิดของมดทีพ่ บเพิม่ ขึ้นในพื้นที่
สวนมะมว่ งในช่วงแลง้ ร้อนคือ มดชนิด Polyrhachis bicolor และ Tetramorium lanugino-
sum ในช่วงฝนคือมดชนิด Plagiolepis dermangei (เดิมชื่อ Plagiolepis sp.1 of AMK),
Meranoplus bicolor, Pheidole dugosi, Carebara affinis (เดิมชื่อ Pheidologeton af-
finis), Brachyponera luteipes (เดิมชื่อ Pachycondyla luteipes) และ Tetraponera dif-
ficilis ในช่วงแลง้ หนาวคือมดชนิด Trichomymex destructor (เดิมชื่อ Monomorium de-
structor)
นอกจากนีใ้ นช่วงแลง้ ร้อนปี 2557 (28 เมษายน – 1 พฤษภาคม 2557) การเขา้ เก็บ
ตัวอยา่ งโดยใขป้ าก คีบในสวนมะมว่ งพื้นที่ 2 พบมดเพิม่ อีกหนึ่งชนิดคือ Cardiocondyla em-
eryi อยูใ่ นวงศย์ อ่ ย Myrmicinae และ ในช่วงฝน (21-24 กรกฎาคม 2557) พบมดเพิม่ อีก 3
ชนิดกลา่ วคือ มดหายากชนิด Aenictus binghami ในวงศย์ อ่ ย Aenictinae (ดักจับดว้ ยกับดัก
หลุมในพื้นทีป่ ่ าเต็งรังที่ 2 ) ซึ่งเป็ นชนิดและวงศย์ อ่ ยของมดทีส่ ำ�รวจพบในพื้นทีศ่ ึกษาป็ นครัง้
แรกเช่นเดียวกัน สว่ นมดอีกสองชนิดทีพ่ บเพิม่ ขึ้นคือ Pheidologeton affinis (ป่าต็งรังจับโดย
ใช้ปากคีบ) และ Carebara sp. (สวนมะมว่ งพื้นที่ 1 จับโดยกับดักหลุม) นอกจากนีใ้ นปี 2557
ช่วงแลง้ หนาวพบมดทีห่ าคอ่ นขา้ งยากเพิม่ อีกหนึ่งชนิดคือ Dorylus laevigatus (missed ID:
Dorylus vishnui) ในวงศย์ อ่ ย Dorylinae
สว่ นการสำ�รวจมดในพื้นทีต่ ามแนวเสน้ ทางเดินศึกษาธรรมชาตินนั้ แบง่ การสำ�รวจ
ออกเป็ น 2 ช่วง คือ ช่วงตน้ ใกลป้ ากทางเขา้ สถานีวิจัยตามแนวป่าเต็งรัง และช่วงปลายใกล้
ห้วยกับช้างตามแนวป่าไผแ่ ละป่าเบญจพรรณ ขอ้ มูลจากการสำ�รวจสรุปวา่ แนวเสน้ ทางเดิน
ธรรมชาติช่วงตน้ พบมดทัง้ สิน้ 22 ชนิด 6 วงศย์ อ่ ย ไดแ้ ก่ วงศย์ อ่ ย Dolichoderinae (1 ชนิด),
วงศย์ อ่ ย Dorylinae (1 sp.), วงศย์ อ่ ย Formicinae (7 ชนิด), วงศย์ อ่ ย Myrmicinae (10
ชนิด), วงศย์ อ่ ย Ponerinae (2 ชนิด) และวงศย์ อ่ ย Pseudomyrmecinae (1 ชนิด) และแนว
เสน้ ทางเดินธรรมชาติช่วงปลายพบมดทัง้ สิน้ 25 ชนิด 5 วงศย์ อ่ ย ไดแ้ ก่ วงศย์ อ่ ย Dolichoderi-
nae (2 ชนิด), วงศย์ อ่ ย Formicinae (8 ชนิด), วงศย์ อ่ ย Myrmicinae (10 ชนิด), วงศย์ อ่ ย
Ponerinae (3 ชนิด) และวงศย์ อ่ ย Pseudomyrmecinae (2 ชนิด)

������� �����1.indd 122 21/12/2561 BE 18:21


สำ�หรับการศึกษามดในบริเวณพื้นทีโ่ ครงการพัฒนาทีด่ ินสระบุรี จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย อำ�เภอแกง่ คอย จังหวัดสระบุรี ทำ�การดักจับมดดว้ ยวิธีจับดว้ ยมือ (handling
capture) ทำ�การสำ�รวจมดในป่าเบญจพรรณบริเวณดา้ นหลังอาคารสระบุรี 1 พบมดทัง้ สิน้ 23
ชนิด 5 วงศย์ อ่ ย ไดแ้ ก่ วงศย์ อ่ ย Dolichoderinae (1 ชนิด), วงศย์ อ่ ย Formicinae (9 ชนิด),
วงศย์ อ่ ย Myrmicinae (9 ชนิด), วงศย์ อ่ ย Ponerinae (2 ชนิด) และวงศย์ อ่ ย Pseudomyr-
mecinae (1 ชนิด) สว่ นในสวนป่าสักบริเวณดา้ นขา้ งอาคารสระบุรี 1 พบมดทัง้ สิน้ 14 ชนิด, 4
วงศย์ อ่ ย ไดแ้ ก่ วงศย์ อ่ ย Dolichoderinae (4 ชนิด), วงศย์ อ่ ย Formicinae (3 ชนิด), วงศย์ อ่ ย
Myrmicinae (5 ชนิด), วงศย์ อ่ ย Ponerinae (2 ชนิด)

������� �����1.indd 123 21/12/2561 BE 18:21

You might also like